Transcript Slide 1

นาม
โครงร่ างเนือ้ หาสาระ
• นามศัพท์
• ลิงค์
• วจนะ
• วิภัตติ
วจีวภิ าค
นาม
นาม
ศัพท์
ลิงค์
วจนะ
วิภตั ติ
การันต์
สังขยา
สัพ
พนาม
อัพพย
ศัพท์
อา
ขยาต
อุปสัค
วิภตั ติ
นิบาต
กาล
ปั จจัย
บท
วจนะ
บุรุษ
ธาตุ
ปั จจัย
วาจก
กิตก์
สมาส
ตัทธิต
สามัญญ
ตัทธิต
กิริยา
กิตก์
นามกิตก์
กาล
สาธนะ
กัมมาธารย
สมาส
ทิคุสมาส
ปั จจัย
ปั จจัย
ตัปปุริสสมาส
วาจก
วิเคราะห์
ทวันทวสมาส
เอกเสสสมาส
อัพพยีภาวส
มาส
พหุพพิหสิ มาส
ภาวตัทธิต
อัพพย
ตัทธิต
นาม
นามศัพท์
ลิงค์
1
วจนะ
วิภตั ติ
การั นต์
สังขยา
สัพพนาม
2
3
4
นามศัพท์
นามนาม
เรี ยกชื่อคน, สัตว์ , สิ่งของ (มนุสฺโส – มนุษย์ , นครํ – เมือง, สาวตฺถี – เมืองสาวัตถี)
คุณนาม
คําแสดงลักษณะของนามนาม
• ชัน้ ปกติ – ไม่ มีเครื่ องหมาย (ถูโล ปุริโส – บุรุษอ้ วน)
• ชัน้ วิเศษ – มี ตร, อิย, อิยสิ สฺ ก ปั จจัย (ถูลตโร – อ้ วนกว่ า, ปณฺฑติ ตโร –
ฉลาดกว่ า, พาลิโย – โง่ กว่ า)
• ชัน้ อติวเิ ศษ – มี ตม อิฏฺฐ ปั จจัย (ปณฺฑติ ตโม – ฉลาดที่สุด, พาลิฏฺโฐ - โง่
ที่สุด
นามศัพท์ ทัง้ ๓ นี ้ ต้ องประกอบด้ วย
สัพพนาม
ลิงค์ , วจนะ, วิภัตติ จึงจะนําไปใช้ ได้
คําแทนชื่อนามนามที่ออกชื่อมาแล้ ว
นาม
นามศัพท์
นามนาม
คุณนาม
สัพ
พนาม
ลิงค์
วจนะ
วิภตั ติ
การั นต์
สังขยา
สัพพนาม
ลิงค์
ลิงค์ คือ คําพูดที่บ่งถึงเพศของนาม ประกอบด้ วย
ปุํ ลิงค์ – เพศชาย
อิตถีลิงค์ – เพศหญิง
นปุํ สกลิงค์ – มิใช่ เพศชาย มิใช่ เพศหญิง
นามนามบางคาก็เป็ นได้ ลิงค์ เดียว บางคาเป็ นได้ ๒ ลิงค์ ส่ วนคุณนาม และสัพ
พนามศัพท์ เดียวเป็ นได้ ๓ ลิงค์
ลิงค์ โดยกาเนิด – ศัพท์ ท่ ีมีลิงค์ ตรง
ตามกาเนิด เช่ น พุทโฺ ธ (พระพุทธเจ้ า)
เป็ น ปุํ งลิงค์ โดยกําเนิด
ลิงค์ โดยสมมติ – ศัพท์ ท่ ีมีลงิ ค์ ไม่ ตรง
กาเนิด เช่ น ทาร (เมีย) เป็ นอิตถีลิงค์
แต่ แจกวิภัตติด้วย ปุํ งลิงค์
นามนามศัพท์ เดียว เป็ นลิงค์ เดียว
ปุํ ลิงค์
อิตถีลิงค์
นปุํ สกลิงค์
อมโร
เทวดา
อจฺฉรา
นางอัปสร
องฺค
องค์
อาทิจโฺ จ
พระอาทิตย์
อาภา
รั ศมี
อารมฺมณ
อารมณ์
อินฺโท
พระอินทร์
อิทธฺ ิ
ฤทธิ์
อิณ
หนี ้
อีโส
คนเป็ นใหญ่
อีสา
งอนไถ
อีริณ
ทุ่งนา
อุทธิ
ทะเล
อุฬุ
ดาว
อุทก
นา้
เอรณฺโฑ
ต้ นละหุ่ง
เอสิกา
เสาระเนียด
เอฬาลุก
ฟั กเหลือง
โอโฆ
ห้ วงนา้
โอชา
โอชา
โอก
นา้
กณฺโณ
หู
กฏิ
สะเอว
กมฺม
กรรม
จนฺโท
พระจันทร์
จมู
เสนา
จกฺขุ
นัยน์ ตา
ตรุ
ต้ นไม้
ตารา
ดาว
เตล
นา้ มัน
ปพฺพโต
ภูเขา
ปภา
รั ศมี
ปณฺณ
ใบไม้
ยโม
พระยม
ยาคุ
ข้ าวต้ ม
ยาน
ยาน
นามนามศัพท์ เดียว รูปเดียว เป็ นได้ ๒ ลิงค์
ปุํ ลิงค์
อกฺขโร
อคาโร
อุตุ
ทิวโส
มโน
สวจฺฉโร
นปุํ สกลิงค์
อกฺขร
อคาร
อุตุ
ทิวส
มน
สวจฺฉร
คําแปล
อักษร
เรื อน
ฤดู
วัน
ใจ
ปี
นามนามรูปเดียว แต่ เปลี่ยนสระที่สุด เป็ นได้ ๒ ลิงค์
ปุํ ลิงค์
อิตถีลิงค์
คําแปล
อรหา หรื อ อรหํ
อรหนฺตี
พระอรหันต์
อาชีวโก
อาชีวกิ า
นักบวช
อุปาสโก
อุปาสิกา
อุบาสก, อุบาสิกา
กุมาโร
กุมารี หรื อ กุมาริกา
เด็ก
ขตฺตโิ ย
ขตฺตยิ านี หรื อ ขตฺตยิ า
กษัตริย์
โคโณ
คาวี
โค
โจโร
โจรี
โจร
ญาตโก
ญาติกา
•
ญาติ
ตรุ โณ
ตรุ ณี
ชายหนุ่ม, หญิงสาว
เถโร
เถรี
พระเถระ, พระเถรี
ทารโก
ทาริกา
เด็กชาย, เด็กหญิง
คุณนามศัพท์ เดียว เป็ นได้ ๓ ลิงค์
ปุํ ลิงค์
อิตถีลิงค์
นปุํ สกลิงค์
คําแปล
กมฺมกาโร
กมฺมการินี
กมฺมการ
ทาการงาน
คุณวา
คุณวตี
คุณว
มีคุณ
จณฺโฑ
จณฺฑา
จณฺฑ
ดุร้าย
ตาโณ
ตาณา
ตาณ
ต้ านทาน
ถิโร
ถิรา
ถิร
มั่น
ทกฺโข
ทกฺขา
ทกฺข
ขยัน
ธมฺมิโก
ธมฺมิกา
ธมฺมิก
ตัง้ ในธรรม
นาโถ
นาถา
นาถ
ที่พ่ งึ
ปาโป
ปาปา
ปาป
บาป
โภคี
โภคินี
โภคิ
มีโภคะ
มติมา
มติมตี
มติม
มีความคิด
นาม
นามศัพท์
ลิงค์
นามนาม
ปุํ งลิงค์
คุณนาม
อิตถีลิงค์
สัพ
พนาม
นปุํ งสก
ลิงค์
วจนะ
วิภตั ติ
การั นต์
สังขยา
สัพพนาม
วจนะ
วจนะ คือ คําพูดบอกจํานวนนามนาม ว่ ามากน้ อยเพียงใด
เอกวจนะ - บอกให้ ร้ ูว่านามนามมีอยู่ส่งิ เดียว
พหุวจนะ – บอกให้ ร้ ูว่านามนามมีมากกว่ า ๒ สิ่งขึน้ ไป
วจนะทัง้ ๒ นีข้ นึ ้ อยู่กับวิภัตติ เพราะวิภัตติบอกให้ ร้ ู วจนะ
นาม
นามศัพท์
ลิงค์
วจนะ
นามนาม
ปุํ งลิงค์
เอกวจนะ
คุณนาม
อิตถีลิงค์
พหุวจนะ
สัพ
พนาม
นปุํ งสก
ลิงค์
วิภตั ติ
การั นต์
สังขยา
สัพพนาม
วิภัตติ
วิภตั ติ คือ ศัพท์ สาํ หรับประกอบหลังนามศัพท์ แจกนาม
ศัพท์ ให้ มีรูปต่ างๆ เพื่อให้ ร้ ูถงึ ลิงค์ และ วจนะ ของศัพท์
นัน้
วิภตั ติมี ๑๔ ตัว แบ่ งเป็ น เอกวจนะ ๗ และ พหุวจนะ ๗
วิภัตติ
เอกวจนะ
พหุวจนะ
ปฐมาที่ ๑
สิ
โย
ทุตยิ าที่ ๒
ตติยาที่ ๓
จตุตถฺ ีท่ ี ๔
ปญฺจมีท่ ี ๕
อํ
นา
ส
สฺมา
โย
หิ
น
หิ
ฉฏฺฐีท่ ี ๖
สตฺตมีท่ ี ๗
อาลปนะ
ส
สฺมํ ิ
สิ
น
สุ
โย
ปฐมาวิภัตติมี ๒ แบบ คือเป็ นประธานในประโยคที่ไม่ มีกริ ิยาคุมพากย์ เรี ยง ลิงคฺ ตฺถ หรื อเป็ นประธานในประโยคที่มีกริ ิยา
คุมพากย์ เรี ยกว่ า สยกตฺตา ๑ ใช้ เป็ นคําร้ องเรี ยก เรี ยกว่ า อาลปนะ ๑
วิภัตติ
เอกวจนะ
วิภตั ติ
คําแปล
พหุวจนะ
วิภตั ติ
คําแปล
ปฐมาที่ ๑
สิ
อ. (อันว่ า)
โย
อ....ท. (อันว่ า...ทัง้ หลาย)
ทุตยิ าที่ ๒
อํ
ซึ่ง, สู่, ยัง, สิน้ , ตลอด, กะ, เฉพาะ
โย
...........................ท.
ตติยาที่ ๓
นา
ด้ วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี,
ด้ วยทัง้
หิ
...........................ท.
จตุตถฺ ีท่ ี ๔
ส
แก่ , เพื่อ, ต่ อ
น
...........................ท.
ปญฺจมีท่ ี ๕
สฺมา
แต่ , จาก, กว่ า, เหตุ
หิ
...........................ท.
ฉฏฺฐีท่ ี ๖
สตฺตมีท่ ี ๗
ส
แห่ ง, ของ, เมื่อ
น
...........................ท.
สฺมํ ิ
ใน, ใกล้ , ที่, ครัน้ เมื่อ, บน, ใน
เพราะ, เหนือ, บน
สุ
...........................ท.
อาลปนะ
สิ
แน่ , ดูก่อน, ข้ า, แต่
โย
...........................ท.
นาม
นามศัพท์
ลิงค์
วจนะ
นามนาม
ปุํ ลิงค์
เอกวจนะ
วิภตั ติ
ปฐมาที่ ๑
ทุตยิ าที่ ๒
คุณนาม
สัพ
พนาม
อิตถีลิงค์
นปุํ สก
ลิงค์
พหุวจนะ
ตติยาที่ ๓
จตุตถฺ ีท่ ี ๔
ปญฺจมีท่ ี ๕
ฉฏฺฐีท่ ี ๖
สตฺตมีท่ ี ๗
อาลปนะ
การั นต์
สังขยา
สัพพนาม
ศึกษาภาษาบาลีเพิ่มเติม ได้ ท่ ี
www.buddhabucha.net/pali