ดร.ประพันธ์ วงศ์บางโพ และ ชูชาติ เมสันธสุวรรณ

Download Report

Transcript ดร.ประพันธ์ วงศ์บางโพ และ ชูชาติ เมสันธสุวรรณ

Slide 1

การวิเคราะห์มิติสมั พันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS

ดร.ประพันธ์ วงศ์บางโพ และ ชูชาติ เมสันธส ุวรรณ

1

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 2

สารบัญ
• การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินด้วย CFSAWS:ss
• มิติสมั พันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS
• การวิเคราะห์ดา้ นเงินท ุน – Capital
• การวิเคราะห์ดา้ นสินทรัพย์ – Asset
• การวิเคราะห์ดา้ นกาไร – Earnings
• การวิเคราะห์ดา้ นสภาพคล่อง – Liquidity

2

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 3

เครื่องมือเฝ้ าระวังและเตือนภัยทางการเงิน
ของสหกรณ์ และกล่ มุ เกษตรกร
3

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 4

เครือ
่ งมือเตือนภ ัยและเฝ้าระว ังทางการเงินของสหกรณ์และกลุม
่ เกษตรกร

Cooperative Financial Surveillance and Warning System : Set Standard

้ า
อ ัตราสว่ นค่าใชจ
่ ย
ดาเนินงานต่อกาไร
้ ช
อ ัตราลูกหนีท
ี่ าระหนี้
ได้ตามกาหนด

อ ัตราสว่ นทุนสารอง
ิ ทร ัพย์
ต่อสน

ิ ธิ์
จดลิขสท

4

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 5

5

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 6

แสดงถึงความสามารถทีล
่ า้ หน้า ควรร ักษา
ระด ับให้คงอยูอ
่ ย่างต่อเนือ
่ ง
แสดงถึงความสามารถพอใชไ้ ด้ ซงึ่ อาจจะ
สามารถปร ับปรุงพ ัฒนาได้อก

แสดงถึงความสามารถทีอ
่ าจต้องแก้ไข
ปร ับปรุง เปลีย
่ นแปลงให้ดข
ี น
ึ้

6

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 7

สารบัญ
• การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินด้วย CFSAWS:ss
• มิติสมั พันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS

• การวิเคราะห์ดา้ นเงินท ุน – Capital
• การวิเคราะห์ดา้ นสินทรัพย์ – Asset

• การวิเคราะห์ดา้ นกาไร – Earnings
• การวิเคราะห์ดา้ นสภาพคล่อง – Liquidity
7

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 8

มิตสิ มั พันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS
CFSAWS:ss

CAMELS

อาการพื้นฐานที่สาคัญ

C

กาบังและแหล่งที่มา
ของเงินทุน

ปริมาณน้ าฝนเข ้า tank

แหล่งที่เอาเงินไปเพิ่ม

A มูลค่าหรือทาลายมูลค่า
M
ปริมาณสารองน้ า

E

ตัดสินใจ บริหาร
และจัดการ

แหล่งกาเนิดเงินที่เลี้ยง
องค์กรทาธุรกิจต่อไปได้

L มีเงินสดเพียงพอชาระหนี้
สภาพรูรั่วของ tank

S

ปั จจัยสภาพแวดล้อม

เลือกขนาด ความหนา
บารุงรักษา tank และ
กาหนดปริมาณใชน้ ้ า

8

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 9

ประเด็นที่วิเคราะห์ในแต่ละมิติ
CAMELS
Component

Capital
Asset

ประเด็น

วัตถ ุประสงค์
•ความเพียงพอของเงินทุนต่อ
ความเสี่ยง

• ระดับและคุณภาพของทุน
• ความสามารถของฝ่ าย
จัดการในการระดมทุนฉุกเฉิน
• ความเสี่ยงนอกงบดุล

• ระดับการตัง้ สารอง
• ความเพียงพอทุนกับการ
เจริญเติบโต

•คุณภาพของสินทรัพย์

• สัดส่วนของหนีส้ ญ

• สัดส่วนของสินทรัพย์เสี่ยง
• การกระจุกตัวของสินทรัพย์

• การขยายตัวของสินเชือ่
• การให้ความสาคัญฝ่ าย
จัดการกับคุณภาพสินทรัพย์

Management

•ความสามารถของ
คณะกรรมการและฝ่ ายจัดการ

Earnings

•ความสามารถในการทากาไร

นโยบายผลตอบแทนของ
• บทบาทในการบริหารความเสี่ยง • พนั
กงานและผูบ้ ริหาร
• การปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ
• ความสามารถของฝ่ ายบริหาร
และการสืบทอดการบริหาร
• ระดับของกาไรรวมแนวโน้ม • ค่าใช้จ่าย
และความผันผวน
• กระบวนการควบคุมงบประมาณ
• คุณภาพของกาไร

•ความเพียงพอของสภาพคล่อง
ต่อความต้องการใช้เงิน

• ความเพียงพอของสภาพคล่อง • สินทรัพย์สภาพคล่อง
• การให้ความสาคัญของฝ่ าย
• ความผันผวนของเงินฝาก
บริหารกับสภาพคล่อง

•ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
ภายนอกที่จะเกิดขึน้ ต่องบการเงิน

• ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย
ราคาหุน้ ราคาสินค้า
• ระบบของการบริหารความเสี่ยง

Liquidity
Sensitivity
To market risk

9

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 10

ปั จจัยกาหนดผลลัพธ์ทางด้านการเงิน
ผลลัพธ์ทางการเงินคืออิทธิพลระหว่างปั จจัยภายนอกกับภายใน
การมองจากภายนอกเข้าสูภ่ ายใน
วัฐจักรเศรษฐกิจ

ปัจจัยแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
และธ ุรกิจ (S)

วัฐจักรสินค้า

โครงสร้างองค์กรและการ
บริหารงาน (M)

C
ผลการดาเนินงานทางด้าน
การเงินขององค์กร (CAEL)

E
A

โครงสร้างองค์กร
และสมาชิก
การวางกลย ุทธ์และตาแหน่ง
การแข่งขัน

L

ภาวะการแข่งขันใน
อ ุตสาหกรรม
การเปลี่ยนแปลง
ทางเทคโนโลยี่
อานาจต่อรอง
ของผูซ้ ้ ือ

ความสามารถหลักขององค์กร
นโยบายและข้อปฏิบตั ิ

วัฒนธรรม

การทดแทนของ อานาจต่อรอง
ของผูข้ าย
สินค้า

10

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 11

มิตกิ ารวิเคราะห์ในระบบของ CAMELS
มิตกิ ารวิเคราะห์ ในระบบของ CAMELs ประกอบไปด้ วย 6 ด้ านหลัก เพื่อให้ ครอบคลุมการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
และเป็ นเครื่ องมือในการเตือนภัยล่ วงหน้ า (early warning system)
Rating Component

การพิจารณาด้ านที่จะนามาวิเคราะห์
Capital
Asset

การเงิน

การบริหาร

ความเสี่ยง

C A
E L

M

S

Management
Earnings

จัดกลุม่ ใหม่

Liquidity

ปัจจุบนั

อนาคต

Sensitivity
To market risk

CAMELS

11

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 12

สารบัญ
• การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินด้วย CFSAWS:ss
• มิติสมั พันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS

• การวิเคราะห์ดา้ นเงินท ุน – Capital
• การวิเคราะห์ดา้ นสินทรัพย์ – Asset

• การวิเคราะห์ดา้ นกาไร – Earnings
• การวิเคราะห์ดา้ นสภาพคล่อง – Liquidity
12

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 13

ประเด็นที่วิเคราะห์ในเรื่องทุน
เงินทุนเป็ นเกราะป้องกันการผันผวนของการดาเนินงานได้ และยังเป็ นที่มาของเงินทุนที่มีต้นทุนต่า แต่ ในระบบสหกรณ์ ทุนเรื อน
หุ้นยังสามารถไถ่ ถอนได้ นอกจากนัน้ มีการจ่ ายเงินปั นผลสูงเป็ นประเพณีปฏิบัตโิ ดยอาศัยการกู้ยืมเงินภายนอก

งบด ุล

งบกาไรขาดท ุน
สินทรัพย์
=

กาไร

แนวโน้มมีการดาเนินงาน
จากกาไรไปขาดทุน

+

ภาระที่ตอ้ งคืน

หนี้สิน
หนี้สิน

ท ุนเรือนหน้ ุ
ไถ่ถอนคืน

-

การขาดทุน
จะกัดกร่อนทุน

ท ุน

หนี้สิน
ท ุน

ภาวะปกติ ภาวะอ่อนแอ
อาจเกิดภาวะ
เงินออมวิ่งออก
(deposit and
shares run)

ขาดท ุน

ท ุน

ภาวะล้มละลาย
หนี้สิน>สินทรัพย์

ประเด็นทีค่ วรวิเคราะห์
1. ความเพียงพอและความเข้ มแข็งของทุน
2. การก่ อหนี้
13

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 14

ความเพียงพอและความเข้มแข็งของทุน
ความเข้ มแข็งขององค์ กรสามารถวัดได้ จากการมีทุนสถาบันเพียงพอกับความเสี่ยงต่ างๆได้ ทุนสถาบันควรมีลักษณะ
ที่ไม่ สามารถถอนได้ และไม่ ผูกพันที่จะต้ องจ่ ายผลตอบแทน

ความเข้มแข็ง
ขององค์กร

•ท ุนที่มีอยูต่ ิดองค์กร
ตลอด
•ท ุนที่ไม่ผกู พันที่จะต้อง
จ่ายผลตอบแทน

ความเสี่ยง
ท ุนสถาบัน

14

• ความผันผวน
ทางด้านธ ุรกิจ
• การกย้ ู ืมเงินมากไป
• หนี้สญ
ู (ความเสี่ยง
ด้านเครดิต)
• การลงท ุนที่มี
ผลตอบแทนต่า
ระยะยาว หรือมี
ผลตอบแทนที่ผนั
ผวน (ความเสี่ยง
ด้าน
ตลาดการเงิน)

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 15

CAMELS

มิติ C : ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง/ความเข้มแข็ง
ของเงินทุน
1 เงินท ุนดาเนินงาน
…...บาท/ล้านบาท
ผลตอบแทนต่อส่วนของท ุน
……%

2 แหล่งเงินท ุน

3 สัดส่วนหนี้สินทัง้ สิ้นต่อท ุน
ของสหกรณ์ .....เท่า

 ภายในสหกรณ์ .…บาท/ล้านบาท ..%
- เงินรับฝากสมาชิก.…บาท/ล้านบาท ..%
- ทุนของสหกรณ์ ….บาท/ล้านบาท ..%
- อื่นๆ
….บาท/ล้านบาท ..%
ภายนอกสหกรณ์ ….บาท/ล้านบาท ..%
- เงินกู้ยืม/เครดิตการค้า..บาท/ล้านบาท ..%
- เงินรับฝากสหกรณ์และอื่นๆ...บาท/ล้านบาท...%

หนี้สินทัง้ สิ้น ...บาท/ล้านบาท
ท ุนของสหกรณ์ ...บาท/ล้านบาท
การเติบโตท ุนของสหกรณ์ .....%
การเติบโตของหนี้สิน
.....%

ท ุนสารองต่อสินทรัพย์ทงั้ สิ้น ….. เท่า
15

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 16

การวัดความเพียงพอและความเข้มแข็งของทุน
ในระบบสถาบันการเงินจะใช้ เงินกองทุนต่ อสินทรั พย์ เสี่ยงเป็ นอัตราส่ วนที่สาคัญ และมีแนวโน้ มจะเริ่มใช้ วิ ธีใหม่ ท่ ปี ระเมินความ
เสี่ยงออกมาเป็ นตัวเลขในอนาคตอันใกล้

ชือ่ เรียก

ความเพียงพอและ
เข้มแข็งของ
สถาบัน

สูตรอัตราส่วน

ทุนต่อสินทรัพย์รวม
ทุนสถาบันต่อสินทรัพย์รวม

16

ระดับคุณภาพโดยรวม

ทุน
สินทรัพย์ทงั้ หมด

> 7%-8%

ทุนสารอง
สินทรัพย์ทงั้ หมด

> 5%-7%

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 17

การวัดระดับการก่อหนี้
ในการวัดระดับการก่ อหนี ้ ควรให้ ความสาคัญกับระดับหนีท้ ่ เี หมาะสมตามทุนสารอง และเน้ นแหล่ งเงินภายในเป็ นหลัก

การวัดระดับการก่อหนี้
อัตราส่วนที่ใช้วดั
อัตราส่วนหนีส้ ินต่อทุนสารอง
(debt to capital reserve ratio)

การกูบ้ ืมเงินภายนอก
(borrowed fund ratio)

สูตรอัตราส่วน

ระดับคุณภาพโดยรวม

หนีส้ ิน + ทุนเรือนหุน้
ทุนสารอง + สารองเผือ่ หนีส้ ญ
ู + สารองอื่นๆ

ยอดคงค้างเงินกูย้ ืมภายนอก
สินทรัพย์

17

< 10 เท่า

< 5%-7%

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 18

การวัดความสามารถในการชาระหนี-้ ก่อหนี้

การวัดความสามารถในการชาระหนี้ (debt capacity)
อัตราส่วนที่ใช้วดั

อัตราส่วนคุม้ ครองดอกเบี้ย
(interest coverage)

สูตรอัตราส่วน

ระดับคุณภาพโดยรวม

กาไรก่อนหักภาษี ดอกเบี้ย ค่าเสื่อม และ ค่าตัดจ่าย (EBITDA)
หนีส้ ินรวม

> 25%-30%

หรือ
กระแสเงินจากการดาเนินงาน
หนีส้ ินรวม
อัตราส่วนคุม้ ครองดอกเบี้ย
(interest coverage)

กาไรก่อนหักภาษีและดอกเบี้ย ( EBIT)
ดอกเบี้ยจ่าย

18

> 3-4 เท่า

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 19

สารบัญ
• การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินด้วย CFSAWS:ss
• มิติสมั พันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS

• การวิเคราะห์ดา้ นเงินท ุน – Capital
• การวิเคราะห์ดา้ นสินทรัพย์ – Asset

• การวิเคราะห์ดา้ นกาไร – Earnings
• การวิเคราะห์ดา้ นสภาพคล่อง – Liquidity
19

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 20

วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สินทรัพย์
การวิเคราะห์ ถงึ คุณภาพของสินทรั พย์ ต่างๆ โดยมุ่งไปที่สินทรั พย์ ท่ ไี ม่ ก่อให้ เกิดรายได้ และผลกระทบต่ อฐานะการเงินของสหกรณ์
ความเพียงพอของสารองต่ อการด้ อยคุณภาพของสินทรั พย์ เพื่อป้องกันผลกระทบต่ อฐานะการเงินของสหกรณ์ และแหล่ งที่มาของ
เงินทุนเพื่อมาลงทุนในสินทรั พย์ เหล่ านี ้

สินทรัพย์
สินทรัพย์
หมุนเวียน
เงินให้กแู้ ละ
เงินลงทุน

เกินความต้องการ

ไม่มีคณ
ุ ภาพ

สินทรัพย์
ไม่สร้าง
กาไร

กาไร

ไม่มีประสิทธิภาพ

สินทรัพย์ถาวร

แหล่ง
เงินทุน
20

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 21

การวิเคราะห์แนวโน้มของคุณภาพของสินทรัพย์
การวิเคราะห์ คุณภาพสินทรั พย์ ส่วนใหญ่ จะเน้ นไปที่สภาพปั จจุบัน ไม่ ครอบคลุมไปถึงอนาคตด้ วย ทาให้ ไม่ สามารถคาดการณ์
การเกิดความผันผวนของผลการดาเนินงานในอนาคต

การกระจายตัวของสินเชื่อและเงินลงท ุน

มาตรฐานของกฎระเบียบและการปฏิบตั ิของการปล่อยก ้ ู

การบริหารสินทรัพย์ที่เหมาะสมใน
การเร่งรัดการจัดเก็บและ
แก้ไขหนี้ที่มีปัญหา

ความเสี่ยงของการลงท ุน

แนวโน้ม

สินเชื่อที่ไม่กอ่ ให้เกิดรายได้

21

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 22

CAMELS

มิติ A : คุณภาพของสินทรัพย์

1 สินทรัพย์
………บาท/ล้านบาท

ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์
...…%

2 การลงท ุนในสินทรัพย์
เงินสด/เงินฝากธนาคาร/สก......บาท/ล้านบาท ..%
ลูกหนี้
...บาท/ล้านบาท ..%
(ค่าเผื่อหนีส
้ งสัยจะสูญ) (...)บาท/ล้านบาท (..)%
ที่ดิน/อาคาร/อุปกรณ์ ...บาท/ล้านบาท ..%
หลักทรัพย์/ตราสาร ...บาท/ล้านบาท ..%
สินค้าและอืน
่ ๆ
…บาท/ล้านบาท ..%

3 อัตราหมุนของสินทรัพย์
…..รอบ
ขาย/บริการ ... บาท/ล้านบาท
(รายได้ธรุ กิจหลัก)

การเติบโตของสินทรัพย์ ....%

NPL/หนี้ชาระไม่ได้ตามกาหนด ..บาท/ล้านบาท

หรืออัตราการค้างชาระหนี้

.…..%

22

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 23

การวัดคุณภาพสินทรัพย์ของธุรกิจการเงิน
การวัดคุณภาพสินทรั พย์ ของธุรกิจการเงินจะเน้ นไปที่หนีท้ ่ คี ้ างชาระและสินเชื่อไม่ ก่อให้ เกิดรายได้ (NPL)

อัตราส่วนวัดสภาพคล่องจากการให้สินเชื่อ
อัตราส่วนที่ใช้วดั
อัตราส่วนสินเชือ่ ที่ไม่กอ่ ให้เกิดรายได้
(NPL ratio)

อัตราการค้างชาระหนี้
(delinquency ratio)

สูตรอัตราส่วน

ระดับคุณภาพโดยรวม

สินเชือ่ ที่ไม่กอ่ ให้เกิดรายได้
สินเชือ่ ทัง้ สิ้น

ลูกหนีค้ า้ งชาระหนี้
สินเชือ่ ทัง้ สิ้น

23

< 1%-2%

< 3%-4%

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 24

การวัดประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ของธุรกิจทัว่ ไป
การวัดประสิทธิภาพการใช้ สินทรั พย์ ของธุรกิจทั่วไปจะเป็ นไปด้ วยความยากลาบาก เนื่องจาก ลักษณะที่แตกต่ างกันไปตามธุรกิจ
ฉะนัน้ การวัดจึงเน้ นไปที่ตัวภาพรวมอย่ างอัตราการหมุนและผลตอบแทนของสินทรั พย์

อัตราส่วนวัดประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์
อัตราส่วนที่ใช้วดั
อัตราส่วนหมุนเวียนของสินทรัพย์
(asset turnover ratio)

อัตราตอบแทนของสินทรัพย์
(ROA ratio)

สูตรอัตราส่วน

ระดับคุณภาพโดยรวม

ขาย/บริการ
สินทรัพย์ทงั้ สิ้นถัวเฉลี่ย

กาไรจากดาเนินงาน
สินทรัพย์ทงั้ สิ้นถัวเฉลี่ย

24

แตกต่างไปแต่ละธุรกิจ
ควรเปรียบเทียบภายใน
ธุรกิจเดียวกัน

แตกต่างไปแต่ละธุรกิจ
ควรเปรียบเทียบภายใน
ธุรกิจเดียวกัน

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 25

สารบัญ
• การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินด้วย CFSAWS:ss
• มิติสมั พันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS

• การวิเคราะห์ดา้ นเงินท ุน – Capital
• การวิเคราะห์ดา้ นสินทรัพย์ – Asset

• การวิเคราะห์ดา้ นกาไร – Earnings
• การวิเคราะห์ดา้ นสภาพคล่อง – Liquidity
25

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 26

วัตถุประสงค์ของวิเคราะห์กาไร
การวิเคราะห์ ความยั่งยืนขององค์ กรที่จะสามารถแข่ งขัน ระดมเงินทุนได้ ปรั บตัวตามภาวะที่เปลี่ยนแปลงไป และไม่ ได้ รับผลกระทบ
จากภาวะเศรษฐกิจที่เลวร้ าย

กฎระเบียบและนโยบายรัฐ
กาไรของสหกรณ์
รายจ่าย
รายรับ

การเปลี่ยน
แปลงทาง
สภาวะทาง
สังคมและประชากร
ศาสตร์

ภาวะแข่งขัน

การเพิ่มขึน้ ของจานวนสมาชิกของ
สหกรณ์ ไม่ ได้ เป็ นตัวชีท้ ่ เี พียงพอใน
การบ่ งบอกความสาเร็จของสหกรณ์

ภาวะเศรษฐกิจ
26

ถ้ าหากความสามารถในการทากาไรของ
สหกรณ์ ยังต่าและมีแนวโน้ มลดลงด้ วย จะ
ให้ สัญญาณเตือนขีดความสามารถในการ
แข่ งขันของสหกรณ์
ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 27

ความได้เปรียบการแข่งขัน (Competitive Advantage)
ความสามารถในการแข่ งขันของสหกรณ์ เท่ านัน้ จะเป็ นตัวบ่ งบอกถึงความยั่งยืนโดยธรรมชาติขององค์ กร ความได้ เปรี ยบในการแข่ งขัน
สามารถแบ่ งออกเป็ นสองประเภทใหญ่ …….

ความได้เปรียบการแข่งขัน

ราคา/ต้นท ุน
ต่อหน่วย

แหล่งที่มาความได้เปรียบ
• สามารถในบริการหรือเสนอ
สินค้าได้ตามความต้องการของ
ลูกค้าและแตกต่างจากคู่แข่งขัน
• สามารถลดต้นทุนให้กบั ลูกค้า
• สามารถเพิ่มผลการดาเนินงาน
ให้กบั ลูกค้า
• ให้ลกู ค้ารับรูถ้ ึงคุณค่าของสินค้า

Differentiation

ราคา
สูงกว่า

ทางความแตกต่าง
• ผูซ้ ้ ือสินค้ายินดีที่จ่าย
สินค้าสูงกว่า
• ต้นท ุนต่อหน่วยต้อง
ใกล้เคียงต้นท ุนโดย
เฉลี่ยของธ ุรกิจนี้

ต้นทุน
ต่อหน่วย

Cost Advantage

โดยเฉลี่ย
ของธ ุรกิจ
ทางต้นท ุน
• ต้นท ุนต่อหน่วยต้อง
ต่ากว่าหรือใกล้เคียง
ต้นท ุนโดยเฉลี่ยของ
ธ ุรกิจนี้
• ผูซ้ ้ ือสินค้าพอใจกับ
ค ุณภาพสินค้า-บริการ
เท่ากับที่อื่น จึงยินดีที่
จ่าย ณ ราคาสินค้า
เท่ากับที่อื่น

สหกรณ์ ก.

ราคา/ต้นท ุน
ต่อหน่วย
ราคา

ต้นท ุนต่อ
หน่วยต่ากว่า
โดยเฉลี่ย
ของธ ุรกิจ

สหกรณ์ ก.
27

• การประหยัดต่อขนาด
• การควบคุมกิจกรรมเพื่อลด
ต้นทุน
• การบริหารการเรียนรู้
• การบริหารกาลังการผลิต
• การบริหารห่วงโซ่อปุ ทาน
• การรวมกลุม่ และแยกกลุม่ ธุรกิจ
• การใช้เทคโนโลยี่

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 28

CAMELS

มิติ E : การทากาไร

1 ความสามารถใน
การทากาไร
อัตรากาไรส ุทธิ
....%

2 กาไร(ขาดท ุน)..บาท/ล้านบาท

3 อัตราเฉลี่ยต่อสมาชิก

รายได้
....บาท/ล้านบาท 100 %
• รายได้ธ ุรกิจ
...บาท/ล้านบาท ....%
• รายได้เฉพาะธ ุรกิจ ...บาท/ล้านบาท ....%
• รายได้อื่น
...บาท/ล้านบาท ....%
ค่าใช้จ่าย
....บาท/ล้านบาท ....%
• ต้นท ุนธ ุรกิจ
....บาท/ล้านบาท ...%
• ค่าใช้จ่ายเฉพาะธ ุรกิจ....บาท/ล้านบาท ...%
• ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน ....บาท/ล้านบาท ...%
อัตราค่าใช้จ่ายดาเนินงานต่อกาไร
ก่อนหักค่าใช้จ่ายดาเนินงาน .... %
28

รายได้ต่อสมาชิก ..บาท/คน
ค่าใช้จ่ายต่อสมาชิก .. บาท/คน
กาไรต่อสมาชิก .. บาท/คน
เงินออมต่อสมาชิก ..บาท/คน

หนี้สินต่อสมาชิก ..บาท/คน
การเติบโตของกาไร
..%
การเติบโตของท ุนสารอง ..%
28 ่น ..%
การเติบโตของท ุนสะสมอื
ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 29

การเปรียบเทียบการวัดความสามารถการทากาไร
การวัดความสามารถในการทากาไรในธุรกิจการเงินส่ วนใหญ่ จะใช้ ฐานเป็ นสินทรั พย์ ขณะที่ธุรกิจทั่วไปจะใช้ ฐานเป็ นรายได้

ธ ุรกิจการเงิน
อัตราส่วนที่ใช้วัด
กาไรสุทธิ
(profit margin ratio)

ค่าใช้จา่ ย
(expense ratio)

สูตรอัตราส่วน

ธ ุรกิจทัว่ ไป

ระดับคุณภาพ
โดยรวม

กาไรสุทธิ
สินทรัพย์รวม

>2%

ค่าใช้ดาเนินงานไม่รวมดอกเบี้ยจ่าย
ยอดเงินกูถ้ ัว่ เฉลี่ย

<.5%

สูตรอัตราส่วน
กาไรสุทธิ
รายได้

ระดับคุณภาพ
โดยรวม
แตกต่างไปแต่ละธุรกิจ
ควรเปรียบเทียบภายใน
ธุรกิจเดียวกัน

ค่าใช้ดาเนินงาน* แตกต่างไปแต่ละธุรกิจ
ควรเปรียบเทียบภายใน
รายได้
ธุรกิจเดียวกัน
*ไม่รวมดอกเบี้ยจ่าย

29

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 30

ประเด็นที่ตอ้ งวิเคราะห์ตอ่ ไป
การวิเคราะห์ กาไรส่ วนใหญ่ จะเน้ นไปที่สภาพปั จจุบัน ไม่ ครอบคลุมไปถึงอนาคตด้ วย ทาให้ ผลการวิเคราะห์ ค่อนข้ างล่ าช้ าไม่
สามารถเตือนภัยล่ วงหน้ า

ในอนาคต

ในปั จจุบนั
ระดับความสามารถในการทากาไร

• ความอ่อนไหวของกาไรในอนาคตต่อ
ภาวะการแข่งขันและราคาผลิตภัณฑ์

แหล่งที่มาและคุณภาพของกาไร

• ความเพียงพอของการตัง้ สารองทางด้านหนีส้ ญ


การบริหารจัดการค่าใช้จา่ ย

• กระบวนการในการบริหารจัดการงบประมาณ
ต่างๆ การจัดทาค่าใช้จา่ ยล่วงหน้า
และการจัดเก็บข้อมูล

30

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 31

สารบัญ
• การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินด้วย CFSAWS:ss
• มิติสมั พันธ์จาก CFSAWS:ss สู่ CAMELS

• การวิเคราะห์ดา้ นเงินท ุน – Capital
• การวิเคราะห์ดา้ นสินทรัพย์ – Asset

• การวิเคราะห์ดา้ นกาไร – Earnings
• การวิเคราะห์ดา้ นสภาพคล่อง – Liquidity
31

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 32

วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สภาพคล่อง
วัตถุประสงค์ ของการวิเคราะห์ สภาพคล่ อง คือ การพิจารณาว่ า องค์ กรจะมีแหล่ งทีม่ าของกระแสเงินสดเพียงพอกับภาระผูกพันทาง
การเงิน (financial obligation) ทีจ่ ะถึงกาหนด หรื อไม่

ภาระผูกพัน
ทางการเงิน
(financial
obligation

แหล่งที่มาของ
สภาพคล่อง

32

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 33

สาเหตุของการขาดสภาพคล่อง
สาเหตุหลักของการขาดสภาพคล่ องนัน้ มาจากการบริหารสินทรั พย์ และหนีส้ ิน (asset and liability management หรื อ ALM) ไม่ ดีพอ
รวมทัง้ ปั ญหาจากผลการดาเนินงาน

แหล่งที่มาสภาพคล่อง
งบด ุล
• สินทรัพย์
สภาพคล่อง
• สินเชือ่ ปกติ
• สินเชือ่ และ
การลงทุนที่
ด้อยคุณภาพ
• เงินลงทุน
• สินทรัพย์คงที่

ดำรงไว้ไม่เพียงพอ

ภาระผูกพันทางการเงิน

ขยำยตัวมำกไป

งบด ุล
ไม่มีกระแสเงินเข้ำ
ภาระหนี้สิน
ระยะสัน้ มาก

ระยะยำวเกินไป
ลงทุนมำกไปและ
ไม่มีผลตอบแทน

การถอน
เงินฝากมาก
กว่าปกติ

งบกาไรขาดท ุน
กระแสเงินสด
จากการ
ดาเนินงาน

ภาระ
นอกงบด ุล

มีผลกำรดำเนินงำนที่ ไม่ดี

33

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 34

ปั ญหาความเหลื่อมลา้ อายุกระแสเงินสด (mismatching)
ความเหลื่อมลา้ อายุกระแสเงินสดเกิดจากการพึ่งพิงแหล่ งเงินระยะสัน้ อย่ าง เงินกู้ยืมระยะสัน้ เพื่อนามาลงทุนหรื อให้ เงินกู้แก่ สมาชิก
ระยะยาว และถ้ าไม่ สามารถกู้เงินระยะสัน้ ต่ อไปได้ เรื่ อยๆ ก็อาจนาไปสู่ปัญหาการขาดสภาพคล่ องได้

การกเ้ ู งินต่อเรือ่ ยๆ

หนี้สินระยะสัน้
ระยะเวลา
สินทรัพย์ระยะสัน้
ให้กย้ ู ืม/
ลงท ุนระยะยาว

เงินที่ได้กลับจากการปล่อยกร้ ู ะยะยาว

34

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 35

การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องน้อยเกินไป
การดารงสินทรั พย์ สภาพคล่ องไว้ ในระดับขัน้ ต่าโดยไม่ คานึงถึงภาวะความผันผวนของการถอนเงินหรื อการเพิ่มขึน้ ในอนาคตอาจ
ก่ อให้ เกิดปั ญหาการขาดเงินสดที่รองรั บการถอนเงิน

ความผันผวนของการถอนเงิน

ยอดคงค้างเงินฝาก
และหุน้
สภาพคล่องที่ตอ้ งจัด
เตรียมไว้

สภาพคล่องที่ตอ้ งจัด
เตรียมไว้ขนั้ ตา่

35

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 36

คุณภาพของสินทรัพย์สภาพคล่อง
การวิเคราะห์ ส่วนใหญ่ จะมุ่งเน้ นไปที่ความเพียงพอของปริมาณสินทรั พย์ สภาพคล่ อง มักจะละเลยวิเคราะห์ ด้านคุณภาพของสินทรั พย์
เหล่ านัน้ โดยเฉพาะถ้ าสินทรั พย์ เหล่ านัน้ เป็ นลูกหนีท้ ่ มี ีการกู้ยืมเงินต่ อ (roll over) ไปเรื่ อยๆ หรื อ กรณีท่ ลี งทุนในหุ้นหรื อ
ตราสารที่มีความเสี่ยงการลดลงของราคาเมื่อขาย

มูลค่าสินทรัพย์สภาพคล่องต่า
แปลงเป็นเงินสด
ช่วงก่อนแปลง

หลังแปลง

36

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 37

CAMELS

มิติ L : สภาพคล่อง

1 สภาพคล่อง
ทางการเงิน
อัตราส่วนท ุนหมุนเวียน
……..เท่า

2 ร้อยละของสินทรัพย์
หมุนเวียน
 เงินสด
..%
เงินฝากธนาคาร/สหกรณ์ ..%
ล ูกหนี้ระยะสัน้
..%
หลักทรัพย์/ตราสาร/หน้ ุ ..%
สินค้า
..%
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นๆ ..%

3 ร้อยละของหนี้สิน
หมุนเวียน

4 ระยะเวลา
อาย ุเฉลี่ยของสินค้า ..วัน

- เจ้าหนี้เงินกร้ ู ะยะสัน้ ...%
- เจ้าหนี้การค้า
...%
- เงินรับฝาก
...%
- เงินค้างจ่ายและอื่นๆ ...%

อัตราล ูกหนี้ระยะสัน้ ที่ชาระหนี้ได้ตาม
กาหนดต่อหนี้ถึงกาหนดชาระ ...%
37

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 38

การวัดสภาพคล่องของธุรกิจการเงิน
การวิเคราะห์ สภาพคล่ องจะเน้ นไปที่การดารงสภาพคล่ องและการกู้ยืมที่เกินกาลังขององค์ กร

อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง
อัตราส่วนที่ใช้วดั
อัตราส่วนการดารงสภาพคล่อง
(liquidity reserve ratio)

สินเชือ่ ต่อการออม
(loan to deposit ratio)

สูตรอัตราส่วน

ระดับคุณภาพโดยรวม

เงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสัน้
ทุนเรือนหุน้ + เงินรับฝาก + เจ้าหนีร้ ะยะสัน้

ยอดสินเชือ่ คงค้างทัง้ หมด
เงินออม (ทุนเรือนหุน้ + เงินฝาก)

38

> 5%

< 100%-120%

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 39

การวัดสภาพคล่องของธุรกิจทัว่ ไป
การวัดสภาพคล่ องจะเน้ นที่สินทรั พย์ หมุนเวียนและรอบการเปลี่ยนเป็ นเงินสด

อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง
อัตราส่วนที่ใช้วดั
สินทรัพย์หมุนเวียน
(current ratio)

สินทรัพย์หมุนเวียน
(quick ratio)

สูตรอัตราส่วน
ทรัพย์สินหมุนเวียน
หนีส้ ินหมุนเวียน

>1.1 เท่า

ทรัพย์สินหมุนเวียน - สินค้าคงคลัง
หนีส้ ินหมุนเวียน
ลูกหนีก้ ารค้า
ขาย/365

> 0.6 เท่า

> 50-60 วัน

+

รอบของการเปลี่ยนเป็นเงินสด
(cash conversion cycle)

ระดับคุณภาพโดยรวม

สินค้าคงเหลือเฉลี่ย
ต้นทุนขาย/365

เจ้าหนีก้ ารค้า
ขาย/365

39

>30 -40 วัน ค้าปลีก
>60-90 วัน ค้าส่ง

ควรสอดล้องกับ
ระยะเวลาสินท้าคงคลัง
ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 40

CAMELS มิติ M
1 โครงสร้างธุรกิจ
 จานวนสมาชิก ….คน
 ขนาดสหกรณ์ …..
 ธ ุรกิจสหกรณ์

• รับฝากเงิน .. บาท/ลบ. …%
• ให้กเ้ ู งิน .. บาท/ลบ. …%
• จัดหาสินค้า ..บาท/ลบ. …%
• รวบรวมผลิตผล..บาท/ลบ. ..%
• ให้บริการ ...บาท/ลบ. ...%
มูลค่าธ ุรกิจรวม ....ลบ./ปี
.... ลบ./เดือน
การเติบโตของธ ุรกิจ … %

: ขีดความสามารถในการบริหาร

การบริหารจัดการ

ขีดความสามารถ/
สมรรถนะของคณะ
กรรมการและฝ่าย
จัดการ

2 การบริหารงานและ
การควบคุมภายใน
-การปฏิบต
ั ต
ิ ามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มี / ไม่มี
- จัดหาผูป
้ ฎิบต
ั งิ านทีม
่ ค
ี วามรูค
้ วาม
สามารถเหมาะสมกับงาน

มี / ไม่มี

- การแบ่งส่วนงานและการกาหนด
หน้าทีค
่ วามรับผิดชอบ

มี / ไม่มี

- การจัดทาบัญชีและเอกสารหลักฐาน

3

แนวโน้มปีหน้า

- สมาชิกเพิ่ม(ลด) …%

- ท ุนเพิ่ม(ลด)
…%
- ธ ุรกิจเพิ่ม(ลด) …%
- กาไรเพิ่ม(ลด) ....%

40

มี / ไม่มี

- การตรวจสอบกิจการ

มี / ไม่มี

- การทาแผนและงบประมาณ

มี / ไม่มี

- การติดตามประเมินผล

มี / ไม่มี

- ชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ระดับ ....
*จัดทางบการเงิน

ได้ / ไม่ได้

*จัดจ้าง / ไม่จัดจ้างเจ้าหน้าทีบ
่ ญ
ั ชี

.....
.....

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 41

CAMELS มิติ S

: ผลกระทบของธุรกิจ

ความเสี่ยง
ผลกระทบของธ ุรกิจ
ปัจจัยเสี่ยง
• ภาวะคูแ่ ข่งทางธ ุรกิจ
• อัตราดอกเบี้ย/ราคาสินค้า
• นโยบายการเงินของรัฐ
• นโยบายช่วยเหลือของภาครัฐ
• ระเบียบ ข้อบังคับ พรบ.ที่เกี่ยวข้อง
• สภาพตลาด/เทคโนโลยี/วิทยาการใหม่ๆ
• ภัยธรรมชาติ
ฯลฯ
41

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ


Slide 42

42

ดร.ประพันธ์ วงศ์ บางโพ และ ชู ชาติ เมสั นธสุ วรรณ