วิภัตติ

Download Report

Transcript วิภัตติ

พระมหาสายรุ้ง อินฺทาวุโธ (ดร.)
เปรียญธรรม ๗ ประโยค
ศน.บ. (บาลี-สันสกฤต) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
อ.ม. (บาลี-สันสกฤต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
M.Phil. (Buddhist Studies), University of Delhi
Ph.D. (Buddhist Studies), University of Delhi
“
โย นิรตุ ตฺ ึ น สิกฺเขยฺย
ปเท ปเท วิกงฺเขยฺย
สิกฺขนฺ โต ปิฏกตฺตยํ
วเน อนฺ ธคโช ยถา.”
ผูใ้ ดไม่ศึกษาคัมภีรไ์ วยากรณ์ ผูน้ ัน้ เมื่อศึกษา
พระไตรปิฎก จะเกิดความสงสัยในทุกบท ดุจช้างตาบอด
เที่ยวสะเปะสะปะไปในป่ าฉะนัน้
โมคฺคลฺลานตฺเถร, โมคฺคลฺลานวุตตฺ ิ วิวรณปญฺจิกา (ลําปาง : วัดท่ามะโอ, ๒๕๒๑) หน้ า ก.
“อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขู ทุคคฺ หิตํ สุตตฺ นฺ ตํ ปริยาปุณนฺ ติ ทุนฺ
นิกฺขิตเฺ ตหิ ปทพฺยญฺชเนหิ ทุนฺนิกฺขิตตฺ สฺส ภิกฺขเว ปทพฺยญฺ
ชนสฺส อตฺโถปิ ทุนฺนโย โหติ. อยํ ภิกฺขเว ปฐโม ธมฺโม
สทฺธมฺมสฺส สมฺโมสาย อนฺ ตรธานาย สํวตฺตติ”.
(องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๑๕๖/๒๕๕.)
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เล่าเรียนพระสูตรที่เล่าเรียนกันมา
ไม่ดี ด้วยบทพยัญชนะที่สืบทอดกันมาไม่ดี แม้อรรถแห่งบท
พยัญชนะที่สืบทอดกันมาไม่ดี ก็ชื่อว่าเป็ นการสืบทอดขยาย
ความไม่ดี นี้ เป็ นธรรมประการที่ ๑ ย่อมเป็ นไปเพื่อความ
เสื่อมสูญหายไปแห่งสัทธรรมฯ
๑. เป็ นทัง้ ศิลปและวิทยาการแห่งการพูดหรือ
การเขียนให้ถกู ต้อง
๒. ช่วยให้ร้จู กั ลักษณะแห่งคําพูดต่าง ๆ และวิธี
ผูกประโยค
๓. สอนให้เข้าใจวรรณคดีของภาษานัน้ ๆ ได้
เป็ นอย่างดี
คัมภีรก์ จั จายนะวยากรณ์บาลี มีประมาณ 672 สูตร
2. คัมภีรโ์ มคคัลลานวยากรณ์ บาลี มีประมาณ 808 สูตร
3. คัมภีรส์ ท
ั ทนี ติปกรณ์ มีประมาณ 1347 สูตร
1.
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
มูลกัจจายน์ (ไม่ปรากฏปี ที่แต่ง)
มูลกัจจายนอัตถโยชนา (๒๐๔๖-๒๐๔๗)
สัททพินทุอภินวฎีกา (พุทธศตวรรษที่ ๒๑)
คันถาภรณฎีกา (ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๑)
สัททัตถเภทจินตาปทักกมโยชนา (ต้นพุทธ
ศตวรรษที่ ๒๒)
มูลกัจจายนคัณฐี (๒๒๓๑-๒๒๔๖)
การศึกษาบาลีไวยากรณ์อาศัยคัมภีรม์ ลู กัจจายน์
ได้มีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖ โดย
“สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส”
เมื่อทรงดํารงพระยศเป็ น “พระเจ้าน้ องยาเธอ กรมหมื่น
วชิรญาณวโรรส”
ทรงนิพนธ์ตาํ รา บาลีไวยากรณ์ อาศัยโครงสร้าง
ตามคัมภีรก์ จั จายนวยากรณ์ เพื่อให้ กระชับ สัน้ ง่าย
ภาคที่ ๑ อักขวิธี : ว่าด้วยวิธีการใช้ตวั อักษร มี ๒ ชนิด คือ
๑. สมัญญาภิธาน ว่าด้วยการเขียน การอ่าน สระและ
พยัญชนะพร้อมทัง้ ฐานกรณ์
๒.สนธิ ว่าด้วยวิธีการเชื่อมหรือต่อตัวอักษรให้ติดเนื่ องกัน
ภาคที่ ๒ วจีวิภาค : ว่าด้วยส่วนแห่งคําพูด ๖ ชนิด คือ
๑. นาม
๒. อัพยยศัพท์
๓. สมาส
๔. ตัทธิต
๕. อาขยาต
๖. กิตก์
ภาคที่ ๓ วากยสัมพันธ์ : ว่าด้วยการก (Case) และ
วิธีเรียงคําการกในวจีวิภาคทัง้ ๖ ชนิดเข้าเป็ นวลี
หรือประโยคต่างๆ
ภาคที่ ๔ ฉันทลักษณ์ : ว่าด้วยวิธีร้อยกรองคําพูด
ให้เป็ นคาถาหรือฉันท์ต่าง ๆ โดยวิธีแต่งฉันท์
กาพย์ กลอน โคลง ในภาษาบาลี
เสียงก็ดี ตัวหนังสือก็ดี ชือ่ ว่า อักขระ หรือ อักษร ๆ
แปลว่าไม่รจู้ กั สิน้ ไป ไม่เป็ นของแข็ง ได้แก่เครือ่ งหมายใช้
แทนคาพูด
อักขระหรืออักษรนัน้ หมายเอาทัง้ สระและพยัญชนะ
เพราะฉะนัน้ เมือ่ กล่าวถึงอักษรหมายถึงสระและพยัญชนะ
อักษรในภาษาบาลีมี ๔๑ ตัว แบ่งเป็ น ๒ ประเภทคือ
สระ ๑, พยัญชนะ ๑
สระ แปลว่า “ออกเสียงได้เอง” นอกจากจะออก
เสียงได้ตามลําพังตนเองแล้ว ยังทําพยัญชนะให้ออก
เสียงได้อีกด้วย สระเป็ นที่อาศัยออกเสียงของพยัญชนะ
จึงเรียกว่า นิสยั
รัสสะ (เสี ยงสั้ น)
อ
ทีฆะ (เสี ยงยาว
อา
สังยุตตะ (สระผสม) เอ
อิ
i
อุ
u
ā
อี
ī
อู
ū
e
โอ
a
o
พยัญชนะ แปลว่า ทําเนื้ อความให้ปรากฏ คือ
ทําเนื้ อความของสระให้ปรากฏ
พยัญชนะ ออกเสียงไม่ได้ตามลําพังตนเอง ต้อง
อาศัยจึงจะออกเสียงได้ จึงเรียกพยัญชนะว่า นิสิต
พยัญชนะ ในภาษาบาลีมี ๓๓ ตัว แบ่งเป็ น
พยัญชนะวรรค ๒๕ ตัว และพยัญชนะอวรรค ๘ ตัว
วรรค ก ก
ข
kh
คg
ฆ
gh
ง
วรรค จ จ c
ฉ
ch
ช
j
ฌ
jh
ญñ
วรรค ฏ ฏ ṭ
ฐ
ṭh
ฑ
ḍ
ฒ
ḍh
ณṇ
วรรค ต ต t
ถ
th
ท
d
ธ
dh
นn
วรรค ป ป p
ผ
ph
พ
b
ภ
bh
มm
k
ṅ
พยัญชนะ อวรรค มี ๘ ตัว คือ
ยy รr ลl วv สs หh ฬỊ ° ṃ
พยัญชนะคือ ° เรียกว่า นิคคหิต ตามคัมภีรศ์ พั ทศา
สตร์ เรียกว่า อนุสาร แปลได้เป็ น ๒ นัย คือ กดเสียงสระ และ
อวัยวะเครื่องทําเสียง พยัญชนะ ° นี้ ตามหลังสระรัสสะ อ อิ อุ
ตัวใดตัวหนึ่ งเสมอ เช่น อหํ อกาสึ เสตํ
การอ่านออกเสียงนิคคหิต อ่านตามภาษาบาลีมี
สําเนี ยงเหมือน “ง” สะกด เช่น พุทธฺ ํ อ่านว่า พุทธัง แต่ถ้าอ่าน
ตามภาษาสันสกฤต มีสาํ เนี ยงเหมือน “ม” สะกด เช่น พุทธฺ ํ
อ่านว่า พุทธัม
ชนิดของนาม (Kind of Nouns)
นาม หมายถึง ชื่อคน สัตว์ ที่ สิ่ งของ สถานที่ สิ่ งของ
ทัว่ ไปแบ่งเป็ น ๓ คือ
๑. นามนาม (Nouns)
๒. คุณนาม (Adjectives)
๓. สัพพนาม (Pronouns)
ลักษณะของนามนาม
นามนาม หมายถึง ถ้ อยคาทีเ่ รียกชื่อคน สั ตว์ สถานที่
สิ่ งของต่ าง ๆ แบ่ งเป็ น ๒ ชนิด คือ
๑. สาธารณนาม (Material Noun๗ หมายถึง ชื่อทัว่ ๆ ไป
ไม่ เจาะจง เช่ น มนุสฺส (มนุษย์ ) ติรจฺฉาน (สั ตว์ ดริ ัจฉาน) เป็ น
ต้ น
๒. อสาธารณนาม (Proper Noun) หมายถึง ชื่อเจาะจง
ไม่ ทวั่ ไป เช่ น สาวตฺถี (เมืองสาวัตถี) ทีฆาวุ (กุมารชื่อทีฆาวุ)
ลิงค์ หมายถึง นามศัพท์ ทุกคาจะต้ องมีเพศเป็ นเครื่องให้ รู้ ว่าเป็ น
ชายหรือหญิง หรือเป็ นเพศกลางๆ ซึ่งมีอยู่ในภาษา บาลี สั นสกฤต มี ๓ คือ
๑. ปุงลิงค์ (Masculine) นามทีบ่ ่ งถึงเพศชายของศัพท์ เช่ น สงฺโฆ
(พระสงฆ์,หมู่), โจโร (โจร) เป็ นต้ น
๒. อิตถีลงิ ค์ (Feminine) นามทีบ่ ่ งถึงเพศหญิงของศัพท์ เช่ น เถรี
(พระเถรี), กุมาริกา (เด็กหญิง) เป็ นต้ น
๓. นปุงสกลิงค์ (Neuter) นามทีไ่ ม่ ระบุเพศชายหรือเพศหญิง หรือ
นามทีไ่ ม่ มีเพศ เช่ น ปณฺณ (ใบไม้ , หนังสื อ) กุล (ตระกูล) เป็ นต้ น
๑. ลิงค์ โดยกาเนิด หมายถึง ศัพท์ ทมี่ แี ปลหรือความหมาย
ทีบ่ ่ งบอกให้ ทราบว่ าเป็ นเพศอะไร ก็จัดเป็ นลิงค์ น้ัน เช่ น
- ปุริโส (บุรุษ) เป็ นปุงลิงค์
- กญฺญา (หญิงสาว) เป็ นอิตถีลงิ ค์
- ปณฺณ (ใบไม้ , หนังสื อ) เป็ นนปุงสกลิงค์
๒. ลิงค์ โดยสมมติ หมายถึง ศัพท์ ทไี่ ม่ จัดให้ เป็ นลิงค์ ตาม
ความเป็ นจริง เช่ น ทาโร (เมีย) เป็ นปุงลิงค์
วจนะหรือพจน์ หมายถึง คาพูดหรือจานวน มี ๒ คือ
๑. เอกวจนะ (Singular Number) หมายถึง คาพูดทีบ่ ่ ง
ถึงคานามเพียงสิ่ งเดียว ภาษาไทยใช้ คาว่ า เอกพจน์
๒. พหุวจนะ (Plural Number) หมายถึง คาพูดทีบ่ ่ งถึง
คานามมีมากนับแต่ ๒ จานวนขึน้ ไป ภาษาไทยใช้ คาว่ า พหูพจน์
วิภตั ติ (The Case endings of Nouns)
วิภตั ติ หมายถึง แจก หรือจําแนกนามศัพท์เพื่ อให้ รู้
หน้ าที่ ข องแต่ ละวิ ภตั ติ มี ๑๔ ตัว แบ่งออกเป็ น เอก. ๗
พหุ. ๗ ดังนี้
หมวดวิภตั ติ
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
ปฐมาวิภตั ติ (Nominative Case)
ทุติยาวิภตั ติ (Accusative Case)
ตติยาวิภตั ติ (Instrumental Case)
จตุตถีวิภตั ติ (Dative Case)
ปัญจมีวิภตั ติ (Ablative Case)
ฉัฏฐีวิภตั ติ (Genitive Case)
สัตตมีวิภตั ติ (Locative Case)
อาลปนวิภตั ติ (Vocative Case)
เอกวจะ
สิ
อํ
นา
ส
สฺมา
ส
สฺมึ
(สิ)
พหุวจนะ
โย
โย
หิ
นํ
หิ
นํ
สุ
(โย)
วิภตั ติ (The Case endings of Nouns)
วิภตั ติ คือ การแจกหรือจาแนก แบ่ งนามศัพท์ ออกให้ เห็น เป็ น
ลิงค์ วจนะและทาให้ ร้ ู จกั หน้ าที่ (การก) ของแต่ ละศัพท์ ในประโยคบาลี
นามศัพท์ ต้องประกอบด้ วยวิภตั ติก่อนจึงจะนาไปใช้ ในประโยคหรือ
ข้ อความภาษาบาลีได้
วิภตั ติ ในภาษาบาลีมี ๒ ประเภท คือ
๑. วิภตั ตินาม ใช้ แจกหรือจาแนกนามศัพท์ เพือ่ บอกให้ รู้ ลงิ ค์
วจนะ การันต์ และอายตนิบาต (คาแปล)
๒. วิภตั ติอาขยาต ใช้ แจกหรือประกอบธาตุ ประเภทกิริยาเพือ่
บอกให้ รู้ กาล บท วจนะ และบุรุษ
การันต์ (Ending)
การันต์ หมายถึง สระที่สดุ ของศัพท์นัน้ ๆ มี ๑๓
การันต์ แบ่งลงในลิงค์ ทัง้ ๓ ได้ดงั นี้
๑. ปุงลิงค์ มีการันต์ ๕ ตัว คือ อ อิ อี อุ อู
๒. อิตถีลิงค์ มีการันต์ ๕ ตัว คือ อา อิ อี อุ อู
๓. นปุงสกลิงค์ มีการันต์ ๓ ตัว คือ อ อิ อุ
วิธีแจกนามตามการันต์ต่าง ๆ
วิภตั ติต่าง ๆ เมื่อลงกับการันต์ต่าง ๆ แล้วมีวิธี
เปลี่ยนแปลงไม่เหมือนกัน ตามลิงค์ทงั ้ ๓
การแปรรูป อ การันต์ ใน ปุงลิงค์
วิภตั ติ
ป.
ทุ.
ต.
จ.
ปญ.
ฉ.
ส.
อา.
เอก.
อ + สิ = โอ
อ + อํ = อํ
อ + นา = เอน
อ + ส = อสฺส, อาย, อตฺถ ํ
อ + สฺมา = อสฺมา, อมฺหา, อา
อ + ส = อสฺส
อ + สฺมึ = อสฺม,ึ อมฺหิ, เอ
อ + สิ = อ
พหุ.
อ + โย = อา
อ + โย = เอ
อ + หิ = เอหิ, เอภิ
อ + นํ = อานํ
อ + หิ = เอหิ, เอภิ
อ + นํ = อานํ
อ + สุ = เอสุ
อ + โย = อา
การแจกศัพท์
อ การันต์ ในปุงลิงค์ แจกอย่าง ปุริส (บุรษุ )
วิภตั ติ
เอก.
พหุ.
ป.
ทุ.
ต.
จ.
ปญ.
ฉ.
ส.
อา.
ปุริโส
ปุริสํ
ปุริเสน
ปุริสสฺส, ปุริสาย, ปุริสตฺถ ํ
ปุริสสฺมา, ปุริสมฺหา, ปุริสา
ปุริสสฺส
ปุริสสฺมึ, ปุริสมฺหิ, ปุริเส
ปุริส
ปุริสา
ปุริเส
ปุริเสหิ, ปุริเสภิ
ปุริสานํ
ปุริเสหิ, ปุริเสภิ
ปุริสานํ
ปุริเสสุ
ปุริสา
นามศัพท์
พุทฺธ
สงฺฆ
มนุสฺส
วาณิ ช
วานร
ปุคฺคล
คาแปล
พระพุทธเจ้า
พระสงฆ์
มนุษย์
พ่อค้า
วานร, ลิง
บุคคล
ปุริเส ลง โย ทุติยา เอา อ+โย= เอ สําเร็จรูป
เป็ น ปุริเส
พุทเฺ ธน
กุมารานํ
โจรสฺมึ ลง สฺมึ สตฺตมี ฝ่ าย เอก. เอา อ+สฺมึ =
อสฺมึ สําเร็จเป็ น โจรสฺมึ
จงแปลเป็ นภาษาไทย
๑. กุมารสฺส อาจริโย
๓. ชนสฺส เกสา
๕. มนุสสฺ านํ หตฺโถ
๗. สาวกานํ สงฺโฆ
๒. รุกฺเข สกุโณ
๔. อาจริยานํ สิสสฺ า
๖. พุทธฺ สฺส สาวโก
๘. ปุริสสฺส สกุโณ
โจรานํ หตฺเถ ทณฺ โฑ
สเร มจฺฉานํ คโณ
รุกขสฺส สุสิเร สปฺโป
การแปรรูป อ การันต์ ใน นปุงสกลิงค์
วิภตั ติ
ป.
ทุ.
ฯลฯ
อา.
เอก.
อ + สิ = อํ
ฯลฯ
ฯลฯ
ฯลฯ
พหุ
อ + โย = อานิ
อ + โย = อานิ
ฯลฯ
อ + โย = อานิ
หมายเหตุ ที่มีเครือ่ งหมาย ฯลฯ เอาไว้นัน้ แจกเหมือน อ
การันต์ ใน ปุงลิงค์ ทัง้ หมด
อายตนิบาต
อายตนิบาต คือ คําเชื่อมหรือคําต่อให้มีเนื้ อความไพเราะ
เป็ นคําแปลประจําวิภตั ติแต่ละหมวด ดังนี้
วิภตั ติ
เอก.
พหุ.
ป.
ท.
ต.
จ.
หมายเหตุ
อ. (อันว่า)
ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, กะ.
เฉพาะ, ตลอด
ด้วย, โดย, อัน, ตาม,
เพราะ, มี
แก่, เพื่อ, ต่อ
อ. ท. (อันว่า....ทัง้ หลาย)
ซึ่ง..ท., สู่...ท., ยัง...ท., กะ...ท., เฉพาะ
...ท., ตลอด...ท.,
ด้วย...ท., โดย...ท., อัน...ท.,
ตาม...ท., เพราะ...ท., มี....ท.
แก่...ท., เพื่อ...ท., ต่อ...ท.
อ. อ่านว่า อันว่า....
ท. อ่านว่า ทัง้ หลาย
ตัวอย่างการแปล ปุงลิงค์
ปุริโส แปลว่า
ปุริสา แปลว่า
ปุริสํ แปลว่า
อ.บุรษุ
อ.บุรษุ ท.
ซึ่งบุรษุ , สู่บรุ ษุ , ยังบุรษุ , สิ้นบุรษุ ,
กะบุรษุ , เฉพาะบุรษุ
ปุริเส แปลว่า
ซึ่งบุรษุ ท., สู่บรุ ษุ ท., ยังบุรษุ ท.,
สิ้นบุรษุ ท., กะบุรษุ ท., เฉพาะบุรษุ ท.
ปุริเสน แปลว่า
ด้วยบุรษุ , โดยบุรษุ , อันบุรษุ , ตามบุรษุ
เพราะบุรษุ , มีบรุ ษุ
ปุริเสหิ ปุริเสภิ แปลว่า
ด้วยบุรษุ ท., โดยบุรษุ ท., อันบุรษุ ท.
ตามบุรษุ ท., เพราะบุรษุ ท., มีบรุ ษุ ท.
ปุริสสฺ ปุริสาย ปุริสตฺถ ํ แปลว่า แก่บรุ ษุ , เพื่อบุรษุ , ต่อบุรษุ
ปุริสานํ แปลว่า แก่บรุ ษุ ท., เพื่อบุรษุ ท., ต่อบุรษุ ท.
ตัวอย่างการแปล นปุงสกลิงค์
วิภตั ติ
เอก.
ป.
ทุ.
กุล ํ
กุลํ
ต.
กุเลน
คําแปล
อ.ตระกูล
ซึ่งตระกูล, สู่ตระกูล, ยังตระกูล, สิ้นตระกูล,
กะตระกูล, เฉพาะตระกูล
ด้วยตระกูล, โดยตระกูล, อันตระกูล, ตามตระกูล,
เพราะตระกูล, มีตระกูล
วิภตั ติ
พหุ.
ป.
ทุ.
กุลานิ
กุลานิ
ต.
กุเลหิ กุเลภิ
คําแปล
อ.ตระกูล ท. (อันว่า ตระกูล ทัง้ หลาย)
ซึ่งตระกูล ท., สู่ตระกูล ท. ยังตระกูล ท.
สิ้นตระกูล ท., กะตระกูล ท. เฉพาะตระกูล ท.
ด้วยตระกูล ท., โดยตระกูล ท., อันตระกูล ท.,
ตามตระกูล ท., เพราะตระกูล ท. มีตระกูล ท.
นามศัพท์ นปุงสกลิงค์ คําแปล
สีล
ปุปผฺ
รตน
ศีล
ดอกไม้
รัตนะ
กิรยิ าอาขยาต (Verbs)
ศัพท์ทแ่ี สดงกิรยิ าอาการต่างๆ เช่น ยืน เดิน นอน กิน ทา
พูด คิด เป็ นต้น มีเครือ่ งปรุงทีส่ าคัญ ๓ ประการ คือ
๑. ธาตุ (Roots) คือ รากคาของศัพท์ ประกอบเป็ นกิรยิ า
ต่าง ๆ มี ๘ หมวด
๒. ปจั จัย (Suffixes) คือ ศัพท์ทป่ี ระกอบท้ายธาตุ ในธาตุ
แต่ละหมวดมีปจั จัยประจาหมวด ปจั จัยเมือ่ ลงมาแล้วบอกให้ทราบ
ถึงวาจก
๓. วิภตั ติ (Verbal Terminations) คือ แจกหรือจาแนก
ธาตุต่าง ๆ ประกอบท้ายปจั จัย บอกให้รู้ กาล บท วจนะ บุรษุ
กาล (Tenses)
กาล หมายถึง ระยะเวลาของกิริยาที่แสดงออกในขณะนัน้
บอกเวลาที่เกิดขึน้ เป็ น ปัจจุบนั อดีต หรือ อนาคต แบ่งออกเป็ น ๓
กาล คือ
๑. ปัจจุบนั กาล (Present Tense) แบ่งออกเป็ น ๓ คือ
๑. ปัจจุบนั แท้
แปลว่า
...อยู่
๒. ปัจจุบนั ใกล้อดีต แปลว่า
ย่อม...
๓. ปัจจุบนั ใกล้อนาคต แปลว่า
จะ...
๒. อดีตกาล (Past Tense) แบ่งออกเป็ น ๓ คือ
๑. อดีตกาลล่วงแล้วไม่มีกาํ หนด แปลว่า ...แล้ว
๒. อดีตกาลล่วงแล้ววานนี้ แปลว่า ...แล้ว ถ้ามี อ
อาคมอยู่หน้ า แปลว่า ได้...แล้ว
๓. อดีตกาลล่วงแล้ววันนี้ แปลว่า...แล้ว
ถ้ามี อ อาคม อยู่หน้ า แปลว่า ได้...แล้ว
๓. อนาคตกาล (Future Tense) แบ่งออกเป็ น ๒ คือ
๑. อนาคตของปัจจุบนั
แปลว่า จัก...
๒. อนาคตของอดีต
แปลว่า จัก...แล้ว ถ้ามี
อ อาคมอยู่หน้ า แปลว่า จักได้...แล้ว
บท (Personal Endings)
บท หมายถึง เป็ นเหตุให้รบู้ ท ที่เป็ นเจ้าของกิริยา
แบ่งเป็ น ๒ คือ
๑. ปรัสสบท บทเพื่อผูอ้ ื่น เป็ นเหตุให้ร้ผู ้อู ื่น หมายถึง
บทที่เป็ นเจ้าของกิริยาอาการนัน้ เป็ นของผูอ้ ื่น
๒. อัตตโนบท บทเพื่อตน เป็ นเหตุให้รตู้ นเอง หมายถึง
บทที่เป็ นเจ้าของกิริยาอาการนัน้ เป็ นของตนเอง
วจนะ (Numbers)
วจนะ หมายถึง คําพูด มี ๒ คือ
๑. เอกวจนะ (Singular) หมายถึง ของสิ่งเดียว
๒. พหุวจนะ (Plural) หมายถึง ของตัง้ แต่ ๒ สิ่งขึน้ ไป
บุรษุ (Persons)
บุรษุ หมายถึง บุคคล สัตว์ สิ่งของ เป็ นต้น แบ่งออกเป็ น
๓ คือ
๑. ประถมบุรษุ (3rd Person) ได้แก่ กิริยาอาการที่เรา
พูดถึง คือ แทนคนและสิ่งของที่พดู ถึง
๒. มัธยมบุรษุ (2nd Person) ได้แก่ กิริยาอาการของคน
ที่เราพูดด้วย คือ แทนคนที่พดู ด้วย ใช้ ตุมหฺ ท่าน (ตฺว,ํ ตุมเฺ ห)
๓. อุตตมบุรษุ (1st Person) ได้แก่ กิริยาอาการของผู้
พูดเอง คือ แทนผูพ้ ดู ใช้ อมฺห เรา (อหํ, มยํ)
วิภตั ติอาขยาต
อาขยาตมีวิภตั ติ ๘ หมวด คือ ๑ วัตตมานา, ๒ ปัญญมี,
๓สัตตมี, ๔ปโรกขา, ๕หิยตั ตนี , ๖อัชชัตตนี , ๗ ภวิสสันติ,
๘กาลาติปัตติ
๑.วัตตมานา (Present Tense)
ปรัสสบท บอกปัจจุบนั กาล
บุรษุ
เอก.
ปฐม. ติ ใช้กบั โส, สา, ตํ - อ. เขา,
มัธยม. สิ ใช้กบั ตฺว ํ - อ.ท่าน
อุตตม. มิ ใช้กบั อหํ - อ.ข้าพเจ้า
หรือ อ.เรา
พหุ.
อนฺ ติ ใช้กบั เต, ตา, ตานิ - อ.เขา ท.
ถ ใช้กบั ตุมเฺ ห อ.ท่าน ท.
ม ใช้กบั มยํ อ.ข้าพเจ้า ท. หรือ
อ.เรา ท.
ธาตุ
ธาตุในอาขยาตมี ๘ หมวด คือ ๑ ภู ธาตุ, ๒ รุธฺ ธาตุ,
๓ ทิวฺ ธาตุ, ๔ สุ ธาตุ, ๕ กี ธาตุ, ๖ คหฺ ธาตุ, ๗ ตนฺ ธาตุ
๘ จุรฺ ธาตุ
ธาตุทงั ้ ๘ หมวด ย่อลงเป็ น ๒ ประเภท คือ
๑. สกัมมธาตุ ได้แก่ ธาตุที่เรียกหากรรม (ผูถ้ กู กระทํา)
คือธาตุมีเนื้ อความไม่สมบูรณ์ในตัว เช่น ปุริโส สกุณํ ปสฺสติ. อ.
บุรษุ เห็นอยู่ ซึ่งนก
๒. อกัมมาตุ ได้แก่ ธาตุที่ไม่เรียกหากรรม คือาตุมี
เนื้ อความสมบูรณ์ในตัวเอง เช่น ปุริโส ชาคโรติ. อ.บุรษุ ตื่นอยู่
๑. หมวด ภู ธาตุ
ภู ธาตุ มีปัจจัยประจํา ๒ ตัว คือ อ และ เอ ดังตัวอย่าง
การแจก ลภฺ ธาตุ ในความหมายว่า “ได้” เป็ นกิริยาคุมพากย์
วิภตั ติวตั ตมานา ฝ่ ายปรัสสบท ดังนี้
บุรษุ
ปฐม.
มธฺยม.
อุตตฺ ม.
เอก.
ลภฺ+อ+ติ - ลภติ
ลภฺ+เอ+ติ - ลเภติ
ลภฺ+อ+สิ - ลภสิ
ลภฺ+เอ+สิ - ลเภสิ
ลภฺ+อ+มิ - ลภามิ
ลภฺ+เอ+มิ -ลเภมิ
พหุ.
ลภฺ+อ+อนฺ ติ - ลภนฺ ติ
ลภฺ+เอ+อนฺ ติ - ลเภนฺ ติ
ลภฺ+อ+ถ - ลภถ
ลภฺ+เอ+ถ - ลเภถ
ลภฺ+อ+ม - ลภาม
ลภฺ+เอ+ม - ลเภม
ตัวอย่างการแปล
โส (ปุริโส) ลภติ
ปุริสา ลภนฺ ติ
อหํ ลภามิ
มยํ ลภาม
ตฺว ํ ลภสิ
ตุมเฺ ห ลภถ
แปลว่า
แปลว่า
แปลว่า
แปลว่า
แปลว่า
แปลว่า
อ.เขา หรือ อ.บุรษุ ย่อมได้
อ.บุรษุ ท. ย่อมได้, (ได้อยู่, จะได้)
อ.เรา ย่อมได้
อ.เรา ท. ย่อมได้
อ.ท่าน ย่อมได้
อ.ท่าน ท. ย่อมได้
๑. วาณิโช หสติ
๒. ปุตต
ฺ า สยนฺ ติ
๓. กุมาโร ธาวติ
๔. มิตต
ฺ า คจฺฉนฺ ติ
๕. สิสส
ฺ า อาจริย ํ วนฺ ทนฺ ติ
๖. วานรา ผลานิ ขาทนฺ ติ
๗. พุทโฺ ธ ธมฺม ํ ภาสติ