บทที่ 1 ทำความรู้จักกับ PHP

Download Report

Transcript บทที่ 1 ทำความรู้จักกับ PHP

PHP
อ.ปริญญา น้ อยดอนไพร
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ ธานี
ประวัติความเป็ นมาของ PHP

ผูใ้ ห้กาเนิด PHP มีชื่อว่า Rasmus Lerdorf โดยเริ่ มต้นเขียนสคริ ปต์ Perl
CGI ใส่ ไว้ในโฮมเพจประวัติส่วนตัว และเห็นว่าการเขียน CGI ด้วย Perl
มีความยุง่ ยาก จึงได้เขียนโปรแกรมขึ้นใหม่ดว้ ยภาษา C ที่สามารถแยก
ส่ วนที่เป็ นภาษา HTML ออกจากส่ วนที่เป็ นภาษา C เพื่อแยกประมวลผล
แล้วทาการสร้างโค้ด HTML ขึ้นใหม่ โดยตั้งชื่อโปรแกรมนี้ ว่า Personal
Home Page Tools (PHP-Tools) และได้เริ่ มแจกจ่ายโค้ดออกไปใน
ลัก ษณะฟรี แ วร์ ต่ อ มาจึ ง ได้เ ริ่ ม เปิ ดให้ผูส้ นใจเข้า ร่ ว มปรับ ปรุ ง และ
พัฒนา จนพัฒนาเป็ น PHP/FI
ปัจจุบนั PHP ย่อมาจาก PHP: Hypertext Preprocessor
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ประวัติความเป็ นมาของ PHP (ต่ อ)
จนกระทัง่ Zeev Suraski และ Andi Gutmans ได้ร่วมกันเขียนโค้ดขึ้น
ใหม่โดยได้มีการปรับปรุ งให้ดีข้ ึนเป็ นอย่างมากในหลายๆ ด้าน เช่น เพิ่ม
ประสิ ทธิ ภาพในการประมวลผล การสนับสนุ นการโปรแกรมเชิ งวัตถุ
และในด้านอื่นๆ อีกหลายประการจนเกิดเป็ น PHP3 ซึ่ งเป็ นเวอร์ ชนั่ ที่
ได้รับความนิยมเป็ นอย่างมาก
 เมื่อมีผใู ้ ช้เป็ นจานวนมาก จึงมีการนาไปใช้ในงานที่ซบ
ั ซ้อนขึ้น ด้วยเหตุ
นี้ Zeev Suraski และ Andi Gutmans ผูพ้ ฒั นา PHP3 จึงตัดสิ นใจเขียน
โค้ดขึ้นใหม่ท้ งั หมด และได้ต้ งั ชื่อว่า Zend engine (มาจากชื่อ Zeev และ
Andi) ซึ่งเป็ นหัวใจของ PHP4

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ประวัติความเป็ นมาของ PHP (ต่ อ)
PHP5 (กรกฎาคม พ.ศ.2547) เป็ นเวอร์ ชนั่ ที่จดั ได้ว่าเป็ นการพลิกโฉม
การโปรแกรมเชิงวัตถุดว้ ย PHP เนื่ องจากมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่ การ
โปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP) ที่สมบูรณ์แบบมากยิง่ ขึ้น
 PHP6 กาลังอยูใ่ นขั้นพัฒนาและปรับปรุ งขณะนี้ ยงั เป็ น Beta Version
ยังคงใช้ Zend engine เป็ นแกนหลัก การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ คือ
1. ไม่มีคุณสมบัติ register_global, magic_quote_gpc และ safe_mode
2. ยกเลิกตัวแปร HTTP_*_VARS ทั้งหมด เช่น HTTP_POST_VARS
และ HTTP_COOKIE_VARS เป็ นต้น
3. สนับสนุนการทางานกับสตริ งแบบ Unicode
4. เพิ่มชนิดข้อมูลเลขจานวนเต็มขนาด 64 บิต

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ประวัติความเป็ นมาของ PHP (ต่ อ)
PHP เป็ นภาษาสคริ ปต์แบบเซิ ร์ฟเวอร์ ไซด์ (Server-side scripting
language) หมายถึง การประมวลผลจะเกิดขึ้นบนเครื่ องแม่ข่าย (Server)
แล้วสร้างผลลัพธ์เป็ นภาษา HTML ส่ งให้กบั เครื่ องลูกข่าย (Client) เพื่อ
แสดงผล ซึ่งลดภาระการส่ งถ่ายข้อมูลจานวนมากเพื่อมาประมวลผลบน
เครื่ องลูกข่าย
 การเขียนสามารถทาได้โดยการเขียนโค้ด PHP แทรกลงในโค้ด HTML
ด้วยการเปิ ดแท็ก <?php และปิ ดด้วยแท็ก ?> (ในกรณี ที่ไม่มีการใช้
ร่ วมกับสคริ ปต์ XML สามารถเปิ ด้วย <? ได้)
 การบันทึกจะต้องกาหนดเป็ นนามสกุล .php หรื อ .phtml

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ต้ องการใช้ PHP ต้ องมีอะไรบ้ าง
เครื่ องแม่ข่าย (หากไม่มีจะต้องจาลองเครื่ องแม่ข่าย :: เช่น โปรแกรมเว็บ
เซิร์ฟเวอร์ Apache หรื อชุดสาเร็ จ อย่างเช่น Appserv ประกอบไปด้วย
Apache, PHP, MySQL และ PHPMyAdmin เป็ นต้น) สามารถดาวน์
โหลดได้ที่ www.freebsd.sru.ac.th/web
 เครื่ องลูกข่าย ต้องมีเว็บบราวเซอร์ (Web Browser) เช่น IE หรื อ FireFox
เป็ นต้น

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
สิ่ งที่ PHP สามารถทาได้
CGI
 Database-enable web page
 Database
Adabas D InterBase
DBase
mSQL
Empress
MySQL
FilePro
Oracle
Informix PostgreSQL

Solid
Sybase
Velocis
Unix dbm
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ทาไม PHP จึงเป็ นทีน่ ิยม












Open source
No cost implementation – PHP เป็ นของฟรี
Server side
Crossable Platform
HTML embedded
Simple language
Efficiency
XML parsing
Database module
File I/O
Text processing
Image processing
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
การทางานของ PHP
 ทางานบน
Server
 ทางานร่ วมกับเอกสาร HTML
 สามารถแทรกคาสัง่ PHP ได้ตามที่ตอ้ งการลงในเอกสาร HTML
 ทางานในส่ วนที่เป็ นคาสัง่ ของ PHP ก่อน เมื่อมีการเรี ยกใช้
เอกสารนั้น ๆ
 แสดงผลออกทาง Web Browsers
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
โครงสร้ างภาษา PHP
 แบบที่ 1 XML style
<?php คาสัง่ ภาษา PHP ?>
ตัวอย่าง
<?php
echo “Hello World ! <br>”;
echo “I am PHP”;
?>
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
โครงสร้ างภาษา PHP (ต่ อ)
 แบบที่ 2 SGML style
<? คาสัง่ ภาษา PHP ?>
ตัวอย่าง
<?
echo “Hello World ! <br>”;
echo “I am PHP”;
?>
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
โครงสร้ างภาษา PHP (ต่ อ)
 แบบที่ 3 Java Language style
<script language=“php”>
คาสัง่ ภาษา PHP
</script>
ตัวอย่าง
<script language=“php”>
echo “Hello World”;
</script>
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
โครงสร้ างภาษา PHP (ต่ อ)
 แบบที่ 4 ASP Style
<% คาสัง่ ภาษา PHP %>
ตัวอย่าง
<%
echo “Hello World ! <br>”;
echo “I am PHP”;
%>
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
โครงสร้ างภาษา PHP (ต่ อ)
 แบบที่เป็ นที่นิยม คือ แบบที่ 1
 ผลที่ได้เมื่อผ่านการทางานแล้วจะได้ผลดังนี้
Hello World !
I am PHP
 ข้อสังเกต
- รู ปแบบคล้ายกับภาษา C และ Perl
- ใช้เครื่ องหมาย ( ; ) คัน่ ระหว่างคาสัง่ แต่ละคาสั่ง
 File ที่ได้ตอ้ ง save เป็ นนามสกุล php
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
Language Reference
 Comments
- เหมือนกับการ Comment ของภาษา C, C++ และ Unix
 ตัวอย่าง
<?php
echo “Hello !”; // การ comment แบบ 1 บรรทัด
/* แบบหลายบรรทัดตั้งแต่ 2 บรรทัดขึ้นไป */
echo “World”; # การ comment แบบ shell-style
?>
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
คาสั่ ง echo
 เป็ นคาสัง่ สาหรับแสดงผลลัพธ์ไปที่โปรแกรม browser
 รู ปแบบ
echo ข้อความ1 หรื อตัวแปร1, ข้อความ2 หรื อตัวแปร2,
ข้อความ3 หรื อตัวแปร3, …
 ข้อความ เขียนภายใต้เครื่ องหมาย double quote (“ “) หรื อ single
quote (‘ ‘)
 ตัวแปรของภาษา PHP จะขึ้นต้นด้วยเครื่ องหมาย $ เสมอ คล้าย
กับภาษา Perl
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ตัวอย่างที่ 1 intro.php
<HTML>
<HEAD>
<TITLE>Example –1</TITLE>
</HEAD>
<BODY>
<?php phpinfo() ; ?>
<BODY>
</HTML>
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
การเรียกใช้ งาน
 เปิ ดโปรแกรม Web Browser
 พิมพ์ URL Address
 http://localhost/intro.php หรื อ http://127.0.0.1/intro.php
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ตัวอย่ างที่ 2 (date.php)
<HTML>
<HEAD>
<TITLE> Example –2</TITLE>
</HEAD>
<BODY>
วันนี้ตรงกับวันที่ : <?php echo date(“j F Y”); ?>
ขณะนี้เวลา : <?php echo date(“H : i : s”); ?>
</BODY>
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
</HTML>
ตัวแปร ชนิดข้ อมูล และค่ าคงที่
 การใช้ ตัวแปรในภาษา PHP

สาหรับการเขียนโปรแกรมสาหรับภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง สิ่ งที่จะ
ขาดเสี ยมิได้คือ การกาหนดและใช้ตวั แปร (variable) ตัวแปรในภาษา
PHP จะเหมือนกับในภาษา Perl คือเริ่ มต้นด้วยเครื่ องหมาย dollar ($)
โดยเราไม่จาเป็ นต้องกาหนดแบบของข้อมูล (data type) อย่างเจาะจง
เหมือนในภาษาซี เพราะว่า ตัวแปลภาษาจะจาแนกเองโดยอัตโนมัติวา่
ตัวแปรดังกล่าว ใช้ขอ้ มูลแบบใด ในช่วงเวลานั้นๆ เช่น ข้อความ จานวน
เต็ม จานวนที่มีเลขจุดทศนิยมตรรก เป็ นต้น ตัวอย่างการใช้งาน เช่น
<?php
$text = “Hello World”;
$number = 123;
?>
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)

เมื่อต้องการแสดงค่าของตัวแปร สามารถใช้คาสัง่ echo ได้ ตัวอย่างเช่น
<?php
$text = “Hello World”;
$number = 123;
echo $text.“<br>”;
echo $number .“<br>”;
echo “ค่าตัวอักษรในตัวแปร \$text คือ $text <br>”;
echo “ค่าตัวเลขในตัวแปร \$number คือ $number”
?>

หมายเหตุ ในภาษา PHP ไม่ ต้องประกาศตัวแปรก่อนใช้ งาน สามารถ
กาหนดค่ าให้ กบั ตัวแปรได้ เลยเมื่อต้ องการใช้ งาน
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
 คาสั่ งใส่ รูปภาพลงเว็บเพจ

เราสามารถใช้คาสัง่ แสดงรู ปภาพที่เราต้องให้ปรากฏบนเว็บเพจเราได้
ด้วยการใช้คาสัง่ <IMG SRC=\"ชื่อไฟล์.gif หรื อ.jpg\"> โดยจะต้องมี
การใช้ \ ด้วย เช่น
<?php
echo “<center><img src=\“folder/b.gif\” height=150
width=150></center>”;
?>
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
โดยมีคาสั่ งในเพิม่ เติมในการแสดงภาพ ดังนี้
 การกาหนดขนาดรู ปภาพ ให้ตรงกับความต้องการ WIDTH หมายถึง
ความกว้างของรู ปภาพ และHEIGHT หมายถึง ความสูงของรู ปภาพ
<IMG SRC= \“b.gif\” WIDTH=number% | HEIGHT=number%>
ั รู ปภาพ <BORDER=n>
 การกาหนดกรอบให้กบ
 การวางตาแหน่งรู ปภาพ
 แบบแนวนอน ประกอบด้วย LEFT | RIGHT
 แบบแนวตั้ง ประกอบด้วย เสมอบน มี 2 คาสัง่ คือ TOP | TEXTTOP
 กึ่งกลาง มี 2 คาสัง่ คือ MIDDLE | ABSMIDDLE เสมอล่าง มี 3 คาสัง่ คือ
 BASELINE | BOTTOM | ABSBOTTOM

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
การตั้งชื่อตัวแปร
 ชื่อตัวแปรจะต้องประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลข หรื อเครื่ องหมาย
ขีดล่าง (Underscore) เท่านั้น ห้ามตั้งชื่อตัวแปรด้วยตัวเลขเป็ นตัว
ขึ้นต้น เช่น $name , $parinya_mr เป็ นต้น
 ไม่ควรตั้งชื่อสั้นๆ เช่น $a, $b, $x เป็ นต้น เพราะเมื่อนานๆ ไปจะ
จาไม่ได้วา่ ตัวแปรเหล่านั้นใช้ทาอะไร
 ภาษา PHP ถือว่าตัวอักษรพิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่แตกต่างกัน
(Case Sensitive) เช่น $text หรื อ $Text หรื อ $TEXT เป็ นคนละ
ตัวแปรกัน
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ชนิดของข้ อมูล (Data Type) ขั้นพืน
้ ฐานในภาษา
PHP ประกอบด้ วย
1. ตรรกศาสตร์ (Boolean)
2. เลขจานวนเต็ม (Integer)
3. เลขจานวนทศนิยม (Float หรื อ Double)
4. ข้อความ (String)
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)

การประกาศค่ าคงที่ (Constant)
constant.php
<?php
define(“HELLO”, “สวัสดีครับ”);
define (“VAT”, 7);
$name = “Mr.Parinya”;
echo HELLO.“คุณ $name<br>”;
echo “ภาษามูลค่าเพิ่มขณะนี้คิดในอัตราร้อยละ”.VAT;
?>
หมายเหตุ การตั้งชื่อค่าคงที่ นิยมใช้ตวั อักษรพิมพ์ใหญ่ท้ งั หมด เพื่อให้สังเกตได้ง่าย
ค่าคงที่ คือ ชื่อตัวแปรที่ถกู กาหนดขึ้นมา คล้ายๆกับตัวแปร แต่แก้ไขค่าไม่ได้
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
การตรวจสอบชนิดข้ อมูลของตัวแปร

gettype.php
<?php
$number_int = -65535; //สร้างตัวแปร $number_int เก็บเลขจานวนเต็ม
$number_double = 3.44; //สร้างตัวแปร $number_double เก็บเลขทศนิยม
$text = “PHP : Hypertext Preprocessor”;
$test_boolean = FALSE;
echo gettype($number_int).“<br>”;
echo gettype($number_double).“<br>”;
echo gettype($text).“<br>”;
echo gettype($test_boolean).“<br>”;
?>
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
 รหัสควบคุมพิเศษต่ างๆ
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
 ตัวดาเนินการ หรือ Operator

ในภาษา PHP มี Operator ต่างๆ ให้ใช้ ไม่วา่ จะเป็ นโอเปอเรเตอร์ทาง
คณิ ตศาสตร์ โอเปอเรเตอร์เชิงตรรกะ เช่นเดียวดับภาษาอื่นดังนี้
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
 การใช้ เงื่อนไข(condition) เพือ่ การตัดสิ นใจ

การใช้ IF...ELSE Condition เป็ นการกาหนดเงื่อนไขที่ธรรมดาที่สุด คือ
กาหนดเงื่อนไข แล้วโปรแกรมตรวจสอบเงื่อนไขนั้น ถ้าเงื่อนไขนั้นเป็ น
จริ งก็จะทาตามคาสัง่ ที่กาหนด ถ้าเป็ นเท็จก็จะไม่ทา

ผลที่ได้ : Summation = 10
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)

การใช้ Switch…Case ในบางครั้งในการกาหนดทางเลือกของโปรแกรม
โดยการใช้ If…Else อาจจะทาให้เขียนโปรแกรมยาวและทาความเข้าใจ
ยาก ดังนั้นเราอาจใช้ Switch แทนซึ่งเขียนโปรแกรมง่ายกว่าและมีความ
กระชับมากกว่า

ผลที่ได้ : i equals 2
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
 การวนลูป

การใช้ While Loop คาสัง่ while จะทางานโดยการตรวจสอบเงื่อนไข
ก่อน ถ้าเงื่อนไขเป็ นจริ งก็จะทาตามคาสัง่

ผลที่ได้ : 12345
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)

Do while เป็ นคาสัง่ ที่คล้ายกับ While Loop แต่ต่างกันที่ Do while นั้นจะ
ทางานโดยการตรวจสอบเงื่อนไขภายหลังจากการทางานไปแล้วแต่ While
นั้นจะตรวจสอบเงื่อนไขก่อนการทางาน
ผลที่ได้ : 5
 กรณี ที่ใช้ While...Loop จะทาการตรวจสอบเงื่อนไขก่อน แล้วจึงค่อยทาใน
ลูป
 กรณี ที่ใช้ Do...Loop จะทาคาสัง่ ในลูปก่อน แล้วจึงค่อยตรวจสอบเงื่อนไข

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)

For Loop คาสัง่ นี้จะทาหน้าที่สงั่ ให้โปรแกรมทางานวนรอบตามต้องการ
ซึ่งกาหนดเป็ นเงื่อนไข โดยจะทาเมื่อเงื่อนไขเป็ นจริ ง และจะมีลกั ษณะการ
วนรอบที่รู้จานวนรอบที่แน่นอน

ผลที่ได้ : 12345
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)

Foreach เป็ นการทางานในลักษณะวนรอบที่ทางานกับตัวแปรอาร์เรย์
โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลทัว่ ไป โดย $Value เป็ นตัวกาหนดค่าให้กบั
array expression โดยพอยน์เตอร์จะเลื่อนไปตามสมาชิดถัดไปของ
อาร์เรย์ตามการเปลี่ยนแปลงรอบที่เปลี่ยนไป
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
 การใช้ break และ continue ภายในลูป
คาสัง่ break เป็ นคาสัง่ จะใช้เพื่อให้หยุดการทางาน จากการใช้คาสัง่ เพื่อ
วนรอบที่ผา่ นมาจะเห็นว่าจะออกจากการวนรอบเมื่อสิ้ นสุ ดการทางาน
แล้วเท่านั้น แต่ถา้ ต้องการให้หยุดทางานกะทันหัน สามารถใช้คาสัง่
break ก็ได้
 คาสัง่ continue เป็ นคาสัง่ ที่ทางานตรงข้ามกับคาสัง่ break คือ จะสัง่ ให้
โปรแกรมทางานต่อไป ถ้าใช้คาสัง่ Continue กับ For เมื่อพบคาสัง่ นี้จะ
เป็ นการสัง่ ให้กลับไปเพิม่ ค่าให้กบั ตัวแปรทันที หรื อถ้าใช้กบั คาสัง่
While เมื่อพบคาสัง่ นี้จะเป็ นการสัง่ ให้กลับไปทดสอบเงื่อนไขใหม่ทนั ที

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ผลที่ได้ :Blue
 คาสัง่ continue บังคับให้ไปเริ่ มต้นทาขั้นตอนในการวนลูปครั้งต่อไป
ส่ วน break นั้นส่ งผลให้หยุดการทางานของลูป

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
 การใช้ คาสั่ ง include และ require

คาสัง่ ทั้งสองเอาไว้แทรกเนื้อหาจากไฟล์อื่นที่ตอ้ งการ ข้อแตกต่าง
ระหว่าง include และ require อยูต่ รงที่วา่ ในกรณี ของการแทรกไฟล์ใช้
ชื่อต่างๆ กันมากกว่าหนึ่งครั้งโดยใช้ลูป คาสัง่ require จะอ่านเพียงแค่
ครั้งเดียว คือไฟล์แรก และจะแทรกไฟล์น้ ีเท่านั้นไปตามจานวนครั้งที่วน
ลูป ในขณะที่ include สามารถอ่านได้ไฟล์ต่างๆ กันตามจานวนครั้งที่
ต้องการ
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
 การใช้ งาน MySQL
การสร้างฐานข้อมูล
 ในการสร้างฐานข้อมูลของ MySQL สามารถสร้างผ่าน phpMyAdmin
ได้เลย โดยการเลือก Internet Explorer ขึ้นมาพิมพ์ 127.0.0.1 ที่ address
bar จะได้หน้าต่างดังนี้

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
 ชนิดของข้ อมูลใน MySQL
ชนิดของข้อมูลพื้นฐาน มี 3 ชนิด คือ ตัวเลข, วันที่เวลา และตัวอักษร แต่
ละชนิดจะมีขนาดไม่เท่ากัน ดังนั้น เมื่อกาหนดคอลัมน์หรื อฟิ ลด์ขอ้ มูล
ในตารางบนฐานข้อมูล จะต้องคานึงถึงชนิดของข้อมูลด้วย เพื่อความ
เหมาะสมของข้อมูล โดยข้อมูลแต่ละชนิดมีรายละเอียดดังนี้
 ชนิ ดตัวเลข แบ่งได้เป็ น เลขจานวนเต็มและเลขจานวนจริ ง
 ตารางแสดงชนิ ดของตัวเลขจานวนเต็ม

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)

ตารางแสดงชนิดของเลขจานวนจริ ง
ชนิดวันที่และวันเวลา
 ตารางแสดงชนิ ดวันที่และเวลา

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ชนิดตัวอักษร
 ตารางแสดงชนิ ดของสตริ ง

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ฟังก์ชันในการจัดการฐานข้ อมูลใน MySQL
 การเชื่ อมต่ อกับฐานข้ อมูล
 ในการติดต่อกับฐานข้อมูลจะต้องทาหารเปิ ดการติดต่อดาต้าเบส
เซิร์ฟเวอร์ก่อน โดยมีรูปแบบการใช้งานดังนี้
 mysql_connect(hostname, username, password);
 hostname คือ ชื่อของดาต้าเบสเซิ ร์ฟเวอร์ ในการที่ติดตั้ง MySQL ไว้ใน
เครื่ องเดียวกับเว็บเซิร์เวอร์ ก็สามารถระบุเป็ น localhost แทนชื่อจริ งได้
เลย
 username คือ ชื่อผูใ้ ช้ที่ถูกกาหนดให้สามารถทางานกับ MySQL ได้


password คือ รหัสผ่านของผูใ้ ช้ หรื อจะระบุหรื อไม่กไ็ ด้
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)

ค่าที่คืนออกมาจากการเรี ยกใช้ฟังก์ชนั นี้จะได้ค่าเป็ นจริ งหากสามารถ
ติดต่อกับ MySQL ได้สาเร็ จแต่ถา้ ไม่สามารถติดต่อได้หรื อติดต่อไม่
สาเร็ จจะมีค่าเป็ นเท็จ เช่น
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
การยกเลิกการเชื่อมต่ อ
 ฟั งก์ชน
ั ที่ใช้ในการยกเลิกหรื อปิ ดการติดต่อดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์
 mysql_close(database_connect);
 โดยผลลัพธ์ที่คืนออกมาจากฟั งก์ชน
ั นี้ ถ้าปิ ดการติดต่อกับ MySQL ได้
สาเร็ จก็จะมีค่าเป็ นจริ ง ถ้าไม่สาเร็ จจะมีค่าเป็ นเท็จ เช่น

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
การเรียกใช้ ฐานข้ อมูลผ่ านเว็บ
 ก่อนการเรี ยกใช้ฟังก์ชน
ั นี้ จะต้องมีการเรี ยกใช้ฟังก์ชนั mysql_connect
เพื่อกาหนดฐานข้อมูลที่จะเชื่อมต่อเสี ยก่อน
 mysql_select_db(string databasename);
 Databasename คือ ชื่อของฐานข้อมูล เช่น

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
การนาภาษา SQL มาใช้ ในฐานข้ อมูล MySQL
 ฟังก์ ชัน mysql_query()
 เป็ นฟั งก์ชน
ั สาหรับสัง่ งาน MySQL ด้วยภาษา SQL เพื่อจัดการกับข้อมูล
ในฐานข้อมูล เช่น การเพิม่ การลบ เป็ นต้น ต้องใช้กบั ฟังก์ชนั
mysql_select_db()
 mysql_query(string query, [database_connect]);
 query หมายถึง คิวรี ที่เรี ยกใช้ฐานข้อมูล
 database_connect หมายถึง ตัวแปรที่ใช้เชื่อมต่อกับฐานข้อมูล จะกาหนด
หรื อไม่กไ็ ด้ เช่น

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ฟังก์ชัน mysql_db_query()
 เป็ นฟั งก์ชน
ั สาหรับสัง่ งาน MySQL ด้วยภาษา SQL เพื่อจัดการกับข้อมูล
ในฐานข้อมูลเหมือนกับฟังก์ชนั mysql_query แต่ไม่ตอ้ งใช้ร่วมกับ
ฟังก์ชนั mysql_select_db()เพราะสามารถกาหนดชื่อฐานข้อมูลไว้ใน
ฟังก์ชนั ได้เลย
 mysql_db_query(string databasename, string query);
 เช่น

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ฟังก์ชัน mysql_free_result()
 เป็ นฟั งก์ชน
ั สาหรับคืนหน่วยความจาให้กบั ระบบ เพื่อใช้หน่วยความจา
ให้มีประสิ ทธิภาพมากที่สุด ถ้ามีการใช้ตวั แปรมากๆ แล้วไม่มีการคืน
หน่วยความจาจะส่ งผลให้หน่วยความจาเต็มและมีผลต่อการทางานของ
ระบบได้
mysql_free_result(int result);
 result หมายถึง ค่าที่ได้จากการใช้คาสัง่ คิวรี เช่น

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ฟังก์ชัน mysql_create_db()
 เป็ นฟั งก์ชน
ั สาหรับสร้างฐานข้อมูลใหม่
mysql_create_db(string databasename, [int database_connect]);
 databasename คือ ชื่อฐานข้อมูลที่ตอ้ งการสร้างใหม่
 database_connect คือ ตัวแปรที่ใช้เชื่อมต่อกับฐานข้อมูล จะกาหนด
หรื อไม่กไ็ ด้

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ฟังก์ชัน mysql_fetch_array()
 เป็ นฟั งก์ชน
ั ที่ใช้สาหรับดึงค่าผลลัพธ์ของฐานข้อมูลเก็บไว้ในอาร์เรย์
ผลลัพธ์ที่คืนออกมาจากฟังก์ชนั นี้ จะเป็ นข้อมูลอาร์เรย์ที่มีสมาชิกเท่ากับ
จานวนคอลัมน์ของตาราง
mysql_fetch_array(int result);
 จากการใช้ฟังก์ชน
ั นี้ จะเป็ นการอ่านค่าและถ่ายค่าลงตัวแปรอาร์เรย์ทีละ
1 รายการ หากเราต้องการแสดงค่าของข้อมูลไปเรื่ อยๆ จนกว่าจะครบทุก
รายการที่มีในตารางผลลัพธ์ ก็จะต้องกาหนดคาสัง่ ให้วนรอบการทางาน
ของฟังก์ชนั เช่น

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ฟังก์ชัน mysql_fetch_row()
 เป็ นฟั งก์ชน
ั ที่ใช้สาหรับเลื่อนตาแหน่งของตัวชี้ขอ้ มูลไปยังเรคอร์ด
ถัดไป
mysql_fetch_row(int result);
 ฟังก์ ชัน mysql_num_fields()
 เป็ นฟั งก์ชน
ั ที่ใช้ในการหาจานวนคอลัมน์ที่มีท้ งั หมด
mysql_num_fields(int result);
 ผลลัพธ์ที่คืนออกมากจากฟั งก์ชน
ั นี้ เป็ นชนิดตัวเลข ได้แก่ จานวน
คอลัมน์ท้ งั หมดของตาราง เช่น

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
ฟังก์ชัน mysql_num_rows()
 เป็ นฟั งก์ชน
ั ที่ใช้สาหรับคานวณหาจานวนแถวหรื อจานวนรายการ
ทั้งหมด
mysql_num_rows(int result);
 ผลลัพธ์ที่คืนออกมาจากฟั งก์ชน
ั นี้ เป็ นข้อมูลชนิดตัวเลข ได้แก่ จานวน
รายการทั้งหมดของตารางผลลัพธ์

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
 การอัปโหลดเว็บเพจเข้ าสู่ ระบบอินเตอร์ เน็ต

วิธีการคือ เมื่อสร้างเว็บเพจสาเร็ จแล้ว ก็ถึงขั้นตอนของการนาเว็บเพจไป
ฝังหรื อฝากไว้ที่คอมพิวเตอร์แม่ข่ายหรื อเว็บเซิร์ฟเวอร์ของ ISP ที่เราเป็ น
สมาชิกอยู่ หรื ออาจจะมี Server เป็ นของตัวเองเพื่อให้ทุกคนที่เป็ นสมาชิก
อินเตอร์เน็ตมองเห็นเว็บเพจของเรา ด้วยวิธีการ Upload หรื อทาการ
Transfer File ซึ่งการอัปโหลด (Upload) คือการก๊อปปี้ ไฟล์จากเครื่ องพีซี
ของเราไปไว้ที่เครื่ อง Host โดยใช้ FTP (File Transfer Protocal) เป็ น
โปรโตคอลที่ใช้ในการถ่ายโอนข้อมูลระหว่างเครื่ องพีซีและเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ที่เป็ น Host สาหรับเครื่ องพีซีจะต้องติดตั้งซอฟแวร์ในการ
อัปโหลดไฟล์ จากนั้นก็ทาการอัปโหลดไฟล์ไปไว้ในไดเร็ กทอรี ของตัวเอง
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)

ที่หน้าจอด้านขวาจะเป็ นส่ วนของเซิร์ฟเวอร์ และทางซ้ายคือฝั่งพีซี การ
อัปโหลดไฟล์ทาได้โดยการเลือกไฟล์ที่ตอ้ งการอัปโหลด แล้วคลิกที่รูป
ลูกศรชี้ข้ ึนที่อยูบ่ นแถบเมนูบาร์หรื อดับเบิ้ลคลิกไฟล์ที่ฝั่งพีซีหรื อคลิกที่
ไฟล์ แล้วลากเมาส์ไปยังด้านเซิร์ฟเวอร์ โปรแกรมจะรายงานผลการ
อัปโหลดในทุกระยะ จนกระทัง่ การอัปโหลดเสร็ จสมบูรณ์ และหากเรา
ต้องการสร้างไดเร็ กทอรี ก็สามารถทาได้โดยคลิกเมาส์ขวาที่ฝั่ง
เซิร์ฟเวอร์ แล้วเลื่อนเมาส์ไปที่ Make new directory จะปรากฏหน้าจอ
Create new dir ให้ใส่ ชื่อไดเร็ กทอรี ใหม่ แล้วคลิก OK หากต้องการ
อัปโหลดไฟล์ไปไว้ในไดเร็ กทอรี ใหม่ ก็ดบั เบิ้ลคลิกที่ชื่อไดเร็ กทอรี ที่
สร้างไว้ แล้วอัปโหลดไฟล์ดว้ ยวิธีเดิม
อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
 การจัดสร้ างไดเร็กทอรีเป็ นเว็บเพจย่ อย
จากหลักการข้างต้นนี้ เราสามารถจัดสร้างไดเร็ กทอรี ยอ่ ย เพื่อจัดสร้างเป็ น
URL ย่อยสาหรับการเรี ยกเข้าถึงโดยตรง เพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดสร้าง
ร้านค้าย่อยหรื อสร้างเว็บเพจย่อย โดยไม่ตอ้ งคียช์ ื่อไฟล์ ก็สามารถทาได้
โดยกาหนดชื่อไฟล์ ไฟล์แรก ชื่อ index.html
่ ายใต้ไดเร็ กทอรี มีขอ้ ดีในการนามาใช้เรี ยกชื่อร้านค้า
 การตั้งชื่อเรี ยกอยูภ
ย่อยที่ร่วมอยูใ่ นห้างออนไลน์เดียวกัน ทาให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีเพราะชื่อที่
เรี ยกไม่ยาวจนเกินไป และเป็ นการใช้ชื่อร่ วมกันอันทาให้เกิดความมัน่ ใจ
ต่อผูซ้ ้ือ อย่างไรก็ตาม หากจะให้มีชื่อเรี ยกเป็ นของตนเอง โดยส่ วนใหญ่ก็
มักจะไปจดชื่อโดเมนเป็ นของตนเอง ซึ่งชื่อเหล่านี้ถือเป็ นตรายีห่ อ้ สิ นค้า
อย่างหนึ่ง ทาให้กลุ่มเป้ าหมายจดจาได้ง่าย และเมื่อมีชื่อเสี ยงก็สามารถ
กลายเป็ นทรัพย์สินทางปัญญาอย่างหนึ่งด้วย

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)
แหล่ งที่มา
พร้อมเลิศ หล่อวิจตั ร. คู่มือเรี ยน PHP และ MySQL สาหรับผูเ้ ริ่ มต้น.
โปรวิชนั่ , กรุ งเทพฯ, 2550.
 สมศักดิ์ โชคชัยชุติกลุ . อินโซท์ PHP5. โปรวิชน
ั่ , กรุ งเทพฯ, 2547.

อ.ปริ ญญา น้อยดอนไพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) 3(2-2-5)