assingment - WordPress.com

Download Report

Transcript assingment - WordPress.com

Assignment : หัวข้ อ “ผนังบ้ านต้ านความร้ อน”
ที่เหมาะกับสภาพอากาศของจ.พิษณุโลก
จัดทำโดย :51710076 นำงสำวชนิดำ กกสันเทียะ
คณะสถำปัตยกรรมศำตร์ช้ นั ปี ที่2
สำขำสถำปัตยกรรม
Assignment:หัวข้ อ “ผนังบ้ านต้ านความร้ อน”
ที่เหมาะกับสภาพอากาศของจ.พิษณุโลก
ที่มา:
เนื่องด้ วยปั จจุบนั โลกของเราต้ องเผชิญกับภาวะโลกร้ อน จึงทาให้ สภาพภูมิอากาศของจังหวัดพิษณุโลกมีอณ
ุ หภูมิที่
สูงขึ ้นอย่างต่อเนื่อง คนที่อาศัยอยูใ่ นจังหวัดพิษณุโลกจึงต้ องเผชิญกับแสงแดดจัดเกือบตลอดทัง้ ปี ทาให้ หลีกหนีความ
ร้ อนไปไม่พ้น ถึงแม้ วา่ เราจะสร้ างสิ่งก่อสร้ างขึ ้นมาเพื่อป้องกันแดดแต่ก็ยงั เกิดปั ญหาความร้ อนที่เข้ ามายังตัวอาคารได้
การเลือกวัสดุมาทาผนังอาคารจึงควรคานึงถึงการต้ านทานความร้ อนด้ วย
เหตุผลที่เลือกหัวข้ อนีม้ าทาการศึกษาค้ นคว้ ามีดังนี ้
1. ต้ องการทราบว่าชาวพิษณุโลกนาวัสดุอะไรมาทาผนังเพื่อป้องกันความร้ อนเข้ า
ตัวอาคารในภาวะโลกร้ อน
2. เมื่อเปรี ยบเทียบกับวัสดุทาผนังอื่นๆที่ชาวพิษณุโลกใช้ อยู่ ผนังต้ านความร้ อนนี ้
มีข้อดีข้อเสียอย่างไร
3. ต้ องการทราบว่าในปั จจุบนั มีการใช้ วสั ดุทาผนังต้ านความร้ อนมากน้ อยเพียงใด
4. ต้ องการทราบว่าวัสดุทาผนังต้ านความร้ อนช่วยลดอุณหภูมิที่เข้ ามายังตัวบ้ าน
ได้ มากน้ อยเพียงใด
กระบวนการศึกษา:
1.ค้ นคว้ าหาข้ อมูลเกี่ยวกับวัสดุที่นามาทาเป็ นวัสดุผนังต้ านความร้ อน
2.สัมภาษณ์และสอบถามความคิดเห็นประชาชนที่ใช้ วสั ดุทาผนังต้ านความร้ อน
3.วิเคราะห์ข้อมูล
4.ประเมินผลการศึกษาค้ นคว้ า
ผลลัพธ์ :
1.คาดว่าจะทาให้ เราทราบว่าวัสดุทาผนังต้ านความร้ อนจะช่วยลดความร้ อนที่เข้ ามายังตัวอาคาร
2.คาดว่าเราจะสามารถนาข้ อมูลที่ได้ ศกึ ษานี ้ไปใช้ ในงานdesignโดยการเลือกใช้ วสั ดุทาผนังต้ านความร้ อนในการ
ออกแบบโครงการที่สภาพภูมิประเทศอยูใ่ นเขตร้ อน
3.สามารถนาไปประยุกย์ใช้ ในงานdesign ในการใช้ วสั ดุทาผนังต้ านความร้ อนในการทาผนังบางจุดที่ต้องรับ
ความร้ อนมากๆ
ประโยชน์ ท่ ีคาดว่ าจะได้ รับ:
คาดว่าน่าจะทาให้ เราทราบว่าวัสดุทาผนังชนิดใดที่ชว่ ยลดอุณหภูมิจากความร้ อนที่ เข้ ามายังตัวอาคาร
ได้ วัสดุชนิดนันมี
้ ข้อดีข้อเสียเมื่อเปรี ยบเทียบคุณสมบัติกบั วัสดุเเบบเก่าที่ชาวพิณุโลกเคยใช้ อย่างไร ซึง่ นาข้ อมูล
ที่ได้ ศกึ ษาวิเคราะห์มานาปปรับใช้ ในการออกแบบงาน สถาปั ตยกรรมให้ สอดคล้ องกับสภาพแวดล้ อม และเป็ น
การส่งเสริมคุณภาพชีวิตฃองผู้อยูอ่ าศัยให้ ดีขึ ้น
เนื่องด้ วยปั จจุบันโลกของเราต้ องเผชิญกับภาวะโลกร้ อน จึงทาให้ สภาพภูมิอากาศของจังหวัพิษณุโลกมี
อุณหภูมิที่สงู ขึ ้นอย่างต่อเนื่อง คนที่อาศัยอยูใ่ นจังหวัดพิษณุโลกจึงต้ องเผชิญกับแสงแดดจัดเกือบตลอดทังปี
้ ทา
ให้ หลีกหนีความร้ อนไปไม่พ้น
ถึงแม้ วา่ เราจะสร้ างสิ่งก่อสร้ าขึ ้นมาเพื่อป้องกันแดดแต่ก็ยงั เกิดปั ญหาความร้ อนที่เข้ ามายังตัวอาคารได้ การ
เลือกวัสดุมาทาผนังอาคารจึงควรคานึงถึงการต้ านทานความร้ อนด้ วย ไม่ใช่เลือกเพราะตอบสนองความต้ องการ
ของตนเอง ถ้ าเลือกวัสดุโดยไม่ตระหนักถึงสิ่งเหล่านี ้ปั ญหาความร้ อนก็คงไม่มีทางลดลง หรื อในทางกลับกัน
ความร้ อนอาจจะเพิ่มมากขึ ้นโดยไม่ร้ ูตวั
การขจัดหรื อแก้ ไขปั ญหาความร้ อนที่เกิดขึ ้นภายในตัวอาคารในปั จจุบนั ไม่ใช่เรื่ องยาก หรื อไกลตัวเพราะ
วิวฒ
ั นาการทางด้ านการคิดค้ นการผลิตวัสดุทาผนังเพื่อต้ านทานความร้ อนก้ าวไกลมากยิ่งขึ ้น ถ้ าเรารู้จกั ที่จะศึกษา หา
ข้ อมูลและพิจารณาคุณสมบัตขิ องวัสดุวา่ มีความเหมาะสมกับพื ้นที่ที่เราอยูห่ รื อเปล่าก่อนที่ จะตัดสินใจเลือกซื ้อ
ผนังต้ านความร้ อนคือ การทาให้ ความร้ อนนันไม่
้ สามารถผ่านจากผนังภายนอก ไปสูภ่ ายในห้ องได้ ซงึ่ มีหลายวิธี เช่น นา
วัสดุที่ความร้ อนไม่สามารถผ่านได้ การทาให้ ผนังสามารถให้ อากาศร้ อนไหลเวียนออกจากผนังได้ หรื อการนาวัสดุที่เป็ น
ฉนวนมาทาผนังเพราะ ป้องกันความร้ อนได้ ดี เป็ นวัสดุที่มีคา่ สัมประสิทธิ์การนาความร้ อนต่า หรื อ ค่า K ต่ากว่า 0.03
W/m ํc ค่าวัสดุจะมีราคาแพงตกตารางเมตรละพันกว่าบาท ซึง่ คนที่มีงบประมาณในการก่อสร้ างน้ อยไม่สามารถสร้ างได้
โดยทัว่ ไปวัสดุที่ใช้ ในงานก่อสร้ างผนังอาคารบ้ านเรื อน ได้ แก่ อิฐ(Brick) เป็ นวัสดุที่นามาใช้ ด้านงานก่อสร้ าง
เป็ นเวลาช้ านานประมาณ 2,000 ปี มาแล้ ว อียิปต์เป็ นชาติแรกที่ใช้ อิฐก่อผนัง ต่อมาพวกบาบิโลเนีย พัฒนาต่อมเรื่ อยๆ
อิฐในสมัยโบราณจะทามาจากดินเหนียว โดยการขึ ้นรูปเป็ นก้ อนอิฐด้ วยมือ ซึง่ พบว่าอิฐที่ได้ จะมีขนาดไม่เท่ากัน ลักษณะ
ที่ใช้ งานแตกต่างจากคอนกรี ตในเรื่ องความแข็งแรงคือ อิฐที่ใช้ ไม่จาเป็ นต้ องมีความแข็งแรงมาก เพราะใช้ งานก่อกาแพง
หรื องานเพื่อความสวยงาม และ การทาอิฐสาหรับการก่อสร้ างของคนไทยได้ ทากันมานานแล้ ว โดยส่วใหญ่เป็ น
อุตสาหกรรมครอบครัวในแถบชนบท ซึง่ มีขนาดเล็ก และอิฐที่ผลิตส่วนใหญ่เป็ นอิฐมอญ ต่อมาได้ มีการตังโรงงานใช้
้
เครื่ องจักรเข้ ามาช่วยมากขึ ้น โดยอิฐที่ทาการผลิตมีคณ
ุ ภาพและประสิทธิภาพมากขึ ้น ได้ แก่ อิฐบล็อก อิฐมวลเบาอิฐโฟม
อิฐแก้ ว และกระจก โดยเฉพาะการผลิตอิฐมวลเบาจัดว่าเป็ นนวัตกรรมใหม่ด้านวัสดุก่อสร้ าง ที่มีอตั ราการเติบโตในช่วง
3-4 ปี ที่ผา่ นมา เป็ นที่ร้ ูจกั ในตลาดเพิ่มมากขึ ้นขณะที่อิฐมวลเบามีการใช้ มานานในต่างประเทศแต่ยเั ป็ นวัสดุก่อสร้ าง
แบบใหม่สาหรับประเทศไทย ปั จบุ นั อิฐมวลเบาเป็ นที่ร้ ูจกั และยอมรับสาหรับวงการออกแบบงานสถาปั ตยกรรมในด้ าน
คุณสมบัตทิ ี่โดดเด่น จึงมีการเปลี่ยนมาใช้ อิฐมวลเบาทดแทนอิฐมอญหรื ออิฐบล็อกมากขึ ้น
ศูนย์ วิจัยวิทยาศาสตร์ ทางด้ านอาคาร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี ได้ ศกึ ษา เปรี ยบเทียบบ้ านก่ออิฐมอญฉาบปูน
กับบ้ านก่ออิฐมวล เบาฉาบปูน เมื่อปี 2545 โดยใช้ บ้านขนาดเดียวกัน ติดแอร์ เหมือนกันทัง้ 4 จุดคือ ในห้ องนอน 3 ห้ อง
กับห้ องรับแขก+รับประทานอาหารอีก 1 ห้ อง
วัดผลการใช้ ไฟฟ้าตลอด 1 ปี ปรากฏ ว่ าบ้ านก่ อผนังด้ วยอิฐมวลเบา แอร์ กินไฟน้ อย
กว่ า...ช่ วยประหยัดเงินค่ าไฟได้ ถงึ 24.18%
ลักษณะของอิฐมวลเบา
อิฐมวลเบาเป็ นวัสดุที่ผลิตมาจากการนา ทราย ซีเมนต์ ปูนขาว ยิบซัม่ และผงอลูมิเนียม
มีฟองอากาศมากประมาณ 75% ทาให้ เบา(ลอยน ้าได้ ) ฟองอากาศเป็ น closed cell ไม่ดดู ซึมน ้า(ดูดซึมน ้าน้ อยกว่าอิฐ
มอญ 4 เท่า) ความเบาก็จะทาให้ ประหยัดโครงสร้ าง เป็ นฉนวนความร้ อน ค่าการต้ านทานความร้ อนดีกว่าคอนกรี ตบล็อก
4 เท่า ดีกว่าอิฐมอญ 6-8 เท่า ไม่สะสมความร้ อน ไม่ตดิ ไฟ ทนไฟ 1,100 องศาได้ นาน 4 ชม. กันเสียงได้ ดี เมื่อฉาบจะ
แตกร้ าวน้ อยกว่าก่ออิฐฉาบปูน เนื่องจากตัวบล็อกกับปูนฉาบมีสว่ นผสมที่ใกล้ เคียงกัน
ขนาดของอิฐมวลเบาที่ใช้ ในประเทศไทย
ขนาดของอิฐมวลเบา
กว้ าง(ซม.) ยาว(ซม.) หนา(ซม.)
20 20 20 20 20 20 60 60 60 60 60 60 7.5 10.0 12.5 15.0 20.0 25.0
คุณสมบัติ
กำรผลิตอิฐมวลเบำ
อิฐมวลเบาเป็ นผลิตภัณฑ์คอนกรี ตชนิดใหม่ ผลิต
จากวัตถุดบิ ธรรมชาติได้ แก่ ปูนซิเมนต์ปอร์ ตแลนด์
ทราย ปูนขาว ยิบซัม่ น ้า และสารกระจาย
ฟองอากาศส่วนผสมพิเศษในอัตราส่วนที่เป็ นสูตร
เฉพาะตัว การผลิตส่วนใหญ่เป็ นการนาเทคโนโลยี
และเครื่ องจักรที่นาเข้ าจากต่าง ประเทศอาทิเช่น
เยอรมนี ออสเตรเลีย ฯ ผลิตภัณฑ์คอนกรี ตมวลเบา
เป็ นวัสดุก่อสร้ างยุคใหม่ที่มงุ่ เน้ นให้ เกิด ประโยชน์
สูงสุดจากการนาไปใช้ งานทุกด้ าน ด้ วยคุณสมบัติ
พิเศษ คือ ตัววัสดุมีน ้าหนักเบา ขนาดก้ อนได้
มาตรฐานเท่ากันทุกก้ อน ทนไฟ ป้องกันความร้ อน
ป้องกันเสียง ตัดแต่งเข้ ารูปง่าย ใช้ งานได้ เกือบ
100% ไม่มีเศษเป็ นอิฐหัก และที่สาคัญคือรวดเร็ว
สะอาด ลดระยะเวลาในการก่อสร้ างและลดต้ นทุน
โครงสร้ าง
คุณสมบัติทโี่ ดดเด่ น ดังนี้
1. คุณสมบัติทางกายภาพ อิฐมวลเบำ หนำ 10 เซนติเมตร เมื่อ
รวมน้ ำหนักวัสดุรวมปูนฉำบจะหนัก 120 กิโลกรัม ในขณะที่
อิฐมอญก่อ 2 ชั้น (เว้นช่องว่ำงตรงกลำง) จะหนัก 180 กิโลกรัม
ซึ่ งน้ ำหนักของกำรก่ออิฐมอญจะมำกกว่ำทำให้ตอ้ งเตรี ยม
โครงสร้ำงเผือ่ กันรับน้ ำหนักในส่ วนนี้ดว้ ย ทำให้ตน้ ทุน
โครงสร้ำงเพิ่มขึ้น
2. การกันความร้ อน หำกเป็ นกรณี ปกติ “อิฐมวลเบำ”จะมีค่ำ
กำรนำควำมร้อนที่ต่ำกว่ำอิฐมอญประมำณ 8-11 เท่ำ แต่กำรก่อ
ผนังภำยนอกอิฐจะต้องมีควำมหนำ 10 เซนติเมตร และผนัง
ภำยในหนำ 7 เซนติเมตร ขึ้นไป จึงจะสำมำรถกันควำมร้อนได้
ดี แต่ในกรณี ใช้อิฐมอญก่อ 2 ชั้น ตัวช่องว่ำงตรงกลำง จะทำ
หน้ำที่เป็ นฉนวนกันควำมร้อนที่ดี และอิฐแถวด้ำนในไม่
สัมผัสควำมร้อนโดยตรง จึงทำให้คุณสมบัติตรงนี้ของอิฐมอญ
จะมีควำมสำมำรถในกำรกันควำมร้อนได้ดีกว่ำ แต่กำรเว้น
ช่องว่ำงไม่ควรต่ำกว่ำ 5 เซนติเมตร
3. การกันเสียง ปกติอิฐมวลเบาจะกันเสียงได้ ดีกว่าอิฐมอญประมาณ 20% แต่ในกรณีใช้ อิฐมอญก่อ 2 ชัน้
ช่องว่างตรงกลางจะทาหน้ าเป็ นฉนวนกันเสียงได้ ดีกว่าเกือบ 2 เท่า แต่อิฐมวลเบาจะลดการสะท้ อนของเสียงได้
ดีกว่าเนื่องจากโครงสร้ างของอิฐมวลเบามีฟองอากาศเป็ นจานวนมากอยูภ่ ายในทาให้ ดดู ซับ เสียงได้ ดี จึงเหมาะ
สาหรับห้ องหรื ออาคารที่ต้องการความเงียบ เช่น โรงภาพยนตร์ หรื อห้ องประชุม
4. การกันไฟ อิฐมวลเบาก่อ 2 ชันมี
้ ฉนวนตรงกลาง (ช่องว่างตรงกลาง) จะกันไฟได้ ดีกว่าอิฐมวลเบาเล็กน้ อย
และทนไฟที่ 1,100 องศาเซลเซียส ได้ นานกว่า 4 ชัว่ โมงซึง่ นานกว่าอิฐมอญ 2-4 เท่า ทาให้ จะช่วยจากัดความ
เสียหายในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ ได้
5. ความแข็งแรง การใช้ งานทัว่ ไปไม่ตา่ งกัน แต่ผนังอิฐมวลเบาจะเหมาะสาหรับการใช้ วสั ดุกรุผนังที่มีน ้าหนัก
มาก เช่น หินแกรนิต หรื อหินอ่อน
6.นา้ หนักเบาและรับแรงกดได้ ดี น ้าหนักเบากว่าอิฐมอญ 2-3 เท่า และเบากว่าคอนกรี ต 4-5 เท่า ส่งผลให้ ประหยัดค่า
ก่อสร้ างโครงสร้ างอาคาร และเสาเข็มลงได้ อย่างมาก แต่อาคารยังคงมีความแข็งแรงเท่าเดิมจากโครงสร้ างของอิฐมวลเบาที่
ประกอบไปด้ วยฟองอากาศจานวนมากทาให้ มีน ้าหนักเบาและสามารรับแรงกดได้ ดี ซึง่ จากคุณสมบัตขิ ้ อนีท้ าให้ ผ้ ใู ช้
สามารถประหยัดต้ นทุนในการ ก่อสร้ างได้ มาก ยกตัวอย่างเช่น ไม่ต้องลงเสาเข็มลึกมากเนื่องจากโครงสร้ างเบาและ
สามารถ ก่อสร้ างโดยใช้ โครงสร้ างที่เล็กลง ทาให้ ประหยัดการใช้ เหล็กและมีพื ้นที่ใช้ สอยภายในมากขึ ้น
7. ประหยัดพลังงาน เนื่องจากสามารถกันความร้ อนได้ ดีกว่าอิฐมอญแล้ วยังใช้ เครื่ องปรับอากาศที่มีขนาดเล็กลงได้ ช่วย
ประหยัดค่าไฟไปได้ มาก กันความร้ อนได้ ดีกว่าอิฐมอญถึง 4-8 เท่า จึงช่วยลดการถ่ายเทความร้ อนจากภายนอก สูภ่ ายใน
อาคารได้ เป็ นอย่างดี ช่วยลดค่าไฟฟ้าได้ ถึง 30%
8. ใช้ งานง่ าย และรวดเร็ว เนื่องจากการผลิตที่เป็ นมาตรฐานทาให้ สินค้ าที่ออกมาเท่ากันทุกก้ อน ไม่เหมือนกับอิฐมอญที่
ยังมีความไม่เป็ นมาตรฐานอยูท่ าให้ การก่อสร้ างโดยใช้ อิฐมวลเบาจะใช้ เวลาในการก่อและเกิดการสูญเสียน้ อยกว่า โดย
เฉลี่ยแล้ วภายใน 1 วันการก่อผนังโดยใช้ อิฐมวลเบาจะได้ พื ้นที่ 25 ตรมไม่ต้องอาศัยความชานาญของช่าง สามารถตัด แต่ง
เลื่อย ไส เจาะ ฝั งท่อระบบได้ โดยใช้ เครื่ องมือเฉพาะที่ใช้ งานง่าย และหาซื ้อได้ ทวั่ ไป. ขณะที่หากใช้ อิฐมอญจะก่อได้ เพียง
12 ตรม. นอกจากนี ้ยังช่วยประหยัดวัสดุอื่นๆ เช่น ปูนฉาบด้ วย เนื่องจากสามารถก่อฉาบได้ บางกว่าช่วยจากัดความเสียหาย
ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ ได้
9.มิตเิ ที่ยงตรง ขนาดมิตเิ ที่ยงตรง แน่นอน ได้ ชิ ้นงานที่เรี ยบ สวยงาม มีหลายขนาดให้ เลือก ประหยัดวัสดุ และ แรงงานใน
การก่อ ฉาบ
10. อายุการใช้ งาน ยาวนานเท่ าโครงสร้ างคอนกรีต (50 ปี ) เนื่องจากวัตถุดบิ ที่ใช้ ในการผลิตได้ แก่
ปูนซีเมนต์ ทราย ปูนขาว ยิปซัม่ สารกระจายฟองและเหล็กเส้ น จึงมีอายุการใช้ งานยาวนานกว่า อิฐมอญซึง่ ส่วนผสมส่วน
ใหญ่ คือ ดิน
อิฐมวลเบาโดยทั่วไปอาจแบ่ งตามกระบวนการผลิตได้ เป็ น
2 ประเภท ดังนี ้
1 ระบบที่ไม่ผา่ นกระบวนการอบไอน ้าภายใต้ ความดันสูง (Non Autoclaved System)
ซึง่ จะแบ่งย่อยออกได้ อีกเป็ น 2 ประเภท คือ
ประเภทที่ 1 ใช้ วสั ดุเบากว่ามาทดแทน เช่น ขี ้เลื่อย ขี ้เถ้ า ชานอ้ อย หรื อเม็ดโฟมทา
ให้ คอนกรี ตมีน ้าหนักที่เบาขึ ้น แต่จะมีอายุการใช้ งานที่สนเสื
ั ้ ่อมสภาพได้ เร็ว และ
หากเกิดไฟไหม้ สารเหล่านี ้อาจเป็ นพิษต่อผู้อยูอ่ าศัย
ประเภทที 2 ใช้ สารเคมี (Circular Lightweight Concrete)
เพื่อให้ เนื ้อคอนกรี ตฟู และทิ ้งให้ แข็งตัว
คอนกรี ตประเภทนี ้จะมีการหดตัวมากกว่า ทาให้ ปนู ฉาบแตกร้ าวได้ ง่าย ไม่คอ่ ย
แข็งแรง คอนกรี ตที่ไม่ผา่ นกระบวนการอบไอน ้าภายใต้ ความดันสูงนี ้ส่วนใหญ่เนื ้อ
ผลิตภัณฑ์มกั จะมีสี เป็ นสีปนู ซีเมนต์ คอนกรี ตประเภทนี ้จะมีการหดตัวมากกว่า
ทาให้ ปนู ฉาบแตกร้ าวได้ ง่าย ไม่คอ่ ยแข็งแรงต่างจากคอนกรี ตที่ผา่ นกระบวนการ
อบไอน ้าภายใต้ ความดันสูงซึง่ จะมีเนื ้อผลิตภัณฑ์เป็ นผลึกสีขาว
วิธีการก่ อผนังอิฐมวลเบา
เครื่ องมือที่ใช้ ในการติดตัง้ แบ่งได้ 2 ประเภท
เครื่ องมือทัว่ ไป และเครื่ องมือเฉพาะ
เครื่ องมือเฉพาะที่ใช้ ในการก่ออิฐมวลเบา ประกอบไปด้ วย เกรี ยงก่ออิฐมวลเบา แผ่นเหล็กยึดแรงหัวปั่ นปูน เลื่อยตัดอิฐมวลเบา เหล็ก
ขูดเซาะร่อง เกรี ยงฟั นปลา ค้ อนยาง ตามรูปด้ านบน ซึง่ อุปกรณ์เฉพาะจะทาให้ ผนัง อิฐมวลเบามีความแข็งแรง ประหยัดต้ นทุนของวัสดุ
สิ ้นเปลืองต่างๆ และช่วยให้ งานเสร็จรวดเร็วยิ่งขึ ้น
การก่ อผนังอิฐมวลเบา
1. ก่อนทาการก่อต้ องตรวจดูแบบก่อนเสมอ สาหรับในบริเวณที่ทาการก่อ
ผนังอิฐมวลเบา ที่อาจมีน ้าขัง เช่น ระเบียง ต้ องทาคัน ค.ส.ล. กันระหว่
้
าง
ตัวก้ อนอิฐมวลเบา กับ พื ้น ค.ส.ล. บริเวณนัน้
2. ทาความสะอาดบริเวณที่จะทาการก่ออิฐมวลเบาซีแพคให้ เรี ยบร้ อย ทา
การปรับวางแนวดิง่ แนวฉากของการก่อ หลังจากนันใช้
้ แปรงสลัดน ้าพอชุม่
ในบริเวณที่จะทาการก่อ และทาความสะอาดเศษฝุ่ นที่เกาะบนตัวก้ อนให้
เรี ยบร้ อย โดยที่ไม่ต้องราดน ้าที่ตวั ก้ อน
3. เริ่มการก่อชันแรก
้
โดยการใช้ ปนู ทรายในการปรับระดับ โดยให้ มีความ
หนาของปูนทรายประมาณ 3-4 ซม.
4. ผสมปูนก่ออิฐมวลเบา กับน ้าสะอาด โดยใช้ หวั ปั่ นปูน ตามคาแนะนาใน
หัวข้ อ สัดส่วน การผสมปูน
5. ก่อก้ อนแรกโดยให้ ป้ายปูนก่อบริเวณด้ านข้ างเสาและด้ านล่างก้ อนด้ วย
เกรี ยงก่ออิฐมวล เบา โดยมีความหนาของปูนก่อเพียง 2-3 มม. ระหว่างตัว
ก้ อน
6. เริ่มก่อขันแรก
้
โดยใช้ ค้อนยางปรับให้ ได้ ระดับตามแนวเอ็นที่ระดับ
ตามแนวเอ็นที่ขงึ ไว้ และใช้ ระดับน ้าในการช่วยจัดให้ ได้ ระดับ
7. ก่อก้ อนที่สอง โดยใช้ เกรี ยงก่อ ป้ายปูนก่อด้ านข้ างและด้ านล่าง
ของก้ อน โดยให้ มีความหนา 2-3 มม. และปรับระดับด้ วยค้ อนยางให้
ได้ ระดับเดียวกัน หลังจากนันก่
้ อก้ อนต่อไปเรื่ อย ๆ ด้ วยวิธีการเดิมจน
ครบแนวก่อชันแรก
้
เมื่อจาเป็ นต้ องตัดตัวก้ อนอิฐมวลเบา ให้ วดั ระยะ
ให้ พอดี และใช้ เลื่อยตัดอิฐมวลเบาในการตัดตัวก้ อน โดยหากตัดแล้ ว
ไม่เรี ยบหรื อไม่ได้ ฉาก ให้ ใช้ เกรี ยงฟั นปลาไสแต่งตัวก้ อน และถ้ า
ต้ องการขัดอย่างละเอียดเพื่อให้ ตวั ก้ อนเรี ยบมากขึ ้น ให้ ใช้ เกรี ยง
กระดาษทรายขัดให้ เรี ยบขึ ้นได้
8. ก่อชันต่
้ อไปโดยต้ องก่อในลักษณะสลับแนวระหว่างชัน้ และมีการ
ขึงแนวก่อนการก่อ โดยแนวที่เหลื่อมกันมีระยะไม่น้อยกว่า 10 ซม.
แต่ละก้ อนให้ ป้ายปูนก่อรอบก้ อน หนา 2-3 มม. ซึง่ ต้ องใส่ปนู ก่อให้
เต็มตลอดแนวและหากใช้ ไม่เต็มก้ อนให้ ใช้ เลื่อยตัดให้ ได้ ขนาดตามที่
ต้ องการ
9. ปลายก้ อนที่ก่อชนเสาโครงสร้ าง หรื อเสาเอ็นจะต้ องยึดด้ วยแผ่น
เหล็กยึดแรง Metal strap ที่งอฉาก ยาวประมาณ 15-20 ซม. เข้ ากับ
โครงสร้ างด้ วยตะปูคอนกรี ต หรื อพุกสกรู ทาเช่นนี ้ทุกระยะ 2 ชัน้ ของ
ก้ อน
10. ก่อก้ อนถัดไปด้ วยวิธีการเดียวกับชันแรก
้
จนจบแนวชันที
้ ่สอง
จากนันก็
้ ก่อชันต่
้ อๆ ไปด้ วยวิธีการเดียวกันจนแล้ วเสร็ จ
ข้ อแนะนาในการใช้ แผ่ นเหล็กยึดแรง Metal strap กับการก่ อผนังอิฐมวลเบา
1. ควรมีระยะฝั งของ Metal strap ในตัวก้ อนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของความยาวก้ อน
2. ใช้ เหล็กขูดเซาะร่อง ขูดตัวก้ อนให้ มีความยาว มากกว่าความยาวของระยะผังเหล็ก Metal strap ประมาณ 1 ซม. และมีความลึกของ
ร่องขุดประมาณ 5 มม.
3. วางแผ่นเหล็กยึดแรง Metal strap (ที่ดดั ฉากแล้ ว) ตามร่องที่ขดู ไว้ และใช้ ตะปูชนิดตอกคอนกรี ต 1 นิ ้ว ตอกยึด Metal strap เข้ ากับ
ตัวโครงสร้ าง
4. การก่อแบบประสานมุม (Interlocking) สามารถทาได้ เมื่อใช้ อิฐมวลเบา หนา 10 ซม. ขึ ้นไป ให้ ตอกตะปู ขนาด 1 นิ ้ว ยึดแผ่นเหล็ก
Metal strap กับตัวก้ อนอิฐมวลเบา โดยใช้ ตะปู 2 ตัว ยึดหัวและท้ ายแบบทแยงกัน
หมายเหตุ : การติดตังแผ่
้ นเหล็กยึดแรง Metal strap จะต้ องติดทุกๆ ระยะ 2 ของการก่ออิฐมวลเบา
วิธีการติดตัง้ คานทับหลังสาเร็จรูป (Lintel)
สาหรับผนังอิฐมวลเบาที่มีความหนา 10 ซม.ขึ ้นไปนัน้ สามารถใช้ ทบั หลังสาเร็จรูป แทนการหล่อทับหลัง ค.ส.ล.ได้ โดยวางทับหลัง
สาเร็จรูปลงบนตัวก้ อนอิฐมวลเบาทังสองด้
้
าน (ไม่ให้ น ้าหนักถ่ายลงบนวงกบโดยตรง) โดยต้ องมีระยะนัง่ ของบ่าทังสองด้
้
านเพียงพอ
ตามตาราง ทังนี
้ ้ขนาดมาตรฐานของคานทับหลังสาเร็จรูป มีความยาวตังแต่
้ 1.20 ม. จนถึง 3.60 ม. ทุกๆ ช่วง 0.30 ม. ความหนา 10,
12.5 และ 20 ซม.
ขนาดช่องเปิ ด B ระยะนัง่ ต่าสุด A
น้ อยกว่า 1.00 ม. 0.15 ม.
1.00 - 1.90 ม. 0.20 ม.
2.00 - 3.00 ม. 0.30 ม.
การฝั งท่ อร้ อยสายไฟหรื อท่ อประปา
1. กาหนดแนวที่ต้องการฝั งท่อ โดยใช้ ดนิ สอขีดทาเครื่ องหมายลงบนผนังอิฐมวลเบา หรื อใช้ เต้ าตีเส้ น โดยมี
ขนาดทีใกล้ เคียงกับขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางท่อ
2. ใช้ มอเตอร์ เจียรที่เป็ นใบพัดแบบตัดคอนกรี ต ตัดตามแนวที่กาหนดไว้ ให้ มีความลึกเท่ากับขนาดท่อ โดย
ความลึกสูงสุดไม่ควรเกิน 1 ใน 3 ของความหนาของตัวก้ อน
3. ใช้ สิ่วตอกเพื่อแซะเนื ้อของตัวก้ อนอิฐมวลเบาออกตามแนวที่ได้ เจียรไว้ แล้ วใช้ เหล็กขูดเซาะร่องขูดเก็บส่วนที่
ยังมีเศษติดค้ างอยูใ่ ห้ เรี ยบร้ อย พร้ อมที่จะใส่ทอ่ ร้ อยสายไฟ หรื อท่อประปา
วิธีการฉาบ ผนังอิฐมวลเบา
การเตรี ยมพื ้นผิว
ใช้ แปรงตีน ้าหรื อไม้ กวาดปาดและทาความสะอาดเศษผงที่ตดิ อยูบ่ นผนังอิฐมวลเบาให้ หมด และหากมี
รอยแตกบิน่ ให้ อดุ ด้ วยปูนก่อเสียก่อน
ให้ หมด และหากมีรอยแตกบิน่ ให้ อดุ ด้ วยปูนก่อเสียก่อน แล้ วทังไว้
้ ให้ แห้ งก่อนที่จะทาการฉาบ จากนันให้
้
ราดน ้าที่ผนังให้ ชมุ่ ประมาณ 2 ครัง้ แล้ วทิ ้งให้ ผนังดูดซับน ้า จึงเริ่มขันตอนการฉาบผนั
้
งอิฐมวลเบา
เปรี ยบเทียบคุณสมบัตอิ ฐิ มอญกับคอนกรี ตมวลเบา
คุณสมบัต ิ
โครงสร ้างบล็อค
ก่อผนังเป็ นผนังรับแรง
การดูดซึมน้ า
ความหนาของปูนก่อระหว่างก ้อน
ความหนาของปูนทีฉ
่ าบ
อิฐมอญ
ตัน
ไม่ได ้
สูง
อิฐมวลเบา
กลวง
ได ้
ปานกลาง
เซนติเมตร
20-25 มิลลิเมตร
2.3
1.5
น้ าหนักวัสดุ (กก./ตร.ม.)
130
น้ าหนักผนังรวมฉาบปูน 2 ด ้าน (กก./ตร. 180
ม.)
จานวนใช ้งานต่อ 1 ตร.ม. (ก ้อน/ตร.ม.) 130 – 145
ค่ากาลังอัด ( Compressive Strength ) 15 – 40
(กก./ตร.ซม.)
ค่าการนาความร ้อน ( Thermal
1.15
Conductivity ) ( วัตต์/ม.เคลวิน )
ค่าการถ่ายเทความร ้อนรวม OTTV ( วัตต์/ 58 – 70
ตร.ม. )
อัตราการกันเสียง ( STC Rating ) ( เดซิ 38
เบล )
อัตราการทนไฟ ( Fire Rating ) (ความ 2
หนา 10 เซนติเมตร)
ความเร็วในการก่อ ( ตร.ม./วัน )
6-12
เปอร์เซ็นต์สญ
ู เสีย / แตกร ้าว
10 – 30 %
การติดตัง้ วงกบประตู-หน ้าต่าง
หล่อเสาเอ็นทับหลังและต ้องมีค้า
ยัน
ราคา
ไม่แพง
มิลลิเมตร
10 มิลลิเมตร
45
90
8.33
30 – 80
0.13
32 – 42
4
3
4
15-25
0–3%
ไม่ต ้องเททับหลังและไม่ต ้องมีค้า
ยัน
ค่อนข ้างแพง
จากตารางเปรี ยบเทียบจะสรุ ปได้ ว่า
ข้ อดีก็คือ 1.อิฐมวลเบามีประสิทธิภาพในการต้ านทานความร้ อนสูงกว่าอิฐมอญ
2.ก่อสร้ างเสร็จเร็วกว่าอิฐมอญเพราะมีขนาดก้ อนที่ขนาดใหญ่กว่า
3.สามารถก่อเป็ นผนังรับน ้าหนักได้ โดยไม่ต้องใช้ เสาแต่ความแข็งแรงคงเดิม จึงทาให้ ลดค่าใช้ จา่ ยในการ
ก่อสร้ างลงได้
4.อัตราการดูดซึมน ้าน้ อยกว่า
5.น ้าหนักเบากว่าสามารถก่อผนังที่มีความสูงไม่มากนักโดยไม่ต้องมีคานมารองรับ
6.มีกาลังอัดที่ดีชว่ ยเพิ่มความแข็งแรงทนทาน
7.กันเสียงได้ ดีกว่าสามารถนาไปใช้ ในการออกแบบอาคารที่ไม่ต้องการเสียงรบกวนได้
8.เป็ นผนังกันไฟได้ ดีกว่าเวลาเกิดไฟไหม้
9.เปอร์ เซ็นการแตกร้ าวมีน้อยกว่าทาให้ ไม่ต้องซ่อมหลายครัง้ ซึง่ จะทาให้ ความแข็งแรงลดลงได้
10.การติดตังวงกบประตู
้
-หน้ าต่างไม่ต้องเททับหลังและไม่ต้องมีค ้ายันทาให้ ประหยัดทัง้ เวลาและโครงสร้ าง
ดังนันอิ
้ ฐมวลเบาจึงมีความน่าสนใจที่ชาวพิษณุโลกจะเลือกอิฐมวลเบามาพิจารณาในการเลือกวัสดุก่อสร้ างผนัง
อาคารถ้ าเล็งเห็นถึงคุณสมบัตขิ ้ างต้ นที่กล่าวมา
ข้ อเสียก็คือ ในเรื่ องของราคาค่อนข้ างแพงกว่าอิฐมอญ เเต่เมื่อนามาพิจารณาดูถ้าเราจะออกแบบงาน
สถาปั ตยกรรมที่ประหยัดพลังงานหรื อการป้องกันความร้ อนเข้ ามาในต้ วอาคาร การใช้ วสั ดุก่อผนัง
ประเภทอิฐมอญอาจจะต้ องมีการก่อผนังหนาถึงสองชันหรื
้ อไม่ก็ต้องมีการเสริมฉนวนเข้ าไปด้ วย ซึง่
อาจจะทาให้ เสียค่าใช้ จา่ ยเพิ่มมากขึ ้นด้ วยซ ้า แต่ถ้าเราเลือกใช้ อิฐมวลเบาในการก่อผนังก็สามารถก่อชัน้
เดียวก็ได้ และยังป้องกันความร้ อนได้ ดีอีกด้ วยด้ วยคุณสมบัตขิ องอิฐมวลเบาที่มีส่วนผสมของวัสดุที่เป็ น
ฉนวนต้ านความร้ อนที่มีอยูใ่ นก้ อนอยุแ่ ล้ ว
วิเคราะห์ ตัวอย่ างสิ่งก่ อสร้ างในจังหวัด
พิษณุโลกที่ใช้ ผนังอิฐมวลเบา
โครงการเรือนแพ แยกเรือนแพ จังหวัด
พิษณุโลก
เป็ นการนาอิฐมวลเบามาทาเป็ นผนัง ชึง่ มีการเลือกใช้
วัสดุได้ มีความสอดคล้ องกับบริบทรอบโครงการที่สร้ างอยู่บนฐาน
แพซึง่ รับน ้าหนักได้ ไม่มากนัก ถ้ าเลือกใช้ วสั ดุที่มีน ้าหนักมากอาจจะ
จมลงไปในน ้าได้ และลักษณะรอบโครงการเป็ นพื ้นที่โล่งปราศจาก
สิ่งปกคลุม ทาให้ ตวั อาคารต้ องรับแสงแดดในทุกๆด้ าน การใช้ อิฐ
มวลเบาจึงช่วยลดความร้ อนได้
โครงสร้ างอาคารพักอาศัยในพิษณุโลก
เป็ นโครงกำรอำคำรพักอำศัยควำมมี
สูง8ชั้น เจ้ำของโครงกำรเลือกใช้ผนัง
อิฐมวลเบำในกำรก่อสร้ำง เพรำะ
ต้องกำรให้อำคำรสร้ำงเร็จโดยเร็วและ
เป็ นกำรช่วยลดอุณหภูมิควำมร้อนได้
อีกทำงหนึ่ง
กำรก่อสร้ำงบ้ำนพักอำศัย
ในพิษณุโลก
ผนังทัว่ ไปใช้ อิฐมวลเบาฉาบปูนเรี ยบทาสีที่มีคณ
ุ สมบัติ เรื่ องกัน
ความร้ อนและดูดซับเสียง มาช่วยลดการแพร่กระจายรังสีความร้ อน
จากดวงอาทิตย์อีกทางหนึง่ ด้ วย
โครงการแกรนด์ โฮม ทาวเฮ้ าส์ สไตล์
บ้ านเดี่ยว พิษณุโลก
โครงการพฤษาธารา
กำรเลือกใช้ผนังอิฐมวลเบำมำก่อสร้ำงอำคำร
ประเภทบ้ำนเช่ำเป็ นที่นิยมมำกในจังหวัด
พิษณุโลกของเรำและในเขตมหำวิทยำลัย
นเรศวรก็มีกำรใช้ผนังอิฐมวลเบำหลำย
โครงกำร เพรำะก่อสร้ำงได้รวดเร็ว และถ้ำ
เปิ ดให้ลูกค้ำเข้ำใช้เร็วก็จะทำให้ได้กำไรเร็ว
ขึ้น
“ ก่ อนการออกแบบงานทางด้ านสถาปั ตยกรรมในแต่ ละครัง้ ควรจะมีการศึกษาและวิเคราะห์
เกี่ยวกับเรื่ องบริบท สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศให้ ละเอียดเสียก่ อน เพื่อเป็ นแนวทางในการ
เลือกใช้ วัสดุให้ สอดคล้ องตามลักษณะต่ างๆ เพื่องานที่เราได้ สร้ างสรรค์ คิดออกแบบมาสามารถตอบ
วัตถุประสงค์ และความต้ องการของผู้อยู่อาศัยได้ อย่ างมีประสิทธิภาพ ”
ที่มา:
วัสดุทาผนังที่มีคา่ ความต้ านทานความร้ อนสูง
http://winyou.asia/kato/lightweightconcrete.htm
ผนังกันความร้ อน
http://www.khomesmilesclub.com/w_homesmilesclub/W_decor_detail.aspx?S_C_IDCODE=803