Financial Literacy(150955)

Download Report

Transcript Financial Literacy(150955)

1
บทที่ 1
2
การเปลี่ยนแปลงที่ 1: สังคมเข้ าสูย่ คุ ผู้สงู วัย (Aging Society) [ปี 2552: ประชากร 63.5 ล้ านคน]
“จำนวนประชำกรสู ง
วัยเพิม่ ปริมำณขึน้
“จำนวนเด็กเกิดใหม่ มี
ปริมำณลดลง”
•ปริมาณคนทางานเพือ
่ ส่งภาษี
ให้รัฐจะน้อยลง รัฐมี
งบประมาณน้อยลง
• รัฐอาจจะไมสามารถจั
ดสรร
่
สวัสดิการตางๆ
เพือ
่ ดูแล
่
ประชาชนไดมากตามต
องการ
้
้
• คาถาม ใครจะเลีย
้ งดูเราเมือ
่
เราสูงวัย
“วัยทำงำนมี
ปริมำณลดลง”
จานวนประชากรแยกตามอายุ เปรี ยบเทียบปี
ที่มา สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ
2543
และ 2552
อัตตา หิ อัตตโน นาโถ แปล
ว่า "ตัวพึง่ ตัว" แน่, ถ้ าบิดผัน
เป็ นอื่นไป วนเวียน พาเหียรครัน
พึง่ เขานัน้ ไม่ "หนึง่ " เหมือนพึง่ ตัว ฯ
พุทธทาส ภิกขุ
ปริ มาณสมาชิกในครอบครัวเฉลี่ย
3
การเปลี่ยนแปลงที่ 2: อายุขยั เฉลี่ยสูงขึ ้น
เราอาจจะมี
อายุอีกกว่ า
20 ปี หลัง
เกษียณ
เราสะสมไว้
เพียงพอ
หรือไม่
ประมาณการอายุขยั เฉลีย่ ของประชากรไทย
ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ
4
สภาพความเป็ นจริ งของสังคมไทยปั จจุบนั นี ้: 3 เพิ่ม (รายได้ เพิ่ม รายจ่ายเพิ่ม หนี ้สินเพิ่ม)
ที่มา สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ
5
ข้ าราชการที่เป็ นหนี ้
เฉลี่ยรวมข้ าราชการทุกประเภท/ทุกตาแหน่ งมีหนี ้ 84% เฉลี่ย 872,388 บาท/ครอบครั ว
กลุ่มที่มีหนีส้ ูง
ปฏิบตั ิการ
ชานาญการ
“ทัว่ ไป”
อาวุโส ปฏิบตั ิการ ชานาญการ ชานาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ ทรงคุณวุฒิ
“วิชาการ”
ผลสารวจภาวะการครองชีพของข้ าราชการพลเรื อนสามัญ พ.ศ. 2553
ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ
ระดับต้ น ระดับสูง
“อานวยการ”
ระดับต้ น ระดับสูง
“บริหาร”
สิ่งที่อาจจะเกิดขึ ้นกับเรา หลังเกษียณ
สถานะการมีเงินเก็บออมของผู้สงู อายุ
“ประมาณ 50% ของผู้สงู อายุทกุ กลุม่
มีเงินออมไม่ถึง 200,000 บาท”
สภาพความเป็ นอยู่
รายงานสารวจประชากรสูงอายุไทยปี 2550 ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ
7
ด้ วยเหตุนีเ้ ราจึงต้ อง
“วางแผนทางการเงิน”
$
$
$
และ
“การวางแผนทางการเงินคือ
การวางแผนชีวิต”
“If you don't know where you are going, you'll end up someplace else.
Yogi Berra”
8
“เป้าหมายสาคัญแห่งชีวิต”
Wealth
“ความมัง่ คัง่ ”
Peace of Mind
“ความสงบ”
Happiness
“ความสุข”
Health
“สุขภาพ”
“สี่เป้าหมายสาคัญแห่งชีวิต ต่างมีผลต่อกันและกันไขว้ กนั
ไป ไขว้ กนั มา ขาดความมัง่ คัง่ ก็ไร้ ความสุข มีความมัง่ คัง่
ไร้ สขุ ภาพแข็งแรงก็มีความทุกข์... เป็ นสัจธรรม”
9
ปิ รามิ
ด
แห่งการวางแผนทางการเงิน
• ออมเพิ่ม
• ลงทุน
• บริหารความเสี่ยง
• วางแผนเพื่อการเกษียณ
• มรดก
ลงทุนเสี่ยงสูง
Wealth
Distribution
กระจายทรัพย์
Wealth
Accumulation
สะสมทรัพย์
Wealth
Protection
สร้ างฐานให้ แข็งแกร่ง
(รายได้ > รายจ่าย)
ลงทุนเสี่ยงต่า
• ทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย
• บริหารหนี ้
• ลดรายจ่าย
• เพิ่มรายได้
“ปิ รามิดแห่งการวางแผนทางการเงิน เป็ นหลักการอมตะ เริ่มต้ นจากการสร้ างฐานการเงินให้ แข็งแกร่ง จากนันน
้ าสู่
การสะสมทรัพย์ด้วยการออม, ลงทุน, บริหารความเสี่ยง และบริหารเงินเพื่อการเกษี ยณ เพื่อสุดท้ ายเราจะมีความมัง่
คัง่ เพียงพอเพื่อส่งต่อให้ ลกู หลานหรื อผู้ที่ต้องการต่อไป”
10
บทที่ 2
11
12
“สร้าง
ครอบครัว”
“เจ็บป่วย
ฉุ กเฉิน”
“สร้างฐานะ”
“การศึ กษา”
“ดูแลบิดามารดา”
“การออมคือการสะสมเงินเพือ
่
ประโยชนในอนาคต
และยามฉุ กเฉิน
์
ตาม” “การออม ไมใช
่ ่ การอด” การ
ออมคือการไดใช
้ ้เงินแน่นอน แตเป็
่ น
การใชเมือ
่ จาเป็ นในอนาคต
ต่ อตนเอง
ต่ อครอบครัว
ต่ อประเทศ
เป็ นหลักประกันขณะทำงำน (กรณี ทำให้สมำชิกในครอบครัวรู้สึก
ทำให้เศรษฐกิจหมุนเวียน
ว่ำงงำนฉุกเฉิ น)
มัน่ คงทำงจิตใจ และมัน่ คงทำงกำร
เงิน
มีทุนประกอบอำชีพเสริ ม หรื อ
เปลี่ยนอำชีพ (หำกต้องกำร)
มีพลังเปิ ดประตูสู่อนำคตของบุตร ไม่เป็ นภำระสังคม
หลำน
มีสำรองไว้ใช้ซ้ือสิ่ งจำเป็ น
เป็ นที่พ่ งึ ของสมำชิกในครอบครัว
กรณี ฉุกเฉิ น
มีเงินไว้ใช้หลังเกษียณ
เป็ นมรดกให้ลูกหลำนต่อไป
หน้ า: 14
สูตรออมให้ พอ
• 1/10 x อายุปัจจุบนั x รายได้
ตลอดปี
• หา 1 เดือน ใช้ เดือนครึ่ง เก็บครึ่ง
เดือน
ควำมมัง่ คัง่
เคล็ดลับการออม
“ออมเท่าไรก็ได้ แต่ต้อง
ออมเดี๋ยวนี ้!”
ระยะเวลาที่ออมได้
ระยะตั้งตัว
(Accumulation)
25
35
ช่วงสะสมควำมมัง่ คัง่
(Consolidation)
45
ช่วงใช้จ่ำยและเป็ นผูใ้ ห้
(Spending & Gifting)
55
วัฎจักรควำมมัง่ คัง่ ส่ วนบุคคล ที่มำ: Reilly, Frank K. and Brown, Keith C. Investment Analysis and Portfolio Management, P. 39
65
อำยุ
75
85
4. อุปสรรคที่ทาให้ ไม่ สามารถออมได้ ตามแผนที่วางไว้
• แก่แล้ วใครจะเลี ้ยง
• เงินไม่พอใช้ จะทา
อย่างไร
• ถ้ าป่ วยด้ วย จะเอา
เงินที่ไหนรักษา ฯลฯ
“ชีวิตเต็มไปด้ วยความไม่แน่นอน เป้าหมายสัน่ คลอน” และ “ชีวิต
หลังเกษียณยังมีเส้ นทางให้ เดินอีกยาวไกล”
เหตุการณ์ไม่คาดฝั น
สร้ างรายจ่ายให้ ชีวิต
เกิดขึ ้นได้ เสมอ
ภาระค่าใช้ จา่ ยจาเป็ น
เกิดขึ ้นตลอดเวลาเพื่อ
สร้ างสมดุลให้ ชีวิต
อยากไปเที่ยว
ผ่อนบ้ าน
แต่งงาน
ป่ วย
ซื ้อรถ
เริ่ม
ทางาน
อยากเป็ นที่พงึ่ ของ
ลูกหลาน
เป็ นทังสี
้ สนั และ
ค่าใช้ จา่ ยแห่งชีวิต
35 ปี
เกษี ยณ
25 ปี
ป่ วย
วันสุดท้ าย
ของชีวิต
กราฟแสดงสถานะทางการเงินที่
มักผันผวนไม่สมดุลระหว่าง
รายรับรายจ่ายของคนทางาน ทางาน + 35 ปี ต้ องบริหารเงิน
ให้ เป็ นจึงจะมีพอใช้ และสารอง
ทัว่ ไป
สาหรับอีก + 25 ปี หลังเกษี ยณ
16
5. ทางเลือกในการออม
ทางเลือกที่ 1: ใช้ ก่อนออม
• ข้ อดี: ได้ ใช้ จ่ายสบายใจ เหลือ
เท่าไรค่อยออม
• ข้ อเสีย: มักไม่คอ่ ยเหลือออม มักมี
ข้ อแก้ ตวั ให้ กบั รายจ่าย, อาจมี
ปั ญหาเงินไม่พอใช้ ในอนาคต
ทางเลือกที่ 2: ออมก่ อนใช้
• ข้ อดี: ได้ ออมแน่ๆ, เงินออมสามารถ
นาไปหมุนเวียนสร้ างรายได้ เพิ่ม, มัน่ ใจว่า
จะมีปัญหาทางการเงินในอนาคตน้ อย
หรื อไม่มีเลย
• ข้ อเสีย: อาจจะรู้สกึ อึดอัดที่มีเงินเหลือใช้
วันนี ้ จากัด
รายได้
-
รายจ่ าย
=
เงินออม
รายได้
-
เงินออม
=
รายจ่ าย
6. เคล็ดลับแก้ ปัญหา “ออมไม่ พอ”
• เพิ่มรายได้
• ไม่มีอะไรได้ มาฟรี ต้ องลงทุน ลงแรง (มีฝีมือ)
• ฝึ กอบรมอาชีพกับกบข.
• ลงทุนทางการศึกษา ทาให้ มีโอกาสมีรายได้ เสริ ม (อาทิ สอนหนังสือ)
• ลดรายจ่ าย
• ฉลาดซื ้อ
• ซื ้อเฉพาะที่จาเป็ น
• ซื ้อสินค้ าที่ต้นทุนต่อหน่วยต่า
• ฉลาดใช้
• ประหยัด
• ดูแลของใช้ ให้ อยู่ในสภาพดี
• ฉลาดใช้ ชีวิต
• ซื ้อ/ใช้ สินค้ าในปริ มาณที่เหมาะสม ราคาพอควร
• ดูแลร่างกายให้ สขุ ภาพแข็งแรง (ลดค่าใช้ จ่ายรักษาพยาบาล)
• แต่ต้องมีความสุข อย่าทรมานตนเอง
7. เงินเฟ้อ “ศัตรูสาคัญของการออม”
นิยาม เงินเฟ้อคือการที่เราต้ องใช้ เงินมากขึ ้นในการซื ้อสินค้ าเท่าเดิม
ข้ อควรทราบเกี่ยวกับเงินเฟ้อ
• เงินเฟ้อคือศัตรูบนั่ ทอนค่าเงิน
• กาจัดไม่ได้ เพราะเกิดจากระบบการเงินที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ไม่ได้ เกิดจากผู้ออม
• วิธีเอาชนะเงินเฟ้อคือต้ องนาเงินออมไปลงทุนให้ ได้ ผลตอบแทนที่มากกว่าอัตราเงินเฟ้อ
9. บัญชีรายรั บ-รายจ่ าย “กลไกควบคุม กลไกช่ วยออม”
“ทดลองทาบัญชีรายรับ-รายจ่ายกับ K-weplan”
https://www.k-weplan.com/ArticleFree.aspx?articleid=3082
บทที่ 3
21
สาระสาคัญ “เป็ นหนี.้ ..ให้ เป็ น”
•สารวจตัว...สารวจหนี ้....ให้ เป็ น
•บริหารหนี ้....ให้ เป็ น
•จัดสรรประโยชน์จากหนี ้....ให้ เป็ น
หน้ า: 22
สารวจตัว...ให้ เป็ น
มีเงินเก็บ
1. ไม่ มีหนีส้ ิน / มีเงินเก็บ
2. ไม่ มีหนีส้ ิน / ไม่ มีเงินเก็บ
3. มีหนีส้ ิน / ไม่ มีเงินเก็บ
มีหนีส้ ิน
สารวจหนี ้...ให้ เป็ น
หนีท้ ่ ีไม่ สร้ างรายได้
1. หนี ้สินจาเป็ น และหลีกเลี่ยงไม่ได้ – ค่าอยู่ ค่ากินประจาวัน
2. หนี ้สินที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ – ค่าเทอม ค่ารักษาพยาบาล
3. หนี ้สินไม่จาเป็ นและสามารถหลีกเลี่ยงได้ - สินค้ าฟุ่ มเฟื อยทุกอย่าง
หนีท้ ่ ีสร้ างรายได้
1. หนี ้สินที่เป็ นทรัพย์สิน – กู้ซื ้อบ้ าน ที่ดิน
2. หนี ้สินที่เป็ นการลงทุน – กู้เงินมาทาธุรกิจ
บริ หารหนี ้...ให้ เป็ น
หนีย้ อดนิยม
หนี ้บัตรเครดิต
หนี ้รถ
หนี ้บ้ าน
การบริ หารหนี ้...ให้ เป็ น
1. ร่วมด้ วยช่วยกัน! ใช้ หนี ้
2. หยุดรูด หยุดกด เดี๋ยวนี ้!!
3. สรุปหนี ้ทังหมด
้
4. รวมหนี ้ไว้ ที่บตั รใบเดียวที่ดอกต่าสุด
5. เคลียร์ บตั รดอกสูงทันที
6. ขายสินทรัพย์ที่ไม่จาเป็ น เพื่อลดหนี ้
7. เพิ่มรายได้ ใช้ ลาแข้ งล้ างหนี ้
8. ออม 5% ของเงินเดือน เผื่อฉุกเฉิน
9. ใช้ เงินสด เงินหมด งดซื ้อ
10. ถ้ ายังไม่ไหว ต้ องประนอมหนี ้ ไม่หนีปัญหา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ขอลดยอดหนี ้ลงบางส่วน
ขอขยายเวลาการชาระหนี ้ 1-2 ปี
ขอลดจานวนเงินที่ต้องผ่อนในแต่ละงวด
ขอให้ คดิ อัตราดอกเบี ้ยปกติที่ไม่ผิดนัด
ขอหยุดดอกเบี ้ย และไม่คดิ ดอกเบี ้ยระหว่างที่ผอ่ นชาระ
ขอลดหย่อนค่าธรรมเนียมหรื อค่าปรับกรณีผิดนัดชาระ
เป็ นหนี ้บัตรเครดิต...ให้ เป็ น
1. ใช้ บตั รเครดิตใบเดียว และกาหนดใช้ แค่
15-20%
ของรายได้
2. จ่ายยอดค้ างชาระให้ หมดทุกครัง้
3. ห้ ามจ่ายผิดนัด
4. ถ้ าทาไม่ ได้ ....อย่ ารูด!!!
ใช้ บตั รเครดิต...ให้ เป็ น
ใช้ บัตรเครดิตแล้ วดี เพราะ....
1. ยืดระยะเวลาการจ่ายเงินสด
2. รับส่วนลดพิเศษ ที่มากกว่า
3. สะสมคะแนนแลกของรางวัล
4. ผ่อนชาระ 0%
5. ได้ เงินคืน Cash Back
6. สิทธิพิเศษอื่น ๆ เช่น ที่จอดรถ เลขาส่วนตัว รถลิมซู ีน
เป็ นหนี ้รถ...ให้ เป็ น
•
•
•
•
•
•
•
เลือกรถที่เราผ่อนไหว อย่าเลือกรถที่เราอยากได้
สามีและภรรยา เงินเดือนรวมกัน 50,000 บาท อยากได้ รถเก๋งเล็ก ๆ สักคัน ราคา 500,000.ต้ องเตรียมเงินดาวน์ 25% = 125,000 บาท ไม่ มี ไม่ ซอื ้ !!
ยอดจัด 375,000 บาท ดอก 2.5%
ถ้ าผ่อน 5 ปี จ่าย 7,032 บาท/เดือน ถ้ าผ่อน 3 ปี จ่าย 11,198 บาท/เดือน
เช็คให้ ชวั ร์ ว่าสามารถผ่อนต่อเดือน 25-30% ของรายได้ = 12,500-15,000 บาท
ผ่ อนไม่ ไหว อย่ าซือ้ !!
ต้ องสารองเงินสดไว้ 10-20% ของราคารถ = 50,000-100,000 บาท
เผื่อกรณีฉกุ เฉิน (ซ่อมรถ ตกงาน เสียชีวิต) รถจะได้ ไม่หลุด ไม่ มี ไม่ ซอื ้ !!
เป็ นหนี ้บ้ าน...ให้ เป็ น
•
•
•
สามีและภรรยา เงินเดือนรวมกัน 50,000 บาท x 30 = สามารถซื ้อบ้ านราคา 1.5 ล้ านบาทได้
ต้ องมีเงินเก็บ 40% ของราคาบ้ าน = 600,000 บาท ไม่ มี ไม่ ซอื ้ !!
เพื่อจ่ายเงินดาวน์ 25% ของราคาบ้ าน
เพื่อจ่ายส่วนที่ขาดจากการประเมินของธนาคาร ประมาณ 10-15%
เพื่อเป็ นเงินผ่อนรายเดือนในกรณีตกงาน หรื อเสียชีวิต
เช็คให้ ชวั ร์ ว่าสามารถผ่ อนต่ อเดือน 25-30% ของรายได้ = 12,500-15,000 บาท
ไม่ ชัวร์ ไม่ ซอื ้ !!
จัดสรรประโยชน์จากหนี ้...ให้ เป็ น
1. กู้ซื ้อบ้ านเพิ่มรายได้
2. เช่าซื ้อรถเพิ่มรายได้
3. กู้เงินต่อยอดธุรกิจ
กู้ซื ้อบ้ าน สร้ างรายได้ ...ให้ เป็ น
กู้ซื ้อทาวน์เฮ้ าส์ 1 ล้ านบาท
จ่ายดาวน์ไป 250,000 บาท
ยอดจัด 750,000 ผ่อน 20 ปี
จ่ายเงินต้ นรวมดอกเบี ้ย เดือนละ 4,000 บาท
ดัดแปลงเป็ นห้ องพักพร้ อมเฟอร์ นิเจอร์ ให้ เช่าได้ 3 ห้ อง
ปล่อยเช่าห้ องละ 2,000 บาทต่อเดือน
ได้ อะไร!!
1. ได้ บ้านฟรี มีคนจ่ายให้
2. ได้ กาไร 2,000 บาท ทุกเดือน
3. วันเวลาผ่านไป กลายเป็ นทาเลทอง อาจขยับราคาเช่าได้ อีก
4. ปล่อยขาย ได้ กาไร เพราะบ้ านราคาไม่ตก
เช่าซื ้อรถ เพิ่มรายได้ ...ให้ เป็ น
เช่าซื ้อรถมอเตอร์ ไซค์ คันละ 50,000 บาท
• ต้ องเตรียมเงินดาวน์ 25% = 12,500 บาท ไม่ มี ไม่ ซอื ้ !!
• ยอดจัด 37,500 บาท ดอก 2.5%
• ถ้ าผ่อน 5 ปี จ่าย 703 บาท/เดือน ถ้ าผ่อน 3 ปี จ่าย 1,120 บาท/เดือน
• เช้ า ๆ ขี่ไปทางาน ตกเย็นเลิกงาน เข้ าวินเสริ มรายได้ 2 ชัว่ โมง ได้ 200 บาท
1 เดือน ได้ 4,000 บาท
ได้ อะไร!!
1. มีมอเตอร์ ไซค์ใช้ ทกุ วัน
2. ผู้โดยสารช่วยจ่ายค่ารถ ค่าน ้ามันให้ ทกุ เดือน
3. มีเงินเก็บ
กู้เงินต่อยอดธุรกิจ...ให้ เป็ น
ไม่มีหนี ้!! แต่ก้ เู งินจากธนาคาร 1,000,000 บาท ดอกเบี ้ยปี ละ 10%
1 ปี ต้ องจ่ายดอกเบี ้ยให้ ธนาคาร 100,000 บาท
ปรับปรุงร้ านขายส้ มตาเล็ก ๆ บนเขาใหญ่
ขยายเป็ นร้ านอาหารสุดฮิป ใจกลางเขาใหญ่
ร้ านสวย บรรยากาศดี ดนตรี ไพเราะ คนตรึม
ทากาไรจากวันละ 300 กลายเป็ น 3,000 บาท
รับเนื ้อ ๆ เดือนละ 100,000 บาท
ได้ อะไร!!
ครบ 1 ปี ก็จ่ายเงินต้ น และดอกเบี ้ย ให้ กบั ธนาคารครบถ้ วน
ธุรกิจร้ านอาหารเป็ นของเราภายในปี เดียว ด้ วยเงินคนอื่น
บทที่ 4
35
36
“การออม = การฝาก
เงิน”
การออม ไม่ ใช่ การฝาก
เงิน แต่เป็ น การลงทุน
เพื่อผลตอบแทน
(ดอกเบี ้ย เงินปั นผล
กาไรหรื อขาดทุนจากการ
ลงทุน)
“การออม = การลงทุน
เพื่อผลตอบแทน”
37
กำรออม
วิธีกำร
เป็ นกำรสะสมเงินเพื่อให้พอกพูนใน
ระยะสั้น เผือ่ ไว้ใช้จ่ำยยำมฉุกเฉิ น
ฝำกธนำคำร
ควำมเสี่ ยง
ต่ำ
ผลตอบแทน
ดอกเบี้ย
ข้ อได้ เปรียบ
ข้ อเสี ยเปรียบ
สภำพคล่อง
ผลตอบแทนต่ำอำจไม่ชนะเงินเฟ้ อ
วัตถุประสงค์
กำรลงทุน
เพื่อเป็ นกำรสะสมเงินให้งอกเงยต่อเนื่อง
ในระยะยำว
ลงทุนในพันธบัตร หุน้ กู้ หุน้ กองทุนรวม
กองทุนส่ วนบุคคล กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
มำกน้อยตำมประเภทและลักษณะของ
หลักทรัพย์ที่ลงทุน
ดอกเบี้ย เงินปั นผล และ/หรื อ ผลกำไร
หรื อ ขำดทุนจำกกำรลงทุน
ผลตอบแทนในระยะยำวสูงกว่ำ
มีโอกำสขำดทุนจำกกำรลงทุนระยะสั้นได้
38
39
700
600
500
400
300
200
100
0
เงินต้ น 100 บาท ดอกเบี ้ย 10%/
ปี เป็ นระยะเวลา 20 ปี
ดอกเบี ้ยของ
ดอกเบี ้ย …
เพิ่มเป็ นทวีคณ
ู
ดอกเบี ้ยสะสมที่
เกิดจากเงินต้ น
เงินต้ นเดิม
ดอกเบี ้ยจากเงินต้ นปี แรกทบกับเงินต้ นเดิมกลายเป็ นเงินต้ นปี ที่สอง
40
60,000
50,000
เงินต้ น 10,000 บาท และ 20,000 บาท
ดอกเบี ้ย 10%/ปี เป็ นระยะเวลา 10 ปี
51,875
40,000
30,000
25,937
20,000
10,000
0
“ออมมากเท่าใด ก็เป็ นการสร้ างฐานให้ ใหญ่มากขึ ้นเท่านัน”
้
41
70,000
60,000
เงินต้ น 10,000 บาท ดอกเบี ้ย 10%/ปี
เป็ นระยะเวลา 20 ปี
67,275
50,000
40,000
30,000
25,937
20,000
10,000
0
ไม่วา่ จะดอกเบี ้ยน้ อยดอกเบี ้ยมาก ยิ่งออมนานจะช่วยทวีคณ
ู ของดอกเบี ้ย
42
เงินต้ นกับดอกเบี ้ยทบต้ น 2%
149
140
120
เงินต้ นรวมดอกเบี ้ยหักเงินเฟ้อ
100
100
140
80
120
60
100
100
40
80
20
55
60
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
40
10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
20
0
1
เงินต้ นหักเงินเฟ้อ 5%
140
120
100
100
80
60
38
40
20
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
2
3
4
5
6
7
8
9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
การฝากเงินธนาคารไม่สามารถ
ชนะเงินเฟ้อได้ ต้ องลงทุนให้ ได้
ผลตอบแทนสูงกว่า มิฉะนัน้
มูลค่าเงินจะด้ อยค่าลง
43
การลงทุนทั่วไป
เงินทุน + เครื่ องจักร + แรงงาน
สินค้ า
รายได้ /กาไร
กิจการออก หุ้น หุ้นกู้ ตราสารหนี ้ (รัฐ) ฯลฯ
การลงทุนทางการเงิน คือการลงทุนในสินทรัพย์ทาง
การเงินของกิจการเสมือนว่าเรา Outsource การผลิต
และการจัดการให้ ผ้ อู ื่นทา รายได้ และกาไร (ขาดทุน)
ของกิจการจะถูกจัดแบ่งให้ เราตามสัดส่วนที่เราลงทุน
44
หลักทรัพย์
บุคคลธรรมดำ
1 หุ้น
ได้
2 พันธบัตรรัฐบำล / หุ้นกู้
ได้
3 พันธบัตรออมทรัพย์
ได้ – มีข้ นั ต่ำ
หรื อผ่ำนกองทุน
ได้
4 อสั งหำริมทรัพย์
ได้
ได้
5 กำรลงทุนในต่ ำงประเทศ
ได้ หรื อผ่ำน
กองทุน
ได้
นิตบิ ุคคล /
สถำบัน
ได้
ได้
45
1.
จุดประสงค์: ต้ องการเป็ นหุ้นส่วนในกิจการนันๆ
้ หากประสบผลสาเร็จก็จะได้ กาไร
ด้ วย แต่หากล้ มเหลวก็จะขาดทุนด้ วย
2.
ผลตอบแทน: อยู่ในรูปของเงินปั นผล และกาไรจากการเพิ่มมูลค่าในตัวหุ้นเนื่องจากมี
ผลประกอบการดีตอ่ งเนื่อง
3.
ความเสี่ยง: มีความผันผวนด้ านราคาสูง แต่ระยะยาวแล้ วให้ ผลตอบแทนที่ดี สามารถ
เอาชนะภัยเงินเฟ้อได้
4.
ช่วงเวลาลงทุน: เมื่อเศรษฐกิจดี ผลประกอบการก็จะดีตามส่งผลให้ ราคาหุ้นปรับตัว
สูงขึ ้น และราคาจะเริ่ มปรับลง เมื่อเศรษฐกิจกาลังจะเริ่ มถดถอย
46
1.
จุดประสงค์: เป็ นเจ้ าหนี ้ ต้ องการผลตอบแทนอย่างสม่าเสมอ
2.
ผลตอบแทน: อยู่ในรูปของกระแสดอกเบี ้ยรับ ส่วนต่างของราคาเมื่อซื ้อขายในตลาด
และผลตอบแทนจากดอกเบี ้ยรับ
3.
ความเสี่ยง: มีความผันผวนด้ านราคาอยู่ในระดับต่าถึงปานกลาง ได้ รับผลตอบแทน
ตามที่ได้ ตกลงไว้ เมื่อครบสัญญา หากลงทุนในหุ้นกู้เอกชน ก็จะได้ รับผลอบแทนที่
สูงขึ ้น แต่ก็อาจผิดการผิดนัดชาระเงินได้
4.
ช่วงเวลาลงทุน: เมื่อเศรษฐกิจดี ก็จะลดการลงทุนในส่วนนี ้ไปเพิ่มในการลงทุนหุ้น
และเมื่อเศรษฐกิจถดถอย ก็จะขายหุ้นและนามาลงทุนในตราสารหนี ้ การลงทุนใน
ทรัพย์สินทัง้ 2 ประเภทนี ้ถือว่าเป็ นการกระจายความเสี่ยงการลงทุน
47
1.
จุดประสงค์: เป็ นอีกทางเลือกหนึง่ ของการลงทุนตรงในทรัพย์สิน ที่ต้องการ
ผลตอบแทนอย่างสม่าเสมอ
2.
ผลตอบแทน: อยู่ในรูปของกระแสเงินสดจากค่าเช่า และในระยะยาวนันได้
้
ผลตอบแทนส่วนเพิ่มจากมูลค่าเพิ่มของอาคารและทีดิน
3.
ความเสี่ยง: มีความผันผวนด้ านราคาอยู่ในระดับปานกลาง เอาชนะเงินเฟ้อได้
เนื่องจากค่าเช่าสารถปรับตามภาวะเงินเฟ้อได้ และสามารถกระจายความเสี่ยงได้ อีก
ทางหนึง่ หากลงทุนร่วมกับหุ้นและตราสารหนี ้
4.
ช่วงเวลาลงทุน: ไม่มีสภาพคล่องเท่าที่ควร จาเป็ นต้ องลงทุนระยะยาว การลงทุนผ่าน
กองทุนรวมก็สามารถทาได้
48
โอกาสสร้ างผลตอบแทนสูง
การออมเพื่อการลงทุนต้ องคานึงถึง
1) ความเสี่ยงที่ยอมรับได้
2) ผลตอบแทน/ความสูญเสียที่คาดว่าจะ
ได้ รับและยอมรับได้
หุ้นต่ างประเทศ
หุ้นไทย
การบริหารจัดการการลงทุนที่สาคัญ
1) การกระจายความเสี่ยง และ
2) ระยะเวลาลงทุนที่นานพอ
การฝากเงิน
กับธนาคาร
พันธบัตร
ระยะสัน้
พันธบัตร
ระยะยาว
หุ้นกู้
เอกชน
อสังหาริมทรัพย์
ความเสี่ยงสูง
บทที่ 5
50
51
หน้ า: 52
• เพราะยังคงต้ องมีภาระใช้ จ่ายหลังเกษี ยณ แม้ วา่ เราจะเกษี ยณจากงานแล้ ว ไม่ได้
แสดงว่าเราจะเกษี ยณการลงทุน ไม่ใช่วา่ จะใช้ เงินออมของตนเองอย่างเดียว
•เพราะเงินออมอาจหมดไปได้ ภายในไม่กี่ปี หากใช้ ไปเรื่ อยๆ โดยไม่มีการจัดการ
หรื อการวางแผนการเงิน
•เพราะ ณ ปั จจุบนั เราอาจะมีเงินสะสมไว้ น้อยเกินไป อาจต้ องเร่ง “ออมเพิ่ม” จะ
ได้ มีเงินพอใช้ หลังเกษี ยณ
•การวางแผนการเงินเพื่อการเกษี ยณจะทาให้ เราสามารถเลือกชีวิตหลังเกษี ยณได้
อย่างสุขสบาย ไม่เป็ นภาระกับลูกหลาน และยังสามารถเป็ นที่พงึ่ ของลูกหลานได้
อีกด้ วย
53
“ตองมี
้
• มีการคานวณสาหรับประมาณการเงินที่น่าจะทาให้ สามารถใช้ ชีวิตยามเกษี ยณ
ได้ อย่างมีความสุขทุกเดือนเป
คือ 50%-70%
ของเงินเดือนสุดท้ าย
้ าหมาย”
ตัวอย่ างเช่ น นายออมเพิ่มตังใจจะเกษี
้
ยณตอนอายุ 60 ปี และคาดว่าจะมีชีวิตอยู่
หลังเกษี ยณอายุไปอีก 20 ปี ถ้ านายออมเพิ่ม มีคา่ ใช้ จ่ายปั จจุบนั 30,000 บาทต่อ
เดือน ค่าใช้ จ่ายหลังเกษี ยณจะเท่ากับ 21,000 บาทต่อเดือน (70% x 30,000) หรื อ
ราวๆ 252,000 บาทต่อปี
54
• การสะสมเงินออมก่อนเกษียณ เช่น เงินออมส่วนตัว เงินออมกบข. ทรัพย์สินเดิม รายได้
ประจา รายได้ อื่น บานาญ หัก ภาระหนี ้ เป็ นต้ น
เงินและทรัพย์สนิ ที่มี
อยู่ในปั จจุบนั
เงินที่ต้องออม ผันแปรตามเงิน/
ทรัพย์สินปั จจุบนั และ
ระยะเวลาที่เหลือก่อนเกษี ยณ
ปั จจุบัน
เกษียณ
• คาดการณ์ภาระค่าใช้ จ่ายหลังเกษี ยณ คิดถึงเงินเฟ้อด้ วย
รวมแล้ วต้ องประมาณ 50-70% ของ
รายได้ ก่อนเกษียณ หรื อ 70-100%
ของรายจ่ายก่อนเกษียณ คูณ
ระยะเวลาก่อนวันสุดท้ ายของชีวิต
ปั จจุบัน
เกษียณ
เงินที่จะใช้ ในอนาคตจะมีมลู ค่าลดลงตาม
เงินเฟ้อ จานวนสารองไว้ จงึ ต้ องมากขึ ้นเมื่อ
เวลาผ่านไป
56
• ตรวจสอบความเพียงพอของเงินออมต่อภาระค่าใช้ จ่ายหลังเกษียณ
เงินและทรัพย์สนิ ที่มี
อยู่ในปั จจุบนั
เงินที่ต้องออม ผันแปรตามเงิน/
ทรัพย์สินปั จจุบนั และ
ระยะเวลาที่เหลือก่อนเกษี ยณ
ปั จจุบัน
รวมแล้ วต้ องประมาณ 50-70% ของ
รายได้ ก่อนเกษียณ หรื อ 70-100%
ของรายจ่ายก่อนเกษียณ คูณ
ระยะเวลาก่อนวันสุดท้ ายของชีวิต
เกษียณ
เงินที่จะใช้ ในอนาคตจะมีมลู ค่าลดลงตาม
เงินเฟ้อ จานวนสารองไว้ จงึ ต้ องมากขึ ้นเมื่อ
57
เวลาผ่านไป
• หากเงินออมไม่พอ
• ออมเพิ่ม
• ลดค่าใช้ จ่ายหลังเกษี ยณลง
• เพิ่มอายุเกษี ยณ
ปั จจุบัน
เงินที่ต้องออม ผันแปรตามเงิน/
ทรัพย์สินปั จจุบนั และ
ระยะเวลาที่เหลือก่อนเกษี ยณ
เกษียณ
ภาระค่าใช้ จ่ายหลังเกษียณ
58
• หากเงินออมพอ
• ลดอายุเกษี ยณ
ปั จจุบัน
เงินที่ต้องออม ผันแปรตามเงิน/
ทรัพย์สินปั จจุบนั และ
ระยะเวลาที่เหลือก่อนเกษี ยณ
เกษียณ
ภาระค่าใช้ จ่ายหลังเกษียณ
59
หมายเหตุ: การแบบประเมินนี ้เป็ นเพียงแบบประเมินอย่างง่ายเพื่อความเข้ าใจประกอบการบรรยายเท่านัน้ อาจมีความคลาดเคลื่อน เนื่องจากสมมติฐาน
เกี่ยวกับอัตราผลตอบแทน ประมาณการรายได้ อายุ ค่าใช้ จา่ ย และเงินเฟ้อ