การใช้วัสดุอิฐมอญในท้องถิ่นบ้านพิษณุโลก

Download Report

Transcript การใช้วัสดุอิฐมอญในท้องถิ่นบ้านพิษณุโลก

ASSIGNMENT
การใช้ วสั ดุอฐิ มอญในท้ องถิน่ บ้ านพิษณุโลกก
BY MR. SURAPONG IN-KAEW 51711516
จุดประสงค์
1.เพื่อศึกษาวัสดุก่อสร้างอิฐมอญในท้องถิ่นพิษณุโลกว่ามีกี่ชนิด
ผลิตอย่างไร ผลิตที่ไหน ใช้ที่ไหน ใช้อย่างไร ราคาเท่าไหร่
2.เพื่อศึกษาว่าปัจจัยใดที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเลือกซื้ออิฐมอญมา
เป็ นวัสดุก่อสร้างในการสร้างบ้าน ในท้องถิ่นพิษณุโลก
3.เพื่อศึกษาคุณสมบัติ ประโยชน์ ข้อดี ข้อเสี ย ของอิฐมอญใน
ท้องถิ่นพิษณุโลกและเปรี ยบเทียบกับอิฐชนิดต่างๆ
4.เพื่อเป็ นการอนุรักษ์อิฐมอญให้อยูค่ ู่ทอ้ งถิ่นตลอดไป
แนวทางการศึกษา
1.ค้นคว้าหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
2.ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมในห้องสมุดคณะและหอสมุดกลาง
3.ไปสัมภาษณ์ช่างก่อสร้างใน siteงานก่อสร้าง ในท้องถิ่นบ้านพิษณุโลก
4.ไปหาข้อมูลจากร้านค้าวัสดุก่อสร้างและแหล่งผลิตอิฐมอญในท้องถิ่นพิษณุโลก
ประโลยชน์ คาดว่ าทีจ่ ะได้ รับ
1.ได้รับความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องวัสดุก่อสร้างอิฐมอญในท้องถิ่นพิษณุโลกอย่างถ่องแท้
2.ได้รับประสบการณ์ใหม่ๆจากการไปสัมภาษณ์
3.ทาให้มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย รู ้จกั แบ่งเวลาและใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชน์
4.สามารถนาความรู้เรื่ องอิฐมอญ ทั้งคุณสมบัติ ประโยชน์ ข้อดี ข้อเสี ย ไปประยุกต์ปรับ
ใช้ในการออกแบบในโครงการต่างๆ
อิฐมอญ
ชาวมอญอพยพเข้า มาตั้ง ถิ่ น ฐานในประเทศไทยหลายต่ อ หลายครั้ ง นั บ แต่ ส มัย อยุ ธ ยาจนถึ ง
รัตนโกสิ นทร์ เมื่อเข้ามาตั้งรากฐานในไทยบางกลุ่มได้เริ่ มต้นประกอบอาชีพที่ตนเชี่ยวชาญ นัน่ คือการทาอิฐดินเผา
ด้วยคุณภาพของอิฐดินเผาชาวมอญ ทาให้เป็ นที่นิยมโดยทัว่ ไปและมีการเรี ยกอิฐดินเผาชนิดนี้ในเวลาต่อมาว่า “อิฐ
มอญ” ในสมัยแรกอิฐมอญมีขนาดค่อนข้างใหญ่ก่อนจะมีววิ ฒั นาการจนกระทัง่ มาถึงอิฐยุคปัจจุบนั ที่ทาเป็ นก้อนเล็กๆ
เพื่อสะดวกในการก่อสร้าง อิฐมอญกลายเป็ นส่ วนประกอบในงานก่อสร้างบ้านเมืองของชาวไทยมาตลอดโดยใน
สมัยอยุธยาจนกระทัง่ รัตนโกสิ นทร์ ตอนต้นอิฐมอญถูกใช้ทาฐานรากโบสถ์ วิหาร กาแพง ใช้แทนเสาเข็ม ก่อเป็ นเสา
และใช้ทาถนน เมื่อถึงยุคที่สถาปัตยกรรมตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลต่อวิถีชีวติ และค่านิยมของชาวไทย คนไทยเริ่ ม
เปลี่ยนค่านิยมจากการปลูกเรื อนด้วยไม้ขยับขยายไปปลูกบ้านเป็ นตึกแบบตะวันตก อิฐมอญ ก็ยงั ได้รับความไว้วางใจ
ให้เป็ นส่ วนประกอบสาคัญ และไม่ว่ายุคสมัยจะเปลี่ยนอย่างไรอิฐมอญก็ถูกปรับใช้งานกับสิ่ งก่อสร้างใหม่ๆ อย่าง
ต่อเนื่อง อิฐมอญเกิดจากการนาดินเหนียวผสมกับแกลบหรื อวัสดุอื่นผสมน้ า นวดเคล้าให้เข้าเนื้อเดียวกันแล้วใส่
เข้าแม่พิมพ์ โดยโรยเถ้าแกลบบนลานดินภายในแม่พิมพ์ก่อน เพื่อป้ องกันไม่ให้ดินผสมติดกับแม่พิมพ์ ปาดให้เรี ยบ
ตัดทาเป็ นแผ่น ผึ่งให้แห้งหรื อพอหมาด แล้วเอาเข้าเตาเผาจนสุ กจากกรรมวิธีการผลิตที่ไม่ซบั ซ้อนและวัตถุดิบที่หา
ได้ในท้องถิ่นปั จจุบนั จึงมีการผลิตอิฐมอญอยู่ทวั่ ประเทศแต่แหล่งผลิตอิฐมอญแหล่งใหญ่ของไทยยังอยูใ่ นเขตภาค
กลางเช่ น นนทบุ รี ปทุ ม ธานี อยุธ ยา อ่ า งทอง สุ พ รรณบุ รี แ ละเลยไปทางภาค ตะวัน ตก เช่ น จัง หวัด ราชบุ รี
อิฐมอญ
โดยผูผ้ ลิตจะมีท้ งั กลุ่มชาวบ้านหรื อช่างทาอิฐ ซึ่งบางรายใช้เวลาหลังจากหมดสิ้ นฤดูการทานาทาอิฐมอญ
ในลักษณะของอุตสาหกรรมในครัวเรื อนขนาดเล็ก นอกจากนี้ยงั มีโรงงานอิฐมอญซึ่งเรี ยกกันว่าโรงเผาอิฐขนาดเล็กบ้าง
ใหญ่บา้ งกระจัดกระจายอยูท่ วั่ ไป
อิฐมอญในตลาดปัจจุบนั แบ่งตามวิธีการผลิตเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ อิฐมอญชนิดมีรูอดั แน่น ด้วยเครื่ อง
และอิฐมอญชนิดใช้แรงงานคนทั้งหมด ซึ่งคุณภาพการผลิต และมาตรฐานสู ้แบบชนิดแรกไม่ได้ นอกจากนี้อิฐมอญยัง
สามารถแบ่ง ออกได้ตามการใช้งานคืออิฐมอญที่ตอ้ งฉาบปูน และ อิฐมอญประดับ สามารถนาไปก่อโชว์แนว
สมัยก่อนบ้านที่มีการก่อผนังจะใช้อิฐมอญทั้งหมดแต่ในช่วงหลังเริ่ มมีวสั ดุที่เป็ นทางเลือกใหม่ในการใช้
ก่อผนัง เช่น ‘คอนกรี ตบล็อก’ หรื อที่เรี ยกกันว่า ‘อิฐบล็อก’ซึ่งทาจากส่ วนผสมระหว่างปูนซีเมนต์กบั ทราย ที่มีการทามา
ประมาณ 40-50 ปี แต่คอนกรี ตบล็อกในไทยไม่มีพฒั นาการด้านคุณสมบัติ ทาให้ผใู ้ ช้มองว่าเป็ นวัสดุก่อผนังคุณภาพต่า
เป็ นตัวเลือกในงานที่ตอ้ งการประหยัดค่าก่อสร้าง ถ้าไม่มีเรื่ องการประหยัดค่าใช้จ่ายผูใ้ ช้ยงั คงเลือกอิฐมอญ
นอกจากนี้ยงั มีอิฐซึ่งเรี ยกกันว่า ‘อิฐขาว’ ซึ่งใช้เทคโนโลยีการผลิตจากยุโรป เป็ นอิฐที่ทาจากปูนขาวและทรายผสมกัน
อัดด้วยเครื่ องจักรที่มีความกดดันสู ง แล้วอบด้วยความร้อนสู งเมื่ออบเสร็ จแล้วสามารถนาไป ใช้งานได้ทนั ที อิฐขาวจะมี
มาตรฐานมากกว่าและขนาดใหญ่กว่าอิฐมอญ เมื่อนาไปใช้จะช่วยให้ก่อสร้างได้เร็ ว มีความแข็งแรงการรับน้ าหนักต่อจุด
สู งใกล้เคียงกับคอนกรี ต สามารถกันความร้อนได้มากกว่าอิฐมอญเล็กน้อยแต่ผวิ อิฐไม่เหมาะกับการฉาบและผนังบ้านที่
ใช้อิฐขาวจะมีความแข็งแรงมากโดยมีราคาที่สูงกว่าอิฐมอญเล็กน้อย
อิฐมอญ
ทั้งอิฐบล็อกและอิฐขาวไม่ส่งผลกระทบต่อตลาดอิฐมอญเพราะมีคุณสมบัติค่อนข้างแตกต่างกันมาก
นอกจากนี้ดว้ ยคุณสมบัติที่โดดเด่นลงตัวในด้านประโยชน์ใช้สอยรวมและราคาเมื่อเปรี ยบเทียบกับวัสดุก่อผนังทั้ง
สองประเภททาให้อิฐมอญยังอยูใ่ นฐานะวัสดุก่อผนังอันดับหนึ่งอย่างมัน่ คง ซึ่งก่อนหน้านี้อิฐมอญมีช่วงเวลาแห่ ง
ความรุ่ งโรจน์อนั น่าจดจาในยุคเศรษฐกิจไทยก่อน ‘ฟองสบู่แตก’ในปี 2540 ซึ่งตอนนั้นธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์
และธุรกิจก่อสร้างกาลังรุ่ งเรื อง อิฐมอญจานวนมหาศาลได้ถูกสั่งซื้ อเพื่อรองรับงานก่อสร้าง ว่ากันว่าช่วงเวลานั้น
ที่แม้ช่างทาอิฐทั้งหลายจะทางานกันอย่างหนักแต่ผลผลิตก็ออกไม่ทนั ต่อความต้องการของตลาดการที่อิฐมอญยัง
เป็ นตัวเลือกอันดับแรกสาหรับการใช้ในงานก่อผนังคุณภาพในใจช่างก่อสร้างและเจ้าของบ้านทาให้กลุ่มผูบ้ ริ โภค
ก ลุ่ ม นี้ เ ป็ น ต ล า ด ใ ห ญ่ ที่ เ ย้ า ย ว น ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ที่ อ ยู่ ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม วั ส ดุ ก่ อ ส ร้ า ง
จุดเริ่ มต้นของการพยายามรุ กเข้าสู่ ตลาดวัสดุก่อผนังของอิฐมอญเริ่ มต้นในปี พ.ศ. 2539 โดยมี
การนาอิฐมวลเบาเข้าสู่ ตลาด ซึ่ งอิฐมวลเบาเป็ นอิฐก่อผนังที่ผลิตจากการสังเคราะห์ปูนซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ ทราย
ยิปซัม่ และปูนขาว และสารกระจายฟองอากาศขนาดเล็กอย่างสม่าเสมอในเนื้ อวัสดุ แล้วผ่านการอบไอน้ าภายใต้
อุณหภูมิแ ละความดัน ที่ ก าหนดหลังจากผ่านไปสิ บกว่าปี วัน นี้ อิฐ มวลเบาเป็ นที่ รู้จัก มากขึ้ น โดยการใช้งาน
แพร่ หลายออกไปในวงการก่อสร้างจากการใช้งานของกลุ่มผูป้ ระกอบการธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ ด้วยการ
ประชาสัมพันธ์อย่างมีระบบ มีการชูจุดแข็งหลายด้าน ทั้งในด้านน้ าหนักเบาช่วยลดโหลดของโครงสร้างบ้าน มี
ความสะดวกในการขนย้าย สามารถติดตั้งก่อผนังได้รวดเร็ ว ประหยัดค่าแรงช่าง นอกจากนี้ยงั ลดปัญหาเรื่ องการ
แตกหักเสี ยหายระหว่างการทางาน
อิฐมอญ
ผนวกกับกระแสโลกร้อนและภาวะน้ ามันแพงทาให้เกิดการตื่นตัวด้านการอนุรักษ์พลังงาน รัฐบาลส่ งเสริ มให้
เกิด "บ้านประหยัดพลังงาน"จึงเป็ นโอกาสของอิฐมวลเบาในการหยิบฉวยมาเป็ นจุดขายด้วยคุณสมบัติที่เป็ นวัสดุป้องกันการ
สะสมความร้อนในผนังกาแพงช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้ าในการใช้เครื่ องปรับอากาศซึ่ งถ้าเปรี ยบเทียบเฉพาะคุณสมบัติการ
ป้ องกันความร้อนอิฐมวลเบาจะเหนื อกว่าอิฐมอญอย่างเทียบกันไม่ติดในขณะที่อิฐมวลเบามีคุณสมบัติอนั โดดเด่นในการ
ป้ องกันความร้อน อิฐมอญกลับมีคุณสมบัติตรงกันข้ามโดยสิ้นเชิง ด้วยเหตุที่เป็ นวัสดุที่มีมวลมาก ทาให้ ผนังอิฐมอญดูดกลืน
ความร้อนในเวลากลางวันมาก และถ่ายเทความร้อนสูงในตอนกลางคืน ทาให้บางคนถึงกับบอกว่า วัสดุเลวที่สุด สาหรับการ
ทาผนังบ้านถ้ามอง ‘เฉพาะ’ ในแง่การป้ องกันความร้อนก็คืออิฐมอญการโชว์จุดเด่นมากมายที่เหนื อกว่าอิฐมอญของอิฐมวล
เบาทาให้บางคนคาดการว่าอิฐมอญจะหายไปจากสารบบวัสดุก่อสร้างในไม่ชา้ นี้ อย่างไรก็ตามยังมีผทู้ ี่นิยมอิฐมอญออกมา
โต้แย้งว่า อิฐมอญซึ่งผ่านกระบวนการคิดและปรับปรุ งด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นมาอย่างยาวนานก็มีจุดแข็งที่สามารถตอบสนอง
ความต้องการและเป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้หนึ่งในคุณสมบัติที่สาคัญอย่างหนึ่งของอิฐมอญซึ่ งมีในวัสดุทุกชนิ ดที่เรี ยกว่าโมดูลสั
ของความเป็ นอิลาสติก(Modulus of elasticity) หรื อค่าความต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างของวัสดุ เมื่อได้
รับแรงกระทาของอิฐมอญ มีค่าใกล้เคียงกับ Modulus of elasticity ของคอนกรี ต เสาและคานมากที่สุดในบรรดา
วัสดุก่อผนังซึ่ งค่านี้ มีความสาคัญเมื่อนาวัสดุต่างๆ มาประกอบเป็ นชิ้นส่ วนเดียวกัน ถ้าวัสดุเหล่านั้นมีค่า Modulus of
elasticity ใกล้เคียงกัน เมื่อถูกแรงกระทา เช่น แรงลม แรงสัน่ สะเทือน จะไม่เกิดรอยแตกร้าวหรื อแยกตัวง่าย ข้อดีต่อมา
คื อ ผิวอิ ฐมอญง่ า ยต่ อ การยึด เกาะกับ เนื้ อ ปู น ฉาบมากกว่า วัสดุ ก่อ ผนัง อย่า งอื่ น ทาให้ง านฉาบปู น สวย และไม่ ห ลุ ด ร่ อ น
นอกจากนี้ผนังที่สร้างด้วยอิฐมอญสามารถตอกผนังแขวนรู ป ติดตั้งตูล้ อยหรื อสิ่ งต่างๆ ได้ตามตาแหน่ งที่ตอ้ งการ สามารถรับ
น้ าหนักของที่แขวนได้มากโดยไม่ตอ้ งกังวลเรื่ องผนังแตกร้าวจากการเจาะในเรื่ องการถ่ายทอดความร้อนได้ดีของอิฐมอญก็มี
ประโยชน์ต่อบางจุดของบ้านที่ควรให้มีความร้อนภายนอกถ่ายเทเข้าไป เช่นในส่วนของ ห้องน้ า
อิฐมอญ
ส่ วนการลดความร้อนภายในบ้านซึ่ งมองกันว่าเป็ นข้อด้อยของอิฐมอญนั้น ผูม้ ีประสบการณ์ในการ
สร้างบ้านกล่าวว่าผนังไม่ใช่ ส่วนสาคัญที่สุด ถ้าต้องการป้ องกันความร้อนภายในบ้านอย่างมีประสิ ทธิ ภาพต้องไป
ป้ องกันที่หลังคาโดยใช้ฉนวนกันความร้อน หรื อออกแบบให้มีการระบายอากาศใต้หลังคา เพราะความร้อนที่ถ่ายเข้า
บ้านนั้นมาจากแสงอาทิตย์ซ่ ึ งส่ งผ่านทางหลังคาบ้านประมาณถึง 70% โดยมีเพียง 30% เท่านั้นที่ถูกถ่ายทอดเข้าสู่ตวั
บ้านผ่านผนังที่โดนแดดในทิศตะวันออกและตะวันตก ส่ วนผนังบ้านในทิศเหนื อและใต้จะโดนแดดน้อยไม่มีปัญหา
เรื่ องการส่งผ่านความร้อน และถ้าต้องการสร้างบ้านด้วยอิฐมอญโดยต้องการป้ องกันความร้อนที่เข้ามาทางผนังด้วยก็
สามารถทาได้โดยการก่ออิฐมอญ 2 ชั้นปล่อยให้มีช่องว่างตรงกลาง ซึ่ งช่องว่างตรงกลางจะทาหน้าที่เป็ นฉนวนกัน
ความร้อนและเก็บเสี ยงได้เป็ นอย่างดี แม้วา่ การก่ออิฐมอญสองชั้นจะทาให้ราคาในการก่อสร้างเพิ่มขึ้นมาบ้างแต่ ถ้า
ให้ช่างจะก่อเต็มหน้าเสา เมื่อฉาบปูนจะไม่มีเหลี่ยมมุมเสาภายในบ้าน ทาให้ห้องต่างๆ ดูสวยงาม ง่ายต่อการตกแต่ง
จัดวางเฟอร์นิเจอร์ รวมทั้งในช่องว่างของผนังยังสามารถเก็บท่อสายไฟ ประปา ช่วยซ่อนวงกบหน้าต่างและได้ความ
แข็งแกร่ งเพิ่มขึ้นมาด้วยข้อดีที่เป็ นคุณสมบัติเฉพาะของอิฐมอญหลายประการจึงทาให้อีกหลายคนยังเชื่อว่าในระยะ
ยาวอิฐมอญจะยังคงยืนหยัดอยู่ได้ ซึ่ งในความเป็ นจริ งคงไม่มีวสั ดุก่อสร้ างชนิ ดใดสามารถตอบโจทย์ทุกความ
ต้องการดังนั้นจึงมีเจ้าของบ้านบางรายใช้อิฐมวลเบาทาผนังห้องในฝั่งตะวันตกซึ่ งได้รับแสงอาทิตย์มากสุ ดเพื่อ ลด
ความร้อนสะสมขณะที่ส่วนด้านอื่นยังคงใช้อิฐมอญแต่อย่างไรก็ตามความพยายามของอิฐมวลเบาที่จะเข้ามาเป็ นวัสดุ
ก่อผนังแทนที่อิฐมอญก็เป็ นอะไรที่น่าจับตามอง ชัว่ โมงนี้อาจถือได้วา่ เป็ นเพียงจุดเริ่ มต้นซึ่งอิฐมวลเบายังมีผใู้ ช้อยูใ่ น
วงจ ากัด และยัง ต้อ งการระยะเวลาในการสร้ า งความมั่น ใจให้ ผูบ้ ริ โ ภค แต่ ก ารรุ ก คื บ ของอิ ฐ มวลเบาก็ ท าให้
อุตสาหกรรมผลิตอิฐมอญต้องเผชิญความท้าทายอย่างไม่เคยมีมาก่อน
อิฐมอญ
ซึ่ งการทาตลาดของกลุ่มผูผ้ ลิตอิฐมวลเบาก็เป็ นไปในทิศทางเดียวกันมีเป้ าหมายชัดเจนว่าต้องการทาให้
ผูใ้ ช้หันมาเลือกอิฐมวลเบาเข้าไปแทนที่อิฐมอญ ซึ่ งในปั จจุบนั การตลาดเป็ นเครื่ องมือที่ไม่อาจมองข้ามเพราะมี
กรณี ศึกษามากมายในแวดวงการเมืองหรื อโลกธุ รกิจที่แสดงถึงพลังอานาจของการตลาด จะเห็ นว่าธุรกิจขนาดเล็ก
กลาง ใหญ่ ที่อยูท่ ่ามกลางสภาวะการแข่งขันที่รุนแรงในปั จจุบนั ต่างพยายามสร้างเสริ มศักยภาพการตลาดเพื่อเป็ น
เครื่ องมือนาพาผลิตภัณฑ์ไปสู่ เป้ าหมายด้วยกลวิธี ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นการการออกแบบ พัฒนาผลิ ตภัณฑ์ เพื่อ
ตอบสนองผูบ้ ริ โภค กาหนดโอกาสทางธุ รกิจของสิ นค้า ฯลฯ ในขณะที่อิฐมวลเบาเป็ นฝ่ ายดาเนิ นกลยุทธ์การตลาด
สมัยใหม่เพื่อช่วงชิงผูบ้ ริ โภคโดยที่ฝั่งอิฐมอญวัสดุจากภูมิปัญญาท้องถิ่นยังคงอยู่ในตลาดโดยใช้จุดแข็งเรื่ องความ
เชื่ อมัน่ คุน้ เคยของช่างก่อสร้างและผูบ้ ริ โภครวมถึงราคาที่ถูกกว่าเป็ นเครื่ องมือ ในอนาคตหากอิฐมวลเบามีพฒั นา
เทคโนโลยีการผลิตทาให้คุณสมบัติดีมากขึ้น มีช่างฝี มือรองรับการทางานมากขึ้น มีการใช้งานแพร่ หลายมากขึ้น มี
ราคาถูกกว่าปั จจุบนั ถึงตอนนั้นก็น่าคิดว่าสถานการณ์ของอิฐมอญจะเป็ นอย่างไรถ้ามองอิฐมอญเป็ นเพียงผลิตภัณฑ์
ชนิดหนึ่ งก็น่าสนใจว่า ผลิตภัณฑ์ที่มีการปรับปรุ งคุณสมบัติจนเคยอยูใ่ นตาแหน่งวัสดุก่อผนังที่ดีที่สุดคู่งานก่อสร้าง
เมืองไทยมายาวนานกาลังจะจบตานานลงหรื อจะสามารถพัฒนาต่อยอดคุณสมบัติผลิตภัณฑ์ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
เพื่อให้ผบู ้ ริ โภคซึ่ งเป็ นผูท้ รงอิทธิพลตัวจริ งในโลกการตลาดปั จจุบนั ตัดสิ นใจว่าในอนาคต ‘อิฐมอญ’ ผลิตภัณฑ์จาก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นจะยังคงเป็ นหนึ่งในวัสดุก่อผนังที่ดีที่สุดของยุคสมัยหรื อต้องกลายเป็ นผลิตภัณฑ์ตกยุคที่เดินมาถึง
จุดสุ ดท้ายของวงจรชี วิตที่ รอคอยเพียงให้คู่แข่งพัฒนาแซงหน้า ซึ่ งถ้าเป็ นเช่นนั้นในอนาคตอี กไม่นานอิฐมอญคง
กลายเป็ นเพียงอุตสาหกรรมพื้นบ้านที่เราต้องอนุรักษ์ไว้เพื่อให้คงอยูค่ ู่ทอ้ งถิ่นของเราตลอดไป
วัสดุอปุ กรณ์
1.ดินเหนียว 2.แกลบ 3.บ่อหมักดิน 4.พลัว่ สาหรับตักดิน 5.จอบ
6.บล็อก
อิฐสาหรับทอดอิฐ 7.ลานสาหรับทอดอิฐ 8.ไม้กวาด 9.มีด 10.รถสาหรับใส่
ดิน 11.บุง้ กี๋ 12.ถังน้ า 13.น้ า
ขั้นตอนการทา
1.ลงบ่อหมักให้เต็มผสมน้ าใช้
จอบ เคล้าให้ทวั่ หมัก 1 คืน
2.เตรี ยมลานสาหรับทอดอิฐ
ขั้นตอนการทา
3.นาบล็อคอิฐมาพร้อมอุปกรณ์ถงั น้ า แล้ว
นาดินมาที่ได้ตกั ใส่ ถงั มาพร้อมที่จะทอด
แล้วนาดินมาใส่ บล็อคพิมพ์ปาดให้เรี ยบ
4.นาขี้เถ้ามาโปะก้อนหิ น
5.ตากอิฐไว้จนแห้ง
6.นามีดมาถากอิฐให้เสมอกัน
7.ทาการเผาอิฐ 7 วัน แล้วขัดขี้เถ้าออก
กักษณะทั่วไป
อิฐมอญ
เป็ นวัสดุที่ผลิตมาจากการนาดินเหนี ยวมาเผาเพื่อให้ไ ด้วสั ดุที่คง
รู ปมีความแข็งแรงผสมกับแกลบหรื อวัสดุอื่นผสมน้ า นวดเคล้าให้เข้าเนื้ อเดียวกันแล้วใส่
เข้าแม่พิมพ์ โดยโรยเถ้าแกลบบนลานดินภายในแม่พิมพ์ก่อน เพื่อป้ องกันไม่ให้ดินผสมติด
กับแม่พิมพ์ ปาดให้เรี ยบ ตัดทาเป็ นแผ่น ผึ่งให้แห้งหรื อพอหมาด แล้วเอาเข้าเตาเผาจนสุ ก
มีขนาดกว้าง 9.5 เซนติเมตร ยาว 20.00 เซนติเมตร และหนา 5.0 เซนติเมตร
การเลือกดินเหนี ยวที่ใช้เป็ นวัตถุดิบในการผลิตอิฐมอญนั้น มีขอ้ ที่ควรคานึงถึง
คือ ความเหนี ยวของดิ นเพื่อให้ข้ ึนรู ปได้ง่าย อุณหภูมิที่เผาให้สุกตัวควรอยู่ในช่ วง 9501100 องศาเซลเซี ยส เพื่อให้อิฐมีความแข็งโดยไม่มีการหดตัวหรื อผิดรู ปมากเกินไป
การใช้อิฐมอญในงานก่ อสร้ างมี มากหลากหลายจึ งมี คนรู ้ จกั และใช้กนั อย่าง
แพร่ หลาย เนื่องจากเชื่อมัน่ ในความคงทนและผลิตได้แรงงานท้องถิ่น
คุณสมบัตขิ องอิฐมอญ
คุณสมบัติของอิฐมอญจะยอมให้ความร้ อนถ่ายเทเข้า-ออก
ได้ง่าย และเก็บความร้อนไว้ในตัวเองเป็ นเวลานาน และเนื่องจากอิฐ
มอญมี ความจุ ความร้ อนสู งทาให้สามารถกักเก็บความร้ อนไว้ในเนื้ อ
วัสดุได้มาก ก่อนที่จะค่อยๆถ่ายเทสู่ ภายนอก
ข้ อดี
อิฐมอญ นั้นมีขอ้ ดีคือ ราคาถูกกว่า แข็งแรง ทนไฟ ทนความชื้น มีขนาดเล็ก
ขนย้ายได้ง่าย ทาให้อากาศภายในบ้านเย็นและ เหมาะกับสภาพอากาศร้อนชื้นแบบ
เมืองไทย
ข้ อเสี ย
อิฐมอญ นั้นมีขอ้ เสียคือ ก่อสร้างได้ชา้ ระบายความร้อนได้นอ้ ย ต้องผ่าน
กรรมวิธีการเผาโดยใช้แกลบ อาจทาให้เกิดปั ญหาโลกร้อน และต้องระวังการ
กระทบกระเทือนเพราะแตกค่อนข้างง่าย
ศู นย์ วิจัยวิทยาศาสตร์ ทางด้ านอาคาร มหาวิทยากัยเทคโลนโลกยีพระจอมเกก้ า
ธนบุรี ได้ศึกษา เปรี ยบเที ยบบ้านก่ออิ ฐมอญฉาบปูน กับบ้านก่ออิ ฐมวล เบาฉาบปูน
เมื่อปี 2545 โดยใช้บา้ นขนาดเดียวกัน ติดแอร์ เหมือนกันทั้ง 4 จุดคือ ในห้องนอน 3
ห้อง กับห้องรับแขกรับประทานอาหารอีก 1 ห้อง
วัดผกการใช้ ไฟฟ้าตกอด 1 ปี ปรากฏ ว่ าบ้ านก่ อผนังด้ วยอิฐมวกเบา แอร์ กิน
ไฟน้ อย กว่ า...ช่ วยประหยัดเงินค่ าไฟได้ ถึง 24.18%
แต่ สาหรับ
คนพิษณุโลกก ส่วนใหญ่จะไม่นิยมใช้อิฐมวลเบาเพราะว่า
ราคาการก่อสร้างค่อนข้างสู งแต่จะนิ ยมใช้อิฐมอญมากกว่าจะสังเกตจากอาคารบ้านเรื อนต่างๆบริ เวณ
แถวหลัง ม. นเรศวร ที่กาลังก่อสร้างส่ วนใหญ่เขาก็ใช้อิฐมอญกันทั้งนั้นและมีส่วนน้อยที่จะใช้อิฐ
มวลเบา
เปรียบเทียบคุณสมบัติ LIGHT BLOCK กับ อิฐมอญแกะ
คอนกรีตบก๊ อค
อิฐมอญ
LIGHT BLOCK
คอนกรีตบล๊อค
จำนวนก ้อนต่อตำรำงเมตร
140
8.33
12.5
น้ ำหนักต่อตำรำงเมตร( ฉำบ
2 ด ้ำน )
180
70
140
ควำมหนำปูนก่อระหว่ำงก ้อน
( ม.ม. )
15-20
2-3
10-15
ควำมหนำปูนฉำบ ( ม.ม. )
15-20
2-3
15-20
โครงสร ้ำงแผ่นบล๊อค
ตัน
ตัน
กลวง
ควำมยืดหยุน
่
แกร่งเปรำะ
ยืดหยุน
่
แกร่งเปรำะ
่ มตกแต่ง
กำรซอ
ทำได ้ยำก
ทำได ้ง่ำย
ทำได ้ยำก
ควำมทนต่อแรงกระแทก
ดี
ดี
ไม่ด ี
กำรเจำะตัดผนังเพือ
่ ฝั งท่อ
เครือ
่ งตัดไฟฟ้ ำ
เครือ
่ งเซำะร่อง
ด ้วยมือ
เครือ
่ งตัดไฟฟ้ ำ
กำรก่อเป็ นผนังรับแรง
ไม่ได ้
ได ้
ได ้
คุณสมบ ัติ
เปรียบเทียบคุณสมบัติ LIGHT BLOCK กับ อิฐมอญแกะ
คอนกรีตบก๊ อค
ึ น้ ำ
กำรดูดซม
สูง
ตำ่
สูง
กำรทำเสำ คำน เอ็น
ต ้องทำ
ไม่ต ้อง
ต ้องทำ
กำรทนไฟ( ช.ม. )
2
4
1
ควำมเป็ นฉนวน
ประหยัดพลังงำน
กันควำมร ้อน
ได ้น ้อย
กันควำมร ้อนได ้ กันควำมร ้อน
ดีมำก
ได ้น ้อย
เวลำในกำรก่อ
้
ชำมำก
เร็วกว่ำ
ชำ้
ประหยัดโครงสร ้ำง คำน
เสำ ฐำน
น ้อย
มำก
น ้อย
ิ ค ้ำ
กำรตรวจนั บสน
ยำกมำก
ง่ำย
ยำก
ี หำยในกำร
ควำมเสย
ขนสง่
มำกกว่ำ
น ้อย
มำก
วิธต
ี ด
ั
ทุบ
เลือ
่ ยมือ
เครือ
่ งตัด
ไฟฟ้ ำ
รับแรงอัด ก.ก. /ตร.ซม.
25-30
>30
-
ตารางเปรียบเทียบราคาค่ าก่อสร้ างผนัง
ว ัสดุ/ค่ำแรง
ผน ังไลท์บล๊อค (หนำ)
7.5 ซม. /บำท
คอนกรีตบล๊อค หนำ 7 ซม./
บำท
อิฐมอญ หนำครึง่
แผ่น/บำท
1
ผนัง
100(150) 15,000
1,250(3.75)4,687
13,800(0.60)8,280
2
ปูนก่อ
50/ตรม=5,000
90/ตรม=9,000
140/ตรม=14,000
3
ปูนฉำบ
25/ตรม=2,500
70/ม.2=7,000
70/ม.2=7,000
4
เหล็กเสริมยึดแผ่นผนัง 12 มม.
6/ตรม=600
-
-
5
คำนทับหลังคิดรวม ค่ำของค่ำแรง
-
33(80)=2,667
33(80)=2,667
6
ค่ำแรงก่อ
25/ตรม=2,500
35/ตรม=3,500
40/ตรม=4,000
7
ค่ำแรงฉำบ 2 ด ้ำน
52/ตรม=5,000
70/ตรม=7,000
70/ตรม=7,000
8
น้ ำหนัก/1,000 ตรม
น้ ำหนัก/1 ตรม
7,800
78
14,200
140
18,000
180
9
เวลำทำงำน/วัน
100
156
170
รวมค่ำใชจ่้ ำย/1,000 ตรม
30,800
33,854
35,954
รวมเฉลีย
่ /ตรม
308
338
359
ลำด ั
บ
ชนิดของอิฐมอญ
อิฐมอญชนิดตัน
อิฐ มอก. อิฐก่อสร้ างสามัญ ( ตัน )
อิฐมอญชนิดรู
อิฐมอญรู
ก้ อนใหญ่
รู รับนา้ หนัก
อิฐ มอก. อิฐกกวงก่2อแผงไม่
ราคา อิฐมอญ
จากการทีไ่ ด้ ไปสารวจ
ของ
ในพิษณุโลกก
- อิฐมอญมาตรฐาน มอก.
- อิฐมอญกล่อง/รู (2 รู )
- อิฐมอญมือ(เครื่ อง)
- อิฐมอญตัน
- อิฐมอญรู
ขนาด 6X 6X 15
ขนาด 6 X 6 X 15
ขนาด 4.20 X 6.20 X 15
ขนาด 3 X 6 X 15
ขนาด 5 X 8 X 17
ราคาของอิฐมอญ นั้นถูก เมื่อเทียบกับอิฐชนิดอื่น
เป็ นที่นิยมมากที่สุดในปั จจุบนั
ราคา 0.90 บาท
ราคา 0.83 บาท
ราคา 0.50 บาท
ราคา 0.43 บาท
ราคา 0.47 บาท
เป็ นอิฐที่มีคุณภาพและ
ผนังก่ ออิฐครึ่งแผ่ น
เป็ นการก่ อผนั ง อิ ฐ
แบบก้ อนเดียวเรียงต่ อ
กั น ไปตามความยาว
ของผนัง (1 ตร.ม. ใช้
อิฐสามัญ 138 ก้ อน)
ประเภทของผนังก่ ออิฐ
ผนังก่ออิฐเต็มแผ่น
เป็ นการก่ อ ผนัง อิ ฐ แบบ
ห น า ส อ ง ก้ อ น เ รี ย ง
สลับกัน (1 ตร.ม. )ใช้ อิฐ
สามัญ 276 ก้อน
ส่ วนผสมที่ได้ มาตราฐานสาหรับงานก่ ออิฐฉาบปูน
ส่ วนผสมของปูนก่ อ
ปูนซี เมนต์ 1 ส่ วน (1 ตร.ม. ใช้ 16
กก.)
ทรายหยาบ 4 ส่ ว น (1 ตร.ม. ใช้
0.05 ลบ.ม.)
ปูนขาว 1 ½ ส่ วน(1 ตร.ม. ใช้
10.29 กก.) แต่ปัจจุ บนั มักนิ ยมใช้
น้ ายาเคมีแทนปูนขาว
น้ าสะอาด 10 ลิตร
ส่ วนผสมของปูนฉาบ
ปูนซี เมนต์ 1 ส่ วน (1 ตร.ม. ใช้ 12
กก.)
ทรายละเอียด 5 ส่ วน (1 ตร.ม. ใช้
0.04 ลบ.ม.)
ปู น ขาว 2 ส่ ว น (1 ตร.ม. ใช้ 7.7
กก.) แต่ ปั จ จุ บ ันนิ ย มใช้น้ า ยาเคมี
แทนปูนขาว
น้ าสะอาด 3 ลิตร
เกร็ดความรู้ เทคนิคการก่ออิฐมอญ
เวลาก่ อ ปู น ควรก่ อ ให้ปู น หนาประมาณ
1.5-2 ซม. เพราะเป็ นระยะที่เหมาะสม ก่ออิฐใช้
ปู น บางกว่ า นี้ ...ปู น ยึ ด จั บ อิ ฐ ไม่ ดี ผนั ง ไม่
แข็งแรงแต่ถา้ ก่ออิฐใช้ปูนหนาไป...ไม่มีปัญหา
เรื่ องความแข็ ง แรง แต่ จ ะมี ปั ญ หาเรื่ อง ไม่
ประหยัด
เสาเอ็นและคานทับหลังต้องมี ขนาด
ความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 15 ซม. และมีเหล็ก
ขนาด 9 มม. จานวน 2 เส้น เป็ นโครงเหล็ก
อยูข่ า้ งใน โดยที่ปลายเหล็กของคานทับหลัง
ต้องฝั งอยู่ที่เสา และปลายเหล็กของเสาเอ็น
ต้องฝังที่คาน
เกร็ดความรู้ เทคนิคการก่ออิฐมอญ
เมื่อก่ออิฐไปในแนวยาว 2.5 ม. ต้อง
มีเสาเอ็น ก่ออิฐได้สูง 1.5 ม. ต้องมีคานทับ
หลังและ คานทับหลังด้านบนต้องยาวเลย
วงกบประตูหน้าต่าง อย่างน้อย 20 ซม.
เมื่ อก่ออิฐขึ้ นมา ได้สูงเกื อบถึงคานให้ เหกือ
ช่ องว่ างใต้ ท้องคานไว้ ประมาณ 10 ซม.แล้วทิ้งให้
ปูนก่อผนังอิฐแห้งสนิ ท สัก 1-2 วันหรื อมากถึง 7
วันได้ก็จะยิ่งดี เพื่อให้ปูนแข็งตัวได้ที่ แล้วถึงจะ
ก่ออิฐปิ ดใต้ทอ้ งคานได้โดยก่อให้อิฐทามุมเฉี ยง
30-45 องศา และใช้ปูนก่ออุดให้เต็มทุกซอกมุม
ของพื้นที่ ว่างใต้ทอ้ งคาน
เกร็ดความรู้ เทคนิคการก่ออิฐมอญ
เสา คาน พื้น ต้องบ่มน้ าให้ได้อย่าง
น้อย 7 วันและการก่อผนังอิฐเสร็ จแล้วก็
ต้องบ่มน้ า 7 วันเหมือนกัน ถึงจะฉาบปูน
ได้ เพื่อป้ องกันการแตกร้าว
ผสมปูนซีเมนต์ 1 ส่ วน : ทรายหยาบ 1
ส่ ว น ผ ส ม น้ า เ ส ร็ จ แ ล้ ว ใ ช้ ไ ม้ ก ว า ด
ก้านมะพร้าวจุ่มลงไปในปูนเหลวๆ แล้วเคาะ
สลัดให้ปูน กระเด็นไปจับเกาะบนเสา-คานให้
หยาบทัว่ ผิว จากนั้นปล่อยทิ้ ง ไว้ให้ แห้งสั ก
หนึ่ งวัน ถึงค่อยฉาบได้เพื่อป้ องกันการหลุด
ลอกของผนัง
เกร็ดความรู้ เทคนิคการก่ ออิฐมอญ
ก่ อ นจะฉาบปู น ให้ ใ ช้
ตะปู ต อกติ ด เหก็ก กรงไก่
ไ ป บ น ผ นั ง อิ ฐ เ ฉ พ า ะ
บริ เวณที่เป็ นมุมของวงกบ
ทุกมุม โดยติดเหล็กกรงไก่
ให้ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ ห่ า ง
จากมุมวงกบสัก 30 ซม.
เพื่ อ ป้ องกัน รอยแตกร้ า ว
ของมุมประตูหน้าต่าง
เกร็ดความรู้ เทคนิคการก่ ออิฐมอญ
ปู น ก่ อ ก่ อ ยัง ไงปู น ยากที่ จ ะ
หลุดร่ วงลงมา เพราะวางตั้งอยู่บน
คานบนอิฐ แต่ปูนฉาบต้องแปะให้
ติ ด กั บ ด้ า น ข้ า ง ข อ ง ผ นั ง โ ด ย
ธรรมชาติปูนฉาบต้องฝื นแรงดึ งดูด
ของโลก ถ้าไม่ มีกาวมาผสมช่ ว ย
เป็ นแรงเสริ มในการยึดจับผนัง มัน
ก็ จ ะหลุ ด ร่ วงลงมาได้ง่ า ยฉะนั้ น
ส่ วนผสมปูนฉาบ จึงไม่ได้มีแค่ปูน
ซี เมนต์กบั ทรายละเอี ยด แต่ต้องมี
ปู น ขาวผสมอยู่ด้ว ยเพื่ อ ท าหน้า ที่
เป็ นกาวยึดจับผนังไม่ลอกหลุดง่าย
แล้ว ยังช่ ว ยให้ การฉาบลื่ นไวและ
ง่ายมากยิง่ ขึ้น
วิธีการก่ ออิฐมอญ
ขั้นตอนที่ 1 : การเตรียมอิฐ
นาอิฐแช่น้ าสะอาดหรื อใช้วธิ ีรดน้ า ให้อิฐอิ่มตัว อย่างน้อย 1 - 2 ชัว่ โมง แล้วทิ้งให้หมาด
ก่อนใช้งาน
ขั้นตอนที่ 2 : วิธีการก่ ออิฐโลชว์
เตรี ยมผิวงานให้สะอาด ก่ออิฐโดยขึงเอ็นคุมแนว เว้นระยะชักร่ องประมาณ 5-10 มิลลิเมตร
(ขึ้นกับขนาดของอิฐ)
ขั้นตอนที่ 3 : การทานา้ ยาป้ องกันคราบปูนบนอิฐก่ อโลชว์
3.1) เมื่อก่ออิฐเสร็จควรทาความสะอาดที่อิฐหลายๆครั้งโดยเช็ดปูน
ที่ติดผิวอิฐขณะยังเปี ยกไม่ควรทิ้งไว้จนแห้ง
3.2) รอให้ผวิ อิฐแห้งแล้วใช้แปรงชุบน้ ายาซิลิโคนทาเฉพาะผิวอิฐก่อโชว์
ขั้นตอนที่ 4 : การยาแนวแกะการตกแต่ งชักร่ อง
ยาแนวด้วยปูนยาแนวหรื อซีเมนต์ผสมทรายละเอียด แล้วใช้เกรี ยงเหล็กปาดเศษปูน
ส่ วนเกินและรี บเช็ดทาความสะอาดผิวหน้าอิฐที่ก่อโชว์ จากนั้นตกแต่งแนวด้วยวิธีชกั ร่ อง
การก่ออิฐของผนังรับน้ าหนักจึงสาคัญกว่าการก่ออิฐมอญเพราะเป็ นส่ วนหนึ่งของ
โครงสร้างที่จะรับน้ าหนักทั้งของตัวมันเองและของโครงสร้างที่อยูด่ า้ นบน หลักการง่าย ๆ ของการ
ก่ออิฐคือการให้รอยต่อของอิฐแต่ละชั้นเหลื่อมกันครึ่ งก้อน หรื ออย่างน้อยที่สุดต้องเหลื่อมกันเป็ น
ระยะ ๑๐ เซนติเมตร ผนังอิฐที่ก่อไม่ควรมีรอยต่อซ้อนกัน (ดังภาพ)
การก่อที่ไม่ถูกต้องจะทาให้การรับน้ าหนักของผนังไม่กระจาย
ออก ทาให้เกิดแรงเฉพาะจุดอาจะทาให้ทรุ ด เมื่อมีน้ าหนักกดใน
ส่ วนที่ก่อไว้ไม่ดีอาจทาให้เกิดการร้าว
เกร็ดความรู้ การก่ออิฐในส่ วนต่ าง ๆ ของอาคาร
1. การก่ ออิฐในส่ วนมุมของอาคาร มุมของอาคารเป็ นส่ วนที่สาคัญ
เพราะเป็ นจุดตัดของอาคาร ซึ่ งต้องทาหน้าที่ท้ งั รับน้ าหนัก และช่วย
ค้ าผนังทั้งสองข้างไม่ให้ลม้ ง่าย
2. การก่ ออิฐผนังรูปตัว T เป็ นอีกส่ วนหนึ่งของอาคารที่มคี วาม
สาคัญ เนื่องจากถ้ าผนังเชื่อมต่ อกันไม่ ดอี าจเกิดอาการฉีกขาดของ
ผนัง อาจทาให้ ผนังก้ มได้ การก่ ออิฐผนังรู ปตัว T นั้นสามารถก่ อได้
หกายแบบ ทีเ่ ขียนไว้ คอื เทคนิควิธีหนึ่งเท่ านั้น ขอเพียงก่ อตาม
หกักการคือไม่ ให้ รอยต่ อของอิฐแต่ กะชั้นตรงกันก็ถือว่ าใช้ ได้
เกร็ดความรู้ การก่ออิฐในส่ วนต่ าง ๆ ของอาคาร
3. การก่ อผนังกอย เป็ น กักษณะเดียวกับการก่ ออิฐชนประตูหรือ
หน้ าต่ าง ถ้ าต้ องการก่ อเป็ นผนังตรงยืน่ ออกมา ไม่ ควรก่ อออกมายาว
มากเกินไป หรือถ้ าจะก่ อออกมายาว ควรก่ อผนังให้ โลค้ ง มีครีบหรือหัก
เป็ นรูปตัวT เพือ่ ช่ วยให้ ผนังมีความแข็งแรง
4. การก่ อเสา ใน บางครั้งเราอาจต้ องการเสาดิน ให้ ก่ออิฐสกับกันใน
แต่ กะชั้น ในกรณีนี้ อิฐที่ใช้ ควรออกแบบให้ มคี วามยาวเป็ น 2 เท่ าของ
ความกว้ าง (เช่ น 6"x12" หรือ 8"x16") เพือ่ ให้ เสาเป็ นสี่ เหกีย่ มจัตุรัส
เท่ ากันทั้งสองด้ าน เราอาจใช้ มดี พร้ าถากเพือ่ กดมุม หรือทาให้ เป็ นเสา
กกมก็ได้
รูปแบบการแต่ งกายก่ ออิฐมอญ
ขั้นตอนที่ 1
แบบปาดเรี ยบ เป็ นวิธีที่ง่ายที่สุดรอยต่อที่ได้จะเรี ยบ
เสมอกับแนวก้อนอิฐ แบบนี้จะดูเรี ยบไม่มีลกู เล่น
มากนักและเนื้อของปูนยาแนวอาจจะไม่แน่น
เท่าที่ควร
ขั้นตอนที่ 2
แบบปาดมุมขึ้น แบบนี้เผือ่ กันน้ าหยดลง ใช้เกรี ยงปาด
มุมขึ้นโดยเอียงมุมประมาณ 30 องศา
รูปแบบการแต่ งกายก่ ออิฐมอญ
ขั้นตอนที่ 3
แบบปาดมุมลง แบบตรงกันข้ามกับแบบปาดมุมขึ้นแบบนี้จะกัน
น้ าได้นอ้ ยมาก
ขั้นตอนที่ 4
แบบร่ องโค้ง เป็ นลายแบบที่ใช้กนั มากที่สุดเราสามารถใช้
ท่อพีวซี ี ช้อนซุปหรื อเหล็กเส้น นามาทาลวดลายโค้งได้
ขั้นตอนที่ 5
แบบร่ องตัววี ให้ความรู้สึกที่แข็งแรงมัน่ คง การทาลายนี้สามารถทา
ได้โดยลากเหล็กเส้นสี่ เหลี่ยมลากตามร่ องรอยต่ออิฐให้ตดั กัน
ขั้นตอนในการฉาบปูนผนัง
นั้น เราควรทาความสะอาดผนังก่ออิฐด้วย
ไม้กวาด และทาการรดน้ าให้ตวั อิ ฐก่ อนั้นชุ่ มน้ า เสี ยก่ อน เพื่อให้อิ ฐดู ดน้ าให้เ ต็มที่
ป้ องกันไม่ไห้อิฐดูดน้ าไปจากปูนฉาบเร็ วเกินไป เพราะว่าถ้าหากเราฉาบปูนเลย โดยที่
ไม่รดน้ าเสี ยก่อนจะทาให้ตวั อิฐมอญของเรานั้นสร้างปั ญหาให้กบั ปูนฉาบ เพราะมันจะ
ดูดน้ าที่ถูกผสมอยูใ่ นปูนฉาบ ทาให้ปูนเซ็ตตัวก่อนเวลาที่ควรเป็ น ซึ่ งจะทาให้ตวั ปูน
ฉาบนั้นเกิดการแตกร้าวได้
สั ญกักษณ์ ที่ใช้ ในงานเขียนแบบ
โดยทัว่ ไปแล้วสัญลักษณ์ผนังก่ออิฐที่
ใช้ในงานแบบนั้น จะแสดงให้เห็นอยู่
ในรู ปด้าน และแปลน โดยทัว่ ไปแล้ว
สั ญ ลัก ษณ์ ที่ เ ห็ น ในแปลนส่ ว นของ
ผนัง ก่ ออิ ฐฉาบปูน นั้นจะ แสดงเป็ น
เ ส้ น คู่ มี ค ว า ม ก ว้ า ง ใ น แ บ บ 10
เซนติเมตร( ความหนาของผนังก่ออิฐ
ชั้นเดียว)โดยสร้างเส้นคู่ถดั เข้ามาจาก
เส้นผนัง 1ซม.เป็ นสัญลักษณ์ แสดง
ค ว า ม ห น า ข อ ง ปู น ฉ า บ ส่ ว น
สัญลักษณ์อิฐก่อด้านในผนังใช้วิธีถม
ดา หรื อทาเส้นเฉี ยงด้านในก็ได้
การสั งเกตแกะเกือกใช้ อฐิ มอญ
ลุกศรสี เเดงชี้( หมายเลข 1 ) จะเห็นว่าที่ดา้ นข้างของอิฐ จะมีลายนูนที่คมเป็ นเส้นเล็กๆเต็ม
ไปหมด ออกแบบมาให้เนื้อปูนฉาบสามารถเกาะยึดได้ง่ายขึ้น,มีการลบมุมอิฐมอญออกเล็กน้อย ใน
(หมายเลข 2 ) ปูนที่ฉาบสามารถมีจุดยึดเกาะได้ดีกว่าอิฐมอญทัว่ ๆไป การออกเเบบอิฐเเบบนี้ทาให้
ช่างก่อฉาบสามารถปั้นปูนก่อฉาบได้ง่าย เเละ ก่อฉาบผนังให้บางลงได้( มีความหนาผนังปูนฉาบ
น้อยลง = การประหยัดปูน )
ส่ วนลูกศรสี ฟ้าชี้ ทั้งด้านบน เเละ
ล่าง มีการทาเป็ นร่ องตัว U หรื อ
บางที่ทาเป็ นตัว V จานวน 2 ร่ อง
เพื่ อ ให้เ นื้ อ ปู น ก่ อ ยึด อิ ฐ ได้ดี กว่า
อิฐมอญทัว่ ๆไป เเละ มีความหนา
ปู น ระหว่ า งอิ ฐ มอญเเต่ ล ะชั้น มี
ความสูงน้อยลงได้
(ประหยัดปูนนั้นเอง )
ใช้ อฐิ มอญก่อ 2 ชั้น-อิฐมวกเบา Q-CON ต่ างกัน ?
คุณสมบัติทางกายภาพ อิฐมวลเบา หนา 10 เซนติเมตร เมื่อรวมน้ าหนักวัสดุรวมปูนฉาบ
จะหนัก 120 กิโลกรัม ในขณะที่อิฐมอญก่อ 2 ชั้น (เว้นช่องว่างตรงกลาง) จะหนัก 180 กิโลกรัม
ซึ่งน้ าหนักของการก่ออิฐมอญจะมากกว่าทาให้ตอ้ งเตรี ยมโครงสร้างเผือ่ กันรับน้ าหนักในส่ วนนี้
ด้วย ทาให้ตน้ ทุนโครงสร้างเพิ่มขึ้น
การกันความร้ อน หากเป็ นกรณีปกติ อิฐมวลเบาจะมีค่าการนาความร้อนที่ต่ากว่าอิฐมอญ
ประมาณ 8-11 เท่า แต่การก่อผนังภายนอกอิฐจะต้องมีความหนา 10 เซนติเมตร และผนัง
ภายในหนา 7 เซนติเมตร ขึ้นไป จึงจะสามารถกันความร้อนได้ดี แต่ในกรณี ใช้อิฐมอญก่อ 2 ชั้น
ตัวช่องว่างตรงกลาง จะทาหน้าที่เป็ นฉนวนกันความร้อนที่ดี และอิฐแถวด้านในไม่สมั ผัสความ
ร้อนโดยตรง จึงทาให้คุณสมบัติตรงนี้ของอิฐมอญจะมีความสามารถในการกันความร้อนได้ดีกว่า
แต่การเว้นช่องว่างไม่ควรต่ากว่า 5 เซนติเมตร
ใช้ อฐิ มอญก่อ 2 ชั้น-อิฐมวกเบา Q-CON ต่ างกัน ?
การกันเสี ยง ปกติอิฐมวลเบาจะกันเสียงได้ดีกว่าอิฐมอญประมาณ 20% แต่ในกรณีใช้อิฐ
มอญก่อ 2 ชั้น ช่องว่างตรงกลางจะทาหน้าเป็ นฉนวนกันเสี ยงได้ดีกว่าเกือบ 2 เท่า แต่อิฐมวล
เบาจะลดการสะท้อนของเสี ยงได้ดีกว่า
การกันไฟ อิฐมอญก่อ 2 ชั้นมีฉนวนตรงกลาง (ช่องว่างตรงกลาง) จะกันไฟได้ดีกว่า
อิฐมวลเบาเล็กน้อย
ความแข็งแรง การใช้งานทัว่ ไปไม่ต่างกัน แต่ผนังอิฐมอญจะเหมาะสาหรับการใช้
วัสดุกรุ ผนังที่มีน้ าหนักมาก เช่น หินแกรนิต หรื อหิ นอ่อน
ใช้ อฐิ มอญก่อ 2 ชั้น-อิฐมวกเบา Q-CON ต่ างกัน ?
การก่อสร้ าง ความเรี ยบร้อยของการก่ออิฐมอญจะขึ้นอยูก่ บั ฝี มือในการก่อให้ได้แนวดิ่งของ
ช่างก่อ หากก่อไม่ได้แนวดิ่งและการฉาบความหนาของปูนไม่สม่าเสมอ อาจจะทาให้ปูนฉาบ
เกิดการแตกร้าวได้ ใช้เวลาก่อนานกว่าเนื่องจากมีขนาดเล็ก รวมถึงขั้นตอนการเตรี ยมและ
จัดเก็บวัสดุซ่ ึงเป็ นสาเหตุของการสูญเสี ยวัสดุจากการก่อสร้างไปมากพอสมควร ในขณะที่อิฐ
มวลเบาการสูญเสี ยวัสดุจะน้อยกว่า เพราะขั้นตอนการทางานง่ายกว่า และวัสดุมีขนาดใหญ่แต่
ละก้อนได้มาตรฐานเดียวกัน มีน้ าหนักเบาทาให้ก่อสร้างได้รวดเร็ วและเรี ยบร้อยกว่า
ราคาวัสดุแกะค่ าแรง เมื่อเทียบราคาวัสดุบวกค่าแรงต่อตารางเมตร อิฐมวลเบาหนา 10
เซนติเมตร ราคาเฉลี่ยประมาณ 360-400 บาท/ตารางเมตร ส่ วนอิฐมอญก่อ 2 ชั้น (เว้นช่องว่าง
ตรงกลาง) ราคาจะอยูท่ ี่ประมาณ 400-420 บาท/ตารางเมตร?
สู่ …ตัวสถาปัตยกรรม ?
จากก้ อนดิน
สถาปัตยกรรม(อาคารต่ างๆ)
อิฐมอญ
ออกแบบ+ก่ อสร้ าง
Case study
นี่ก็เป็ นตัวอย่ างบ้ านบริ เวณแถวหกัง ม.นเรศวร ที่ตัวบ้ านเขาจะใช้ วัสดุ
อิฐมอญเป็ นหกัก
ได้ไป
…..ถามช่ างก่อสร้ าง
ว่า ทาไมบ้านหลังนี้ถึง
เลือกใช้วสั ดุอิฐมอญและทาไมไม่ใช้อิฐมวลเบาล่ะครับ ?
ช่างตอบ… เพราะว่ามันหาง่ายและถูกที่สุดแล้วครับ
อีกอย่างคนเขาก็นิยมใช้กนั เยอะ ส่ วนอิฐมวลเบามันแพง ! ราคาก่อสร้างมันก็สูงมาก
ช่วงนี้เศรษฐกิจไม่ค่อยจะดีดว้ ยซิ นอกจากคนมีเงินจริ งๆถึงจะใช้อิฐมวลเบา
ปัจจัยใดที่มีผลต่อการเลือกใช้วสั ดุอิฐมอญมาใช้ใน
งานก่อสร้างล่ะครับ? ช่ างตอบ น่าจะเป็ นเรื่ องของเศรษฐกิ จ
และลุงคิดว่า
อันดับแรก ถ้าใครมีเงินจะเลือกใช้อะไรก็ได้ตามใจชอบเลยและอีกอย่างอิฐมอญมัน
แข็งแรงทนทานดี หาง่ายด้วย
Case study
วิธีการก่ ออิฐมอญแบบครึ่งแผ่ นรอบเสา
เพือ่ ให้ เสามีขนาดตามที่เราต้ องการ
Case study
เสาเอ็นแกะท่ อไฟต้ องมีกวดกรงไก่ ยึดก่ อ นฉาบ
เพือ่ ป้ องกันการแตกร้ าวของผนังอาคาร
วิธีการก่ ออิฐมอญใต้ ท้องคานจะต้ องเหกื ออย่ าง
น้ อย 10 ซม.รอสั กระยะแก้ วค่ อยก่ อ
Case study
การก่ออิฐชนคาน คสก.ด้ านบนเป็ นพืน้
สาเร็จรู ป จะพบตามหอพักทีก่ ากังสร้ าง
การก่ออิฐชนคานแกะตงไม้ จะพบตาม
บ้ านพักอาศัยเป็ นส่ วนใหญ่
Case study
ตัวอย่ างการนาไปปรับประยุกต์ ใช้ อฐิ มอญในอาคารสถานทีต่ ่ างๆ
Case study
ตัวอย่ างการนาไปปรับประยุกต์ ใช้ อฐิ มอญในอาคารสถานที่ต่างๆ
ในฐานะ เรา เป็ น นักออกแบบ
เราจะสามารถนาวัสดุก่อสร้างอิฐมอญมา
..
ประยุกต์ใช้ในการออกแบบในอนาคตได้อย่างไร
?
อิฐมอญ นั้นมีประโยชน์มากมายหลายอย่างเช่น เราสามารถนาอิฐ
มอญมาไปท าเป็ นรั้ ว ท าผนังอาคารทั้งภายในและภายนอก ทาทางเดิ น จัดสวนและ
สามารถนาไปเป็ นวัสดุตกแต่งอาคารได้หลากหลายอันนี้ ข้ ึนอยู่กบั ผูอ้ อกแบบ นั้นคือก็
“พวกเราเอง”ทีจ่ ะเป็ นผู้กาหนดการเกือกใช้ วสั ดุในอนาคต
ประโลยชน์ ของอิ
มากมายหกากหกาย
ประโลยชน์
ของอิฐมอญมี
ฐมอญมี
มากมายหกากหกาย
ประโลยชน์ ของอิฐมอญมีมากมายหกากหกาย
ประโลยชน์ ของอิฐมอญมีมากมายหกากหกาย
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้วสั ดุอิฐมอญของ
คนในพิษณุโลก
ได้ไปสัมภาษณ์การใช้อิฐมอญในตัวอย่างบ้านพิษณุ โลกนั้นพบว่า
การที่คนในพิษณุ โลกใช้อิฐมอญกันอย่างแพร่ หลายนั้นก็ เนื่ องจากว่าความ
เชื่อมัน่ ในความคงทนแข็งแรงทนทาน ราคาถูกกว่าอิฐชนิ ดอื่นๆ ที่สาคัญหา
ง่ายตามท้องถิ่น และผลิตได้ตามแรงงานในท้องถิ่นพิษณุ โลกจึงทาให้คนใน
ท้องถิ่ นพิษณุ โลกตัดสิ นใจเลื อกใช้วสั ดุ ก่อสร้ างอิ ฐมอญมาใช้ในการสร้ าง
อาคารบ้านเรื อนกันอย่างแพร่ หลาย ก็อาจเป็ นไปได้ที่จะหาช่างมาก่อสร้าง
บ้านเรื อนด้วยอิฐมอญก็หาง่ายกว่าพวกช่างก่อสร้างเหล็ก เพราะว่าชาวบ้าน
ในท้องถิ่นพิษณุ โลกส่ วนใหญ่ผูกพันและนิ ยมใช้ อิฐมอญมาเป็ นระยะเวลา
ยาวนานที่ สืบทอดต่อเนื่ องมาตั้งแต่บรรพบุ รุษถึ งปั จจุ บนั และมี การใช้ชีวิต
แบบเรี ยบง่ายพอเพียง
ซึ่งเราจะเห็นได้ ว่า
อิฐมอญ นั้นมีประโลยชน์มากมาย
หกากหกายมากแกะมีประโลยชน์ มากกว่ าที่เราคิด…ไม่ แน่ ! ในอนาคต
มันอาจจะเกือนหายจากไปก็ได้ !
เพราะฉะนั้นในฐานะเราจะเป็ นผู้ออกแบบในอนาคตเราควรที่
จะ
อนุรักษ์ ให้ คงอยู่คู่กับท้ องถิ่นของเราตกอดไปโลดยวิธีการ
เกือกใช้ มันอย่ าง
สร้ างสรรค์ แกะ ยั่งยืน ตกอดไป…..
ร้ านตัวแทนจาหน่ ายอิฐมอญในพิษณุโลกก
ห้ างหุ้นส่ วนจากัด เทพวรชัยคอนสตรัคชั่น
ทีอ่ ยู่ : 46/2 สี หราชเดโลชชัย ต.ในเมือง อ.เมืองพิษณุโลกก พิษณุโลกก 65000
โลทรศัพท์ :055215701
โลรงงานอุตสาหกรรม : หจก. พงษ์ ถาวรก่ อสร้ าง
ทีอ่ ยู่ : 36/12-13 ถ.เอกาทศรฐ ต.ในเมือง อ.เมือง จังหวัด พิษณุโลกก
โลทรศัพท์ : 0-5524-2445
ห้ างหุ้นส่ วนจากัด ปี นังค้ าวัสดุก่อสร้ าง 1996
ทีอ่ ยู่ : 691/99 มิตรภาพ ตาบกในเมือง อาเภอเมืองพิษณุโลกก พิษณุโลกก 65000
โลทรศัพท์ :055212635-9
ศรี สุวรรณคอนกรี ต (อานวยคอนกรี ต) โรงงาน. ที่อยู.่ : ตาบลใน
เมือง อาเภอเมืองพิษณุโลก พิษณุโลก. โทรศัพท์.: 055 075
เอกสารอ้ างอิง : แหก่ งทีม่ า
www. thaionlinemarket.com
www.
pongjadesada.com
www. thaihomemaster.com
www.elib-online.com
BY MR.SURAPONG IN-KAEW
51711516
701213 SMALL-SCALE PUBLIC BUILDING DESIGN STUDIO
NARESUAN UNIVERSITY
THE END
THANK YOU