บทที่ 1 - FooGameLib

Download Report

Transcript บทที่ 1 - FooGameLib

CS@KKU
Java Summer
Camp 2011
•Day 1 - 1
•Java Technology
•Object Oriented Programming
Concepts
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
1
ข้อตกลง และ ลักษณะการอบรม
 เป้ าหมายหลัก : ให ้ผูเ้ ข ้าอบรมเขียนโปรแกรม
ภาษา Java ได ้จริง
 การอบรมเน้นปฏิบต
ั ิ 70 ทฤษฎี 30
 Student Centered
ข้อตกลง :
 Project Based Learning
ระหว่างการอบรม ห ้ามเล่นเก
 Group Learning
 แบ่งกลุม
่ งานกลุม
่ ละ 4 คน
 สร ้าง 2D Java Game
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
2
ประวัติของ Java
 ปี 1991 พัฒนาซอฟต ์แวร ์ควบคุมอุปกรณ์ขนาดเล็ก
่ ้ผลลัพธ ์คือ ภาษาโอ๊ค (Oak)
ซึงได
่
 ปี 1993 ภาษาโอ๊คถูกปร ับปรุงใช ้สร ้างเว็บแอพพลิ
น
Jamesเคชั
Gosling
พร ้อมกับสร ้างเว็บเบราว ์เซอร ์ (web browser)
 ปี 1995
บริษท
ั ซันได ้เปิ ดตัวภาษาจาวา (Java) (ภาษาโอ๊คเดิม)
่
่ า ฮอตจา
พร ้อมกับเว็บเบราว ์เซอร ์ ทีรองร
ับภาษานี ้ ชือว่
วา (HotJava)
้ั ตสเคบ
ได ้ร ับการสนับสนุ นจากบริษท
ั ใหญ่ทงเน็
(Netscape), ไมโครซอฟต ์ (Microsoft), และ ไอบีเอ็ม
(IBM)
่
บริษท
ั ซนั ได ้เริมแจกจ่
าย Java development Kit
่ นชุดพัฒนาโปรแกรมภาษาจาวาใน
(JDK)
ซึ
งเป็
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
อินเตอร ์เน็ ต
3
คาถามความรู ้รอบตัว
ิ ธิข
ปั จจุบัน JAVA เป็ น ลิขสท
์ องบริษัทใด
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชริ าวุธ ธรรม
4
Java Technology
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
5
Programming
่ าอะไร?
คอมพิวเตอร ์ถูกใช ้เพือท
่ าให ้คอมพิวเตอร ์ทางานได ้
อะไรทีท
?
?
?
่ ยวกั
่
มีอาชีพ หรือ บุคคลใดทีเกี
บ คอมพิวเตอร ์ บ ้าง
อนาคต คุณจะเป็ นอะไร ?
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
6
Programmer
่ ยนรู ้การเป็ น Java
เป้ าหมายของอบรมนี ้ เพือเรี
Programmer
่ ๆ ทีต
่ ้องเรียนรู ้ เช่น
แต่ก็ยงั มีบทบาทอืน
 Software Designer
 Software Tester
 Users
Graphics Designer
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
7
Program คืออะไร ?
่ สามารถถู
่
“ลาดับของคาสังที
กประมวลผลได ้โดย
่ ้ในการแก ้ปัญหาบางอย่าง”
คอมพิวเตอร ์เพือใช
การเขียนโปรแกรม เรียกว่า Coding
่ ้เขียนโปรแกรมเรียกว่า
 ภาษาทีใช
Programming Language
่ ยนเรียกว่า Source Code
 รหัสโปรแกรมทีเขี
 ภาษาของคอมพิวเตอร ์เรียกว่า Machine
Language
้ ยกว่า Binary Code

รหั
ส
โปรแกรมนี
เรี
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
8
่
คุณสมบัตข
ิ อง Software ทีดี
Correctness
Robustness
Interface Usability
Simplicity
Presentation and Document
Efficiency
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
9
Programming Languages
Structural programming
การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร ้าง
Object-Oriented programming (OOP)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
Logical programming
การเขียนโปรแกรมเชิงตรรก
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
10
Programming กับการเขียน
นิ ยาย
การเขียนโปรแกรมก็คล ้ายกับการแต่งนิ ยาย
การแต่งนิ ยายแบบโครงสร ้าง
่
้
ดาเนิ นเรืองเป็
นขันตอน
่ นที
้ ไม่
่ ซ ับซ ้อน
เหมาะกับเรืองสั
การแต่งนิ ยายแบบ Object-Oriented
ออกแบบตัวละคร สภาพแวดล ้อม
่
ดาเนิ นเรืองโดยสร
้างสถานการณ์
่
่ บซ ับซ ้อน
เหมาะกับนิ ยายเรืองยาวที
สลั
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
11
Structural Programming
languages
้
เขียนโค ้ดเป็ นลาดับขันตอน
สาหร ับการแก ้ปัญหา
่
โดยคาสังจะท
างานจากบนลงล่าง
้ั ทาซา้ ๆ หรือ มีการใช ้เงือนไข
่
บางครงก็
ในการ
่
ตัดสินใจ ซึงโดยปกติ
แล ้วจะมีโครงสร ้างของโปรแกรม
้ คือ
3 ขัน
้
1. Input คือ ขันการน
าข ้อมูลเข ้า เช่นร ับข ้อมูล
จากผูใ้ ช ้
้
2. Process คือ ขันการประมวลผล
คานวณ หรือ
ตัดสินใจ
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
3. Output คือ การแสดงผล
12
Object-Oriented Programming
ใช ้แนวคิดว่าโปรแกรมมีคณ
ุ สมบัตเิ ป็ น Object
่ จั
่ บต ้องได ้ เป็ น รูปธรรม
 สิงที
่ จั
่ บต ้องไม่ได ้ เป็ น นามธรรม
 สิงที
่
การหาว่ามี Object หรือสิงใดในปั
ญหานั้นบ ้าง และ
มีความสัมพันธ ์กันอย่างไร
การนิ ยามคุณลักษณะ สถานะ และ พฤติกรรมของ
Object
ควบคุมให ้ Object ทางานร่วมกัน
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
13
ข้อดีของ OOP
่ ณภาพของงานขนาดใหญ่ และ ใช ้เวลาน้อย
เพิมคุ
กว่า
ใช ้แรง และ คนน้อยกว่า
ลดค่าใช ้จ่ายในการดูแล
่
ซอฟท ์แวร ์มีความน่ าเชือมากขึ
น้
่
่ มได ้ง่าย
สามารถปร ับปรุง เปลียนแลง
เพิมเติ
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
14
Object และ Class
่
่ ตวั ตน) ทุกสิงเป็
่ น
Object หมายถึงสิงใดๆ
(ทีมี
Object
่ ใช
่ ้นิ ยาม Object
Class คือสิงที
ภายใน Object จะประกอบไปด ้วย
ข ้อมูล (State)
พฤติกรรม (Behavior)
้
Class จะอธิบายว่า Object นี ควรจะมี
ข ้อมูล
อะไรบ ้าง และ มีพฤติกรรมการทางานอย่างไร (ทา
อะไรได2563
้บ ้าง)
2 พฤษภาคม
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
15
Object และ Class (ต่อ)
ตัวอย่าง คาว่า ไข่ เป็ น class
่
เมือถามว่
าไข่คอื อะไร เราจะนึ กถึงอยู่ 2 อย่าง
1. ลักษณะข ้อมูลของไข่ทใช
ี่ ้จาแนกตัวตนของมัน
้
เช่น รูปทรง ขนาด นาหนั
ก สี อะไร
่ ้องบันทึกเพือที
่ จะได
่
ทีต
้จามันได ้
2. ความสามารถของไข่ ไข่ทาอะไรได ้บ ้าง เช่น
กินได ้ ตกแตกได ้
่
ถ ้าเราหยิบไข่ขนมา
ึ้
1 ฟอง ไข่ฟองทีเราถื
ออยูน
่ ่ ันคือ
Object
่ วชิมี
่ รต
 Object
ั ธตน
สามารถระบุ
ตวั ได ้
2 พฤษภาคม
2563 เป็ นสิ
โดยงที
าวุว
ธรรมวิ
เศษ
16
Object และ Class (ต่อ)
 ถ ้าเปรียบเทียบกับโลกในชีวต
ิ จริง Class จะเปรียบ
่
่ ้แทนสิงใดๆ
่
ได ้กับนามธรรมทีเราสร
้างเพือใช
ทาให ้เรา
่ ้นได ้ และหากพบของ
สามารถจินตนาการถึงของสิงนั
่
่ งทีรู่ ้ว่าเป็ น class อะไร ก็จะสามารถปฏิสม
สิงหนึ
ั พันธ ์
่ ้นได ้
กับของสิงนั
 จิน ตนาการถึง ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ ง ก็ ค ือ การสร ้าง
้
Object ขึนภายในสมองของเรา
การจะจิน ตนาการอะไรได ้ เราจะต อ้ งถูก สอนให ้
่ ้นก่อน
รู ้จัก class ของสิงนั
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
17
เป้ าหมายของ เทคโนโลยีจาวา
เพือ่ สร ้างภาษาทีง่่ ายในการพัฒนาโปรแกรม
สร ้างตัวร ันโปรแกรมจาวา (Java Interpreter)
่ ้จาวาสามารถนาไปใช ้ทางานบนหลายๆ
เพือให
ระบบ
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
18
Java Programming Language
ไวยกรณ์คล ้ายกับภาษา C และ C++
พัฒนาโดยบริษท
ั Sun Microsystems
้
โปรแกรมทังหมดอยู
่ในรูปของ Class ไม่สามารถ
เขียนอยู่นอก Class ได ้
ไฟล ์ Source Code จะเก็บในไฟล ์ .java
่ Compile แล ้วจะรหัสทีเรี
่ ยกว่า Byte Code
 เมือ
โดย Byte Code ของแต่ละ Class
่
จะแยกเก็บอยู่ในไฟล ์ .class ตามชือของ
Class นั้น
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
19
จาวาสามารถทางานบนหลาย
Platform
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
20
Compiler & Interpreter
คอมพิวเตอร ์เข ้าใจเฉพาะ Machine Language ที่
เป็ น Binary Code
โปรแกรมเมอร ์จะเข ้าใจ Programming
่ น Source Code
Language ทีเป็
 Compiler จะแปล Source Code เป็ น Binary
้
Code พร ้อมกันทังหมดโปรแกรม
่ ดคาสัง่
 Interpreter จะแปลทีละชุ
Compiler
กแปล
, Interpreter = ล่าม
2 พฤษภาคม 2563 = นัโดย
วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
21
จาวามีทง้ั Compiler และ
Interpreter
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
22
ประเภทของโปรแกรม Java
Java Application
 โปรแกรม Java ทีร่ ันเหมือนกับโปรแกรมประยุกต ์
่
่
อืนๆทั
วไป
Java Applet
 โปรแกรม Java ทีร่ ันบน Web Browser
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
23
Java Development Kit (JDK)
่ อทีจ่ าเป็ นสาหร ับการพัฒนา
JDK เป็ นเครืองมื
โปรแกรม JAVA
ใน JDK จะมี Java Compiler, เอกสารคูม
่ อ
ื ,
ตัวอย่างโปรแกรม และ โปรแกรมอรรถประโยชน์ตา่ ง
่ บไซต ์
สามารถ Download ได ้ทีเว็
http://java.sun.com/
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
24
DEMO
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
25
่ ใช้
่ ในการเขียนโปรแกรม Java
สิงที
Java Development Kit (JDK)
Java Code Editor หรือ Java IDE
Notepad,Editplus
Eclipse, Netbean, JBuilder,JEdit
Java Runtime Environment (JRE)
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
26
Hello World
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชริ าวุธ ธรรม
27
Editing, compiling, and executing.
Hello World
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชริ าวุธ ธรรม
28
ฝึ กปฏิบต
ั ิ 1.
1. การติดตัง้ JDK
2. การติดตัง้ Eclipse
3. การสร ้าง Java Project
4. การสร ้าง Class HelloWorld
5. การรัน
ดูสาธิตและทาตาม
2 พฤษภาคม 2563
เวลา 10 นาที
โดย วชริ าวุธ ธรรม
29
Resource
http://www.oracle.com/
Download JDK (Java for
Developer)
http://www.eclipse.org
Download Eclipse IDE for
Java Developer
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชริ าวุธ ธรรม
30
ไวยากรณ์พนฐาน
ื้
การนิ ยาม class
การนิ ยาม attribute หรือ fields
การนิ ยาม method
package
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
31
ตัวอย่าง
โครงสร ้างของ Class
โปรแกรม Java จะต ้อง
เขียนในรูปของ class
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
32
การนิ ยาม Class ของจาวา
 ไวยกรณ์
<modifiers> class <class_name>{
[attribute declaration]
[constructor declaration]
[method declaration]
}
public class Person {
}
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
33
การนิ ยาม Attributes (Instance
Variable)
 ต ้องเขียนอยู่ภายในปี กกาของ class (ไม่สนใจลาดับ
ก่อนหลัง)
 ไวยกรณ์
[<modifiers>] type name [= value ];
public class Person {
private String id;
private String name;
public int number;
}
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
34
การนิ ยาม Instance Method
่ ้นิ ยามการทางานของ object
เป็ นส่วนทีใช
(Operation/Behavior)
ไวยกรณ์
[<modifiers>]
type name([ argument
public class Person {
listprivate
]){ คString
าสัง่ id; }
private String name;
public int number;
public void setData(String aId, String aName){
id = aId;
name = aName;
}
}
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
35
ตัวอย่าง
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
36
"main" static Method
่
class ทีจะสามารถใช
้คาสัง่ java ในการร ันได ้ จะต ้อง
มี method main
รู ปแบบการประกาศ public static void
main(String[ ] args)
class Test {
ตัวpublic
อย่
า
ง
public static void main(String[ ] args) {
System.out.println("This is a test. " );
}
}
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
37
คาถาม : class Person สามารถ
RUN ได้หรือไม่ ?
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
38
"new" Keyword
ใช ้สาหร ับสร ้าง object (instance) จาก class
่
 ใช ้ขณะทีประกาศตั
วแปร (attributes) หรือ ภายใน
method ก็ได ้
 เช่น new Person( ); เป็ นการสร ้าง object
public class Test {
ของ
class Person
public static void main(String[ ] args) {
new Person( );
่ วแปร
แบบไม่ตงชื
ั ้ อตั
Person p = new Person( );
้ อตั
่ วแปร
แบบมีการตังชื
}
}
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
39
"new" Keyword
ใช ้ new พร ้อมการประกาศ attribute
้
class ทังหมดสามารถน
ามาใช ้สร ้างเป็ นตัว
class ก็คอื ชนิ ดข ้อมูล (data type) แบบ
p1 และ p2 เป็ น attributes ของ Greeter
จะต ้อง new Greeter ก่อนจึงจะเกิด p1,p2
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
40
"new" Keyword
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
41
static
static เป็ นการระบุวา่ ตัวแปร หรือ method นัน
้
เป็ นของ class
ตั
วแปร และ method ทีไ่ ม่ใช ่ static เป็ นของ
package test;
instance
public class Person {
String id;
String name;
static int count=0;
}
Id
และ2563
name
2
พฤษภาคม
จะเป็
instance
variable
โดย น
วชริ าวุ
ธ ธรรม
42
static
public class TestPerson {
public static void main(String[] args) {
Person a = new Person();
Person b = new Person();
a.name = "Mr.A";
b.name = "Mr.B";
a.count = 5;
b.count = 10;
Person.count = 30;
System.out.printf("%s count = %d\n",a.name, a.count);
System.out.printf("%s count = %d\n",b.name, b.count);
}
}
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชริ าวุธ ธรรม
43
การอ้างถึงสมาชิก (member)
ของ object
member ของ object คือ attribute และ
method
่
เราจะใช ้ เครืองหมายจุ
ด (.) ในการอ ้างถึงสมาชิก
เช่น p1.number อ ้างถึง number ของ p1
่ น
p2.number หมายถึง number ของ p2 ซึงเป็
คนละตัวกับของ p1
่ นของ
g.p1.number หมายถึง number ทีเป็
p1 ของ g
่ น method เวลาเรียกใช ้ต ้องมีวงเล็บ
สมาชิ
ก
ที
เป็
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
44
Access Control
เราจะควบคุมการเข ้าถึง สมาชิกใน Class โดยใช ้
Modifier
public หมายถึง สมาชิกนั้นเปิ ดเผยให ้เข ้าถึงได ้
่ งหมด
้
จาก class ภายนอกอืนทั
private หมายถึง สมาชิกนั้นไม่อนุ ญาตให ้เข ้าถึง
จาก class ภายนอก
(default) ไม่ระบุ modifier หมายถึง อนุ ญาต
่ ่ใน
ให ้เข ้าถึงสมาชิกนั้น เฉพาะ class ทีอยู
package เดียวกัน
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
เป็ นคุณสมบัต ิ "Encapsulation"
45
Encapsulation
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
46
การแสดงผลออก console
(standard output)
้
คาสัง่ System.out.println( ) ขึนบรรทั
ดใหม่
คาสัง่ System.out.print( )
ไม่ขนบรรทั
ึ้
ดใหม่
คาสัง่ System.out.printf(format,args..)
แสดงผลกาหนดรูปแบบ
System คือ class มาตรฐานของ Java
out เป็ น member ของ System (อ ้าง
ถึง standard output)
print,println เป็ น method ของ out
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
47
ตัวอย่าง
Output:
The average of 34, 89 and 17 is 46.666666666666664
The average of 34, 89 and 17 is 46.666666666666664
่
่ องการแสดงผลได้
เครืองหมาย
+ ใช้ตอ
่ ข้อความทีต้
34 + 89 เป็ นการบวกตัวเลข
่
"34" + "89" เป็ นการเชือมต่
อข ้อความ
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
48
ประโยค package
ใช ้ในการจัดกลุม
่ ของ class
่
่ อย] ;
package <ชือ>[.<ชื
อย่
ตัวอย่าง
package kku;
package kku.game.ox;
package kku.app.talk;
ในไฟล ์ .java หนึ่ งไฟล ์จะระบุ package ได ้เพียง 1
อัน
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
49
ประโยค import
่ ้องการใช ้งาน class ทีอยู
่ ต
ใช ้เมือต
่ า่ ง
package
import
package[.subpackage].classname;
import package[.subpackage].*;
ตัวอย่าง
import kku.*;
kku.game.ox.Game1;
2 มิ.ยimport
2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
50
Directory Layout and
Packages
่
เมือเรา
compile ไฟล ์ class จะถูกเก็บแยกลงใน
directory ตามชือ่ package
C:\Kku\
game\
app\
2 มิ.ย 2552
ox\
Game1.class
talk\
Talk.class
Client.class
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
51
ตัวอย่าง package
class Person อยู่ใน package ch2.app จะต ้อง
เก็บใน folder
<root folder>\ch2\app
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
52
การ import
ถ ้า class Greeter ไม่มี package แต่ต ้องการใช ้
class Person
ก็จะต ้องมีการ import ch2.app.Person
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
53
การ Compile
สมมติวา่ root folder อยู่ที่ c:\322251\
การ compile ให ้ใช ้คาสัง่ javac ใน folder
c:\322251
หรือ compile class Greeter (javac จะตามไป
่ ก import ด ้วย)
compile class ทีถู
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
54
Compile-time Error และ
Runtime Error
Compile-time Error
่ ดเมือตั
่ วแปลภาษา (Compiler)
เป็ นข ้อผิดพลาดทีเกิ
ไม่สามารถแปล SoureCode ได ้ก็จะแจ ้ง
ข ้อผิดพลาดให ้ทราบ
Runtime Error
่ ดระหว่างการร ันโปรแกรม ซึงตั
่ ว
เป็ นข ้อผิดพลาดทีเกิ
Java Virtual Machine (JVM) จะแจ ้งให ้ทราบใน
ระหว่างการร ันโปรแกรม
2 มิ.ย 2552
โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ
55
การแก้ไขข้อผิดพลาด
1. เขียนทีละน้อย
เขียนเสร็จตามโครงสร ้างไวยากรณ์แล ้ว compile
่ ละส่
่ วน และ compile
ค่อยๆ เขียน code เพิมที
อย่าเขียน code ยาวๆ ในคราวเดียว
่
2. แก้ปัญหาทีละข้
อ
่
่ กแจ ้งออกมาให ้ เริมแก
่
เมือพบ
Error ทีถู
้ไข
ปัญหาจากข ้อบนสุดก่อน
่
อ่านคาอธิบายว่าผิดทีไฟล
์ไหน บรรทัดอะไร
่
โดยให ้สนใจเฉพาะ Error ในไฟล ์ทีเราเป็
นคน
ยน Code เองก่
น ราวุธ ธรรมวิเศษ
2 มิเขี
.ย 2552
โดยอวชิ
56
การใช้ Eclipse ในการเรียนภาษา
Java
Eclipse หรือ Java IDE อืน
่ ๆ จะมีความสามารถ
ในการแนะนา
ให ้ฝึ กสงั เกต และ ทาตามคEclipse
าแนะน
า ทีไ่ ด ้รับ
จะทาการ Compile โปรแกรม
ตลอดเวลาระหว่างทีเ่ รากาลังพิมพ์ Code
เมือ
่ พบว่าเราเขียนโปรแกรมผิด
Eclipse จะแสดงคาแนะนา
วิธก
ี ารแก ้ไขทีเ่ ป็ นไปได ้ทัง้ หมด
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชริ าวุธ ธรรม
57
Comment และ หมายเหตุใน
โปรแกรม
การเขียนหมายเหตุ เขียนไว ้ในสว่ นใดของไฟล์ก็
ได ้ compiler จะไม่แปลประโยคทีเ่ ป็ น comment
่
•แบบ 1 บรรทัด ใช ้ เครือ
่ งหมาย // เชน
// This is comment
่
•แบบหลายบรรทัด ใช ้ เครือ
่ งหมาย /* */ เชน
/* This is My First Program
In Java.. */
้ นเอกสารประกอบ (Document
•แบบใชเป็
Comment) ใช ้
/** */
java จะมีเครือ
่ งมือคือ JavaDoc ทีช
่ ว่ ยสร ้าง
เอกสารอธิ
โดยใชข้ ้อมูลจาก
2 พฤษภาคม
2563บายโปรแกรม
โดย วชริ าวุธ ธรรม
Comment
58
Eclipse และ Comment
เขียน comment ใน class
2 พฤษภาคม 2563
โดย วชริ าวุธ ธรรม
59