basichsm - ดาวน์โหลด - สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ (สจรส
Download
Report
Transcript basichsm - ดาวน์โหลด - สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ (สจรส
พืน้ ฐานการจัดการ
Basics of Management
ผศ.ภก.พงค์ เทพ สุ ธีรวุฒิ
Pongthep Sutheravut
ผู้อานวยการสถาบันวิจัยระบบสุ ขภาพ ภาคใต้
[email protected]
คุณสมบัตขิ องนักจัดการ
Literacy
Competence
Skill
นักบริหาร นักจัดการ
1. ความรู้ ความเป็ น (Literacy) เป็ นความ “รู้ ” ความ “เป็ น” พืน้ ฐานในสิ่ งที่
จาเป็ นต่ อการเข้ าใจศาสตร์ และวิทยาการใหม่ ๆ คาชาวบ้ านทีม่ ักจะพูดว่ า
“ฉลาดแต่ ไม่ เฉลียว” ก็คอื ความหมายทีว่ ่ าเรียนรู้ มาเสี ยเยอะ แต่ ช่างไม่ เข้ าใจ
อะไรบ้ างเลยโดยเฉพาะถ้ าเป็ นประเด็นใหม่ ๆ
2. ทาเป็ น (Skill) เป็ นเสมือนหนึ่ง “ฝี มือช่ าง” ทีจ่ าเป็ นต้ องเป็ น ทุกคนล้ วนกิน
อาหารเป็ น แต่ ไม่ ทุกคนที่ “ทา” อาหารเป็ น
3. ทาได้ ดมี ีศักยภาพ (Competence) เป็ นสิ่ งทีม่ ากกว่ าแค่ “ทาเป็ น” ดังเช่ น คน
เขียนหนังสื อเป็ น ไม่ ได้ หมายความว่ าจะมีศักยภาพเป็ นนักเขียนได้
Competence ในเรื่องหนึ่งเรื่องใด หมายถึง ความสามารถทีล่ กึ ถึงระดับ
ตีความและประเมินได้ ด้วย
ความรู้ ความเป็ น (Literacy) = mental skill
Literacy พืน้ ฐาน
1. ด้ านสารสนเทศ (Information Literacy)
2. ด้ านมัลติมีเดีย (Multimedia Literacy)
3. ประเด็นโลกาภิวฒ
ั น์ (Globalization Literacy)
4. ประเด็นเศรษฐกิจ
5. ด้ านตรรกะทางวิทยาศาสตร์
6. ฯลฯ
ทักษะ (Skill)
การแบ่ งเป็ น 4 กลุ่ม
1. กลุ่มทีห่ นึ่งเรียกว่ า ทักษะพืน้ ฐาน (Basic Skill)
2. กลุ่มทีส่ องเรียกว่ า ทักษะด้ านเทคนิค (Technical Skill)
3. กลุ่มทีส่ าม เรียกว่ า ทักษะเชิงองค์ กร (Organization Skill)
4. กลุ่มทีส่ ี่ เรียกว่ า ทักษะเฉพาะด้ านขององค์ กร (Specific Company Skill)
ศักยภาพ (Competence)
คนที่จะสามารถแข่ งขันได้ ควรมีศักยภาพใน 5 ด้ านต่ อไปนี้
1. ทรัพยากร (Resource)
2. ระบบ (Systems)
3. สารสนเทศ (Information)
4. เทคโนโลยี (Technology)
5. คนและสั งคม การทางานสอดประสานร่ วมงานกับคนอืน่ ได้
(Interpersonal Skill)
ความรู้ความเป็ นทางคณิตศาสตร์ (Math Literacy)
• พืน้ ฐานคณิตศาสตร์ ช้ันประถมปลาย (Basic) หลักคิดในการคานวณ
พืน้ ฐาน เช่ น สั ดส่ วน บัญญัติไตรยางศ์ เศษส่ วน ร้ อยละ สู ตรการเงิน
พืน้ ฐานในการคานวณดอกเบีย้ ค่ าของเงินในระยะเวลาที่ต่างกัน ค่ าเงิน
เฟ้อ
• พืน้ ฐานคณิตศาสตร์ ระดับกลาง (Intermediate) คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยม
เช่ น หลักการแคลคูลสั เบือ้ งต้ น ตรีโกณมิติ คณิตศาสตร์ ด้านนีจ้ ะช่ วย
แก้ปัญหาทีก่ ารวัดแบบธรรมดาทาไม่ ได้ เช่ น การวัดความสู งของอาคาร
ความกว้ างของแม่ นา้ การวางโครงสร้ างของบ้ าน อาคารให้ สมดุล
ระดับก้าวหน้ า (Advance)
เป็ นคณิตศาสตร์ ในระดับที่ใช้ ในการพัฒนา ต่ อยอด เช่ น
• Simulation & Modeling รู้จักการสร้ างปัญหาหลักคณิตศาสตร์ ด้วยการ
สร้ างแบบจาลอง หรือโมเดลของการหาคาตอบ คนออกแบบเกม
คอมพิวเตอร์ ล้วนต้ องเข้ าใจคณิตศาสตร์ ในระดับนี้
• Statistics พืน้ ฐานความรู้ในการใช้ หลักสถิติคานวณหาค่ าเบี่ยงเบนของ
ชุ ดความเป็ นไปได้ ของคาตอบ ระดับทีช่ ่ วยในการวางแผนทางธุรกิจ การ
ลงทุนมีเสี่ ยงน้ อยลง
• Possibility ความน่ าจะเป็ น เป็ นการคาดคะเนอนาคต
• Operation Research /Optimization หลักการคานวณหาความ
เหมาะสม
• โครงการ การผลิต การวางแผน Pert การใช้ Gantt Chart เพือ่ ให้ มีความ
ประหยัดต้ นทุนการผลิต เพือ่ ให้ สามารถแข่ งขันกับประเทศคู่แข่ งอืน่ ๆ ได้
• Algorithms เป็ นลาดับขั้นตอนที่แน่ นอนซึ่งใช้ ในการแก้ ปัญหา หรือเป็ น
กระบวนการแก้ ปัญหาอย่ างเป็ นระบบทีแ่ น่ นอนตายตัว อันนีเ้ ป็ นการสร้ าง
ระบบการแก้ ปัญหาเพือ่ ไม่ ต้องพึง่ พาแรงงานมนุษย์ ในบางเรื่องประเทศทีม่ ี
ค่ าแรงแพง สามารถทาสิ นค้ า/บริการในต้ นทุนทีต่ า่ กว่ าเรา ทั้งๆ ทีเ่ รามีค่าแรง
ทีถ่ ูกกว่ า ก็ด้วยการอาศัยการคิดคานวณแบบนี้
• Chaos วิธีการของคณิตศาสตร์ ในการหารู ปแบบทีแ่ น่ นอนในสถานการณ์ ทมี่ ี
ความซับซ้ อนสู ง เช่ น ใช้ ในการแก้ ปัญหาการเมือง ปัญหาภูมิอากาศ ปัญหาที่
มีหลายปัญหาเกิดขึน้ พร้ อมๆ กันในสถานการณ์ เดียวกัน
ความรู้ ความเป็ นด้ านเศรษฐศาสตร์ พนื้ ฐาน
(Economic Literacy)
• เข้ าใจเรื่องต้ นทุน ผลประโยชน์ ความจากัดทางทรัพยากร เรื่องการแข่ งขัน เรื่อง
ประเด็นทางสาธารณะ การจัดสรรทรัพยากรของสั งคม รวมถึงเรื่องการกีดกันทาง
การค้ า โดยใช้ ข้อมูลเชิงตัวเลขมาช่ วยให้ เข้ าใจปัญหาตลาดผู้บริโภค เช่ น ชาวบ้ าน
หรือกลุ่มผลประโยชน์ ทอี่ อกมาเรียกร้ องให้ รัฐบาลช่ วย แต่ ยอมเสี ยภาษี แล้วรัฐจะ
ไปมีรายได้ จากไหนมาตอบสนองการเรียกร้ อง หากกลุ่มใดคิดว่ าคนอืน่ คงช่ วย กลุ่ม
อืน่ ๆ ก็คดิ เช่ นเดียวกัน ลงท้ ายคือไม่ มกี ารช่ วยอะไรเกิดขึน้
• เข้ าใจคาจากัดความ ความหมายของรายได้ การกระจายรายได้ ดอกเบีย้ อัตราการ
เจริญเติบโต เงินเฟ้อ การว่ างงาน การลงทุน และความเสี่ ยงทางธุรกิจ รวมถึงรู้ จัก
การคานวณโอกาสทางธุรกิจ และรู้ ว่าเขาใช้ วธิ ีการเก็บรวบรวมการจัดการอย่ างไร
• รู้ จักการใช้ ข้อมูลเหล่ านีใ้ นฐานะของผู้บริโภค ผู้ผลิต ผู้ให้ บริการ หรือผู้ลงทุน
เปรียบเทียบระหว่ างผลประโยชน์ กบั ต้ นทุนของแต่ ละวิธี เช่ น พนักงานเรียกร้ อง
ผลตอบแทนมากกว่ าคุณค่ าที่ตัวเองสร้ างได้ ถ้ าเป็ นเรา เราจะจ้ างตัวเองด้วย
ค่ าใช้ จ่ายนีไ้ หม
• เข้ าใจการใช้ วธิ ีการต่ างๆ กันในการแก้ ปัญหา แล้ วดูว่าทางเลือกไหนดีทสี่ ุ ด เช่ น การขึน้
ดอกเบีย้ จะกระทบเศรษฐกิจอย่างไร การลดค่ าเงินบาทใครได้ ใครเสี ย
• สามารถประเมินผลประโยชน์ ทจี่ ะเกิดขึน้ จากโครงการหนึ่งๆ ว่ าใครได้ ประโยชน์ บ้าง
เพราะเศรษฐกิจในบางแง่ มุมเป็ น Zero sum game คือมีคนได้ ก็ต้องมีคนเสี ย
• รู้ ว่าผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจสามารถมีอทิ ธิพลต่ อพฤติกรรมของคน และรู้ว่ามี
อิทธิพลต่ อตนเองอย่างไร จะได้ ไม่ ตกเป็ นเหยือ่ ขวนเชื่อของชาวบ้ านง่ ายๆ เช่ น
รายการแชร่ ลูกโซ่ ทุกชนิด ทีค่ นไทยตกเป็ นเหยือ่ ซ้าซาก ก็เพราะไม่ มแี นวคิดเรื่อง
เศรษฐกิจ
• เข้ าใจกฎการแข่ งขัน การขาดแคลนจริง ขาดแคลนเทียม การล้นตลาด เช่ น ปัญหาคน
เลีย้ งหมู คนปลูกทุเรียนทีม่ ปี ัญหาซ้าซากทุกปี การเลือกเรียนสาขาด้านธุรกิจ
สื่ อสารมวลชน โดยไม่ ได้ ดูตลาดแรงงาน ก็เป็ นปัญหาหนึ่งของเหตุการณ์ เมือ่ จบแล้ว
ไม่ สามารถหางานทาได้
• สามารถเข้ าใจและอธิบายบทบาทของหน่ วยงานด้ านเศรษฐกิจทั้งภาครัฐ
และเอกชน ทีม่ ีผลกระทบต่ อภาพรวมทางเศรษฐกิจโดยรวม เงินทุน
สารองระหว่ างประเทศ เช่ น ธนาคารชาติ สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจ
กระทรวงการคลัง นโยบายขององค์ กรขนาดใหญ่ ทเี่ ป็ นผู้กาหนดทิศทาง
ของตลาด (มาม่ า, ปตท., สมาคมโรงสี ข้าง)
• รู้จักการเปรียบเทียบนโยบายทางเศรษฐกิจของพรรคการเมือง
หน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ องว่ าผลประโยชน์ ทเี่ ราได้ รับ กับต้ นทุนที่เราต้ องจ่ าย
มีอะไรบ้ าง และใครบ้ างทีเ่ ป็ นคนแบกต้ นทุนนีใ้ นทีส่ ุ ด มิเช่ นนั้นนโยบาย
ประชานิยมก็จะย้ อนกลับมาหาเราในรูปภาษีทตี่ ้ องแบกรับในอนาคต
• เข้ าใจบทบาทของผู้ประกอบการ บทบาทของภาคธุรกิจขนาดเล็กนโยบาย
ของรัฐสะท้ อนให้ เห็นว่ าไม่ มีความลึกซึ้งในความเดียงสาทางเศรษฐกิจเพราะ
มีท้งั กีดกัน และส่ งเสริมภายในเวลาเดียวกัน ทาให้ พายเรือในอ่ าง เช่ น ส่ งเสริม
ให้ เกิดOTOP เพือ่ ให้ มีปริมาณรายได้ มากพอ แต่ ไม่ ส่งเสริมให้ มองว่ าจะล้ น
ตลาดหรือไม่ ส่ งเสริมให้ มีตกึ แถวเพือ่ การค้ า แต่ ในขณะเดียวกันก็ปล่ อยให้ มี
การใช้ ทสี่ าธารณะมาเป็ นประโยชน์ ในการจอดรถ ตั้งเต็นท์ ขายริมถนน ฯลฯ
• รู้ ว่าบทบาท อานาจต่ อรองของประเทศ ของบริษทั ของตัวเองกับหุ้นส่ วน
อืน่ ๆ อยู่ในสถานะไหน เช่ น ประเทศไทยผลิตข้ าว ยาง กุ้ง ไก ผลไม้ เป็ นอันดับ
ต้ นๆ แต่ ไม่ สามารถกาหนดราคาได้ แต่โอเปคกาหนดราคาได้ เมืองจันทบุรี
กาหนดทิศทางของตลาดพลอยโลกได้ ทั้งๆ ทีพ่ ลอยส่ วนใหญ่ ในปัจจุบันนีก้ ็
มาจากทวีปแอฟริกา เป็ นต้ น ประชาชนเป็ นผู้เสี ยภาษี แต่ ไม่ สามารถเข้ าถึง
ข้ อมูลทีเ่ ก็บไว้ ในหน่ วยราชการ ทีน่ ามาซึ่งการใช้ เพือ่ ให้ เกิดการแข่ งขันได้
ความรู้ ความเป็ นด้ านเทคโนโลยี
(Technology Literacy)
ตอบโจทย์ ใน 6 ด้ านต่ อไปนีไ้ ด้
• เพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพ เพือ่ เอาชนะแรงกาย แรงสมอง เช่ น การใช้ เครื่อง
คิดเลขเพือ่ ที่เราจะได้ มีเวลาเหลือไปทาอย่ างอืน่
• เพือ่ เชื่อมโยงการสื่ อสาร เพือ่ เอาชนะเรื่องระยะทาง ประหยัดค่ าใช้ จ่าย
และเวลา
• เพือ่ การศึกษา และสั นทนาการ เพือ่ เพิม่ ความเร็วในการเรียน และ
สุ นทรียแห่ งชีวติ
• เพือ่ เป็ นเครื่องมือในการสร้ างสิ่ งใหม่ มูลค่ าใหม่ ๆ เครื่องมือใหม่ สิ่ งประดิษฐ์
ใหม่ จะไม่ สามารถสร้ างขึน้ ได้ หากไม่ มีเครื่องมือเก่ า เราจะไม่ มหี นังสื อดีๆ
วรรณกรรมดีๆ หากไม่ มีตวั หนังสื อตั้งแต่ ต้น เราจะไม่ มีอุตสาหกรรม
ท่ องเทีย่ ว หากไม่ มีอุตสาหกรรมโรงแรมมาก่ อน เราจึงต้ องพยายามตอบโจทย์
ในระดับตัวเราเองให้ ได้ ว่าเทคโนโลยีแต่ ละชิ้นทีเ่ รามีเพือ่ สร้ างสิ่ งใหม่ ๆ อะไร
ได้ บ้าง
• เพือ่ เป็ นอุปกรณ์ ในการสร้ างแบบจาลอง ในบางกรณี เราสามารถรู้ ถงึ ผลลัพธ์
ก่ อนการเกิดขึน้ ของสถานการณ์ ใดๆ ด้ วยการสร้ างแบบจาลองดังนั้น
เทคโนโลยีจึงเข้ ามามีบทบาทอย่ างมากในการลดความเสี่ ยงของเราด้ วยการ
สร้ างแบบจาลองให้ เราได้ มีประสบการณ์ ก่อนทีจ่ ะตัดสิ นใจจริง
• เพือ่ สร้ างอารยธรรมใหม่ โลกไซเบอร์ ระบบเศรษฐกิจใหม่ ๆ คืออารยธรรม
ใหม่ ทสี่ ร้ างขึน้ ด้ วยเทคโนโลยี เช่ น เทคโนโลยีเครื่องจักรไอนา้ ทาให้ อารย
ธรรมการเดินทะเลไกลๆ ไปสู่ อารยธรรมใหม่ ๆ และนาไปสู่ การถ่ ายทอดอารย
ธรรมซึ่งกันและกัน ในทางกลับกัน เทคโนโลยี ก็ทาให้ อารยธรรมใหม่ ของการ
ไม่ มีงานทากาลังจะเกิดขึน้ ได้ เช่ นกัน เพราะมันเข้ ามาแย่ งงานของเราไปหมด
หากเราไม่ ปรับตัวเราจะเป็ นเหยือ่ ในอีกมิติหนึ่งของเทคโนโลยี
เราต้ องรู้ อะไรเกีย่ วกับเทคโนโลยี
อุปกรณ์ เทคโนโลยีแต่ ละชนิดและขีดจากัดของมันเป็ นอย่ างไร กรณีของการใช้
รถโฟร์ วลิ ไดร์ ฟในเมืองเป็ นตัวอย่างของการไม่ เข้ าใจแนวคิดทางเทคโนโลยี แต่ อาจ
เป็ นประเด็นของการตลาดแทน การเลือกซื้อเลือกใช้ จึงต้ องมุ่งเน้ นที่แนวคิดหลัก
ก่ อน ส่ วนลูกเล่ นอืน่ ๆ เป็ นแนวคิดรอง บางครั้งซื้อแยกถูกกว่ าซื้อรวม เช่ น
โทรศัพท์ เคลือ่ นทีพ่ ร้ อมกล้ องถ่ ายรู ปคุณภาพสู งถ้ าแยกซื้อโทรศัพท์ พนื้ ฐาน และ
กล้ องถ่ ายรู ปคุณภาพดีรวมกันแล้ วยังถูกว่ า แถมแบ่ งปันให้ คนอืน่ ไปแยกกันใช้ งาน
ได้
Tools รู้ จักเครื่องมือในเทคโนโลยีแต่ ละชนิด เช่ น การสื่ อสารมีอะไรบ้ าง มี
อุปกรณ์ เสริมอะไรบ้ าง การใช้ งานทีส่ ั มพันธ์ กบั เทคโนโลยีอนื่ เทคโนโลยีบางอย่ าง
อาจใช้ เป็ นเครื่องมือในอีกเทคโนโลยีหนึ่งเช่ น เมาส์ คอมพิวเตอร์ แม้ ว่าจะมี
นวัตกรรมใหม่ ขนาดไหนก็ไม่ มีประโยชน์ หากไม่ นามาใช้ กบั เครื่องคอมพิวเตอร์
หรือเครื่องประมวลผลจะมีประสิ ทธิภาพมากเท่ าไรก็ตาม ก็ไร้ ค่าถ้ าไม่ มีเทคโนโลยี
จอภาพทีจ่ ะแสดงผลให้ เราได้ เห็น
Innovation & Design เทคโนโลยีแต่ ละด้ านอาจไม่ สามารถแก้ ปัญหาของ
เราได้ จึงต้ องมีศักยภาพในการประยุกต์ ออกแบบ นาเอาเทคโนโลยีเหล่านั้นมา
ใช้ งาน เช่ น ถ้ าคอมพิวเตอร์ มีแต่ ซีพยี ูกไ็ ม่ มีประโยชน์ อะไร หากนักประดิษฐ์
ไม่ คดิ ค้ นวิธีการสื่ อการกับเราผ่ านคีย์บอร์ ด เมาส์ และจอแสดงผลหรือ
โทรทัศน์ วงจรปิ ด (CCTV) ก็คงไม่ เป็ นเหมือนเช่ นทุกวันนี้ ถ้ าเรามองอุปกรณ์
แต่ ละชนิดแยกส่ วนกันเป็ นกล้ อง เป็ นฮาร์ ดดิสก์ การประยุกต์ ใช้ กจ็ ะไม่
เกิดขึน้ แต่ เมื่อรวมกล้ อง การสื่ อสารและการบันทึกลงบนฮาร์ ดดิสก์ ก็
กลายเป็ นอุปกรณ์ เฝ้ าระวังความปลอดภัยให้ เราได้
Impact & Economics ต้ องสามารถคาดเดาถึงข้ อดี-ข้ อเสี ยของการใช้
เทคโนโลยีแต่ ละชนิด รวมถึงผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจ การถ่ ายภาพโป๊
เปลือยกับแฟน เพราะเข้ าใจว่ าสองคนจะซื่อสั ตย์ ต่อกันตลอดชีวติ แต่ เมื่อไม่
เป็ นไปตามคาดจนอีกฝ่ ายนาภาพออกเผยแพร่ เป็ นการสะท้ อนถึงความไร้
เดียงสาทางเทคโนโลยี
ความรู้ ความเป็ นในการนาชีวติ ตัวเอง
(Self Direction, Self Esteem, Self Management)
สิ่ งทีต่ ้ องทาความเข้ าใจถึงองค์ ประกอบของความเดียงสาในการนาชีวิตตนเอง 8
ด้ านด้ วยกัน คือ
1. เสรีภาพ (Freedom) ปัญหาคือคนส่ วนใหญ่ เรียกร้ องเสรีภาพ แต่ เมือ่ ได้ แล้ว
กลับไม่ มวี ุฒิภาวะในการจัดการ จึงกลายเป็ นใช้ เสรีภาพในการละเมิดคนอืน่ และ
ตัวเองและท้ ายทีส่ ุ ดก็นาปัญหาชีวิตมาสู่ ตนเอง ความมีเสรีภาพในมิตนิ ีห้ มายถึง
ความสามารถในการเลือกโดยไม่ อยู่ภายใต้ อทิ ธิพลการโฆษณาชวนเชื่อหรือชักจูงใจ
ในการดารงชีวติ ไม่ ว่าจะเป็ นชีวติ ประจาวัน หน้ าทีก่ ารงาน ครอบครัว และชุ มชนที่
ตนอยากสั งกัด เราต้ องมีเสรีภาพในการเลือกภายในขอบเขตทีม่ เี หตุผลโดยต้อง
เข้ าใจเสมอว่ า สิ ทธิ์ หรือเสรีภาพ ต้ องตามมาด้ วย หน้ าที่ หรือความรับผิดชอบ
เปรียบเสมือนรถก็ต้องมีล้อ ถ้ าไม่ มลี ้อ เขาไม่ เรียกว่ ารถ แต่ เมือ่ มีล้อ ก็ต้องมีเบรก
2. อานาจ (Authority) หมายถึงความยับยั้งชั่งใจในการใช้ เสรีภาพ ทั้งการเงิน
การเรียนรู้ คู่ชีวติ และงาน จะอ้ างความไม่ รู้ หรือความซื่อไม่ ได้ อกี ต่ อไปใน
ศตวรรษนี้ เพราะความซื่อด้ วยความไม่ รู้ กไ็ ม่ ต่างอะไรจาก “โง่ ” คน
ส่ วนมากมักมองเรื่อง “อานาจ” เป็ นเรื่องของการทาให้ คนอืน่ ศิโรราบกับ
ตนเองเป็ นหลัก ไม่ ค่อยได้ มองว่ า แล้ วจะทาให้ ตัวเองเดิมไปในทางทีถ่ ูกต้ อง
อย่ างไรแทน
3. สนับสนุน (Support) รู้ จักการให้ และรับการสนับสนุน คนทีไ่ ม่ เคยให้ แบมือ
ขออย่ างเดียว จะไม่ สามารถนาชีวติ ตนเอง และกลายเป็ นผู้มี “จิตขอทาน”
ในทีส่ ุ ด คือไม่ ยอมกาหนดชะตาชีวติ ได้ ด้วยตนเอง ระบบอุปถัมภ์ ทหี่ ยัง่ ราก
ลึกในสั งคมไทยทีห่ วังให้ พ่อแม่ ช่วย หน่ วยงานช่ วย รัฐบาลช่ วย คือทุกคน
ต้ องช่ วยเรายกเว้ นตัวเราเอง การให้ กเ็ หมือนกับการสอนทีค่ นเรียนมากทีส่ ุ ด
คือ คนสอน เช่ น เดียวกับคนทีไ่ ด้ รับมากทีส่ ุ ดคือคนให้ การสนับสนุนเป็ น
จะเลือกมีจิตอาสาหรือจิตขอทานก็แล้ วแต่
4. ความรับผิดชอบ (Responsibility) คนต้ องเรียนรู้ ทจี่ ะอยู่รับผลที่ตามมาจาก
การตัดสิ นใจของตนเอง เวลาชมภาพยนตร์ ฝรั่ง ตัวเอกจึงไม่ เลือกความสะใจโดย
การยิงคนร้ ายตายในทีส่ ุ ด เพราะนั่นทาให้ คนร้ ายไม่ ได้ รับผลที่ตนเองก่อ ความ
รับผิดชอบนีม้ ีท้งั ในระนาบต่ อตัวเองและต่ อทีม ถึงแม้ ว่าเราจะไม่ เห็นด้ วย แต่ เมือ่
ทาเป็ นทีมแล้วก็ต้องร่ วมรับด้ วยกัน ผลการกระทาใดๆ ของตนที่ได้ ตัดสิ นใจทาไป
แล้ ว จะอ้ างภายหลังว่ า ทาไปเพราะอายุน้อย ประสบการณ์ น้อยไม่ ได้ คนเราต้ อง
อยู่กบั ผลของการตัดสิ นใจของตัวเอง และเรียนรู้ ทจี่ ะสลัด หรือแก้ ปัญหาจากสิ่ งที่
ตนได้ ทาไปเอง การพึง่ ตัวช่ วย จะไม่ ทาให้ เราพัฒนาความเดียงสาเรื่องความ
รับผิดชอบ
5. ยอมรับความจริงที่ไม่ ชอบ (Conformation) โลกไม่ ได้ รื่นรมย์เหมือนนิยายนา้
เน่ าราคาถูก มันเจือด้ วยความทุกข์ -สุ ขมากน้ อยแล้ วแต่ จังหวะ คนสุ ขเรื่อยๆ ก็จะ
เบื่อสุ ข คนทีส่ ุ ขบ้ าง ทุกข์ บ้าง จะช่ วยให้ เรามีความเดียงสาทีจ่ ะอยู่กบั สิ่ งทีเ่ ราไม่
ชอบไม่ ว่าจะเป็ นคน สถานการณ์ งาน อาหาร ฯลฯ
6. ความกระตือรือร้ น (Curiosity) กระหายทีจ่ ะเรียนรู้ อยากทางานใหม่ ๆ
ด้ วยตนเอง ไม่ ต้องให้ ใครสั่ งการ ไม่ จาเป็ นต้ องถูกบีบบังคับโดยสถานการณ์
7. ยอมรับความเสี่ ยง (Risking) กล้ ารับความเสี่ ยงทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงยอมรับ
มอบหมายงานใหม่ ๆ ด้ วยความเต็มใจ ทีส่ าคัญทีส่ ุ ด หากคนไม่ ยอมรับความ
เสี่ ยงในการเรียนรู้ สิ่งใหม่ ๆ ด้ วยการละจากความรู้ สึกมั่นคง ก็จะไม่ มีความรู้
ใหม่ ๆ ทันใช้ รับการเปลีย่ นแปลงของโลก
8. รู้ จักดูแลสุ ขภาพตัวเองเป็ น (Health & Wellness awareness) สุ ขภาพ
ร่ างกายและจิตใจ เป็ นเครื่องมือในการทางาน หากไม่ อยู่ในสภาพทีจ่ ะใช้ งาน
ได้ เต็มที่ ก็ส่งผลต่ อการทางานแน่ นอน
ความรู้ความเป็ นด้ านจริยธรรม (Ethics)
หลักจริยธรรมพืน้ ฐาน มีองค์ ประกอบทีเ่ ราต้ องพัฒนาความเดียงสาอยู่ 6 ด้ านคือ
1. ความซื่อสั ตย์ (Trustworthiness) มีประเด็นเล็กๆ 4 ด้ าน
1.1 ความมัน่ คง (Integrity) มีจุดยืนทีแ่ น่ นอนไม่ แกว่ งตามกระแสหากอยู่ใน
สิ่ งแวดล้ อมทีม่ กี ารทุจริต ก็ควรมีจิตสานึกทีถ่ ูกต้ อง มีหลักการ มีความกล้าหาญใน
การทาสิ่ งทีถ่ ูกต้ อง แม้ จะได้ รับการต่ อต้ าน ไม่ ถอดใจง่ ายๆ กับอุปสรรคทีม่ ักเกิดขึน้
เสมอ เป็ นธรรมชาติอย่ างหนึ่งของมนุษย์ ที่พวกมากมักลากไป หรือเข้ าเมืองตา
หลิว่ ต้ องหลิว่ ตาตาม
1.2 สั มมาสุ จริต (Honesty) พูดความจริงไม่ เอาเปรียบแม้ มโี อกาส ไม่ ตุกติก ไม่
ทาผิดแม้ ไม่ มคี นเห็นก็ตาม หรือการใส่ ร้ายคนอืน่ ลับหลังเพือ่ ให้ ตนดีกว่ าคนอืน่
1.3 ความไว้ วางใจ (Reliability) เมือ่ รับปากแล้ว ต้ องรักษาสั ญญาเรียกว่ า
สามารถพึง่ ได้ ทาในสิ่ งทีถ่ ูก
1.4 ความภักดี (Loyalty) สามารถยืนหยัดปกป้องชื่อเสี ยง ครอบครัว องค์ กร
สั งคม และประเทศชาติได้
2. ความเคารพผู้อนื่ (Respect)
2.1 กฎทองคา (Golden Rule) เป็ นกฎทีส่ าคัญมากๆ มีหลักง่ ายๆ คือ “อกเขาอก
เรา” ให้ เกียรติ ความเป็ นส่ วนตัว และเสรีภาพของคนอืน่ เคารพในสิ ทธิ์ของคนอืน่
แบ่ งปันการใช้ สาธารณสมบัตอิ ย่างเป็ นธรรม ไม่ เอาเปรียบ
2.2 อดทนและยอมรับตามอย่างทีเ่ ป็ น (Tolerance& Acceptance) ยอมรับใน
ความสามารถของคนอืน่ ถ้ าเราไม่ สามารถแข่ งได้ กต็ ้ องยอมรับ ไม่ ตดั สิ นจากเชื้อ
ชาติ ศาสนา ฐานะทางสั งคม ยอมรับความแตกต่ างของคนอืน่ รู้ จักฟัง และแสดง
ความคิดเห็นตามสภาพ สั งคมไทยมีความปั่นป่ วนเพราะยังไม่ มปี ระสบการณ์ กบั
การอยู่กบั ความคิดเห็นทีต่ ่ าง อะไรทีไ่ ม่ เหมือนตนกลายเป็ นศัตรู จึงกลายเป็ นอยาก
ได้ ดงั ใจไปทุกอย่ าง
2.3 รักสั นติ (Nonviolence) แก้ ความขัดแย้ งด้ วยสั นติวิธี ไม่ พูดจาเสี ยดสี ดูถูกหรือ
ตัดสิ นด้ วยอารมณ์ ชั่ววูบ
2.4 อัธยาศัยดี (Courtesy) มารยาทดี สุ ภาพ ไม่ หัวเราะเยาะความเปิ่ นของคนอืน่
ไม่ ทาให้ คนอืน่ เสี ยหน้ า
3. ความรับผิดชอบ (Responsibility)
3.1 หน้ าที่ (Duty) ทุกคนมีหน้ าที่ท้ งั ในทางสั งคม กฎหมาย และจริยธรรมที่แม้ ไม่
มีการมอบหมายให้ เป็ นทางการ ก็ต้องทา ถ้ าเป็ นลูกก็ต้องดูแลพ่ อแม่ ถ้ าเป็ นพ่อแม่ ก็
ต้ องรับผิดชอบต่ อลูกที่เกิดจากเรา ถ้ าเป็ นประชาชนก็ต้องรักษากฎกติกาของสังคม
3.2 พึง่ พาได้ (Accountablility) นักเลงหัวไม้ บางคนเป็ นที่เกรงขามทั้งๆ ที่มนี ิสัย
เกเร เพราะพึง่ พาได้ เรียกว่ าถ้ าเพือ่ นถูกรังแก ก็จะออกโรงปกป้ องทันที แต่ การพึง่ พา
ได้ ทางจริยธรรม คือเป็ นมากกว่ าการพึง่ พาทางกาลัง แต่ เป็ นคนที่หากให้ ทาอะไรแล้ว
รับผิดชอบต่ อผลตามมาจากสิ่ งที่เราตัดสิ นใจ ฉะนั้นก่ อนทาอะไรก็ต้องคิดให้ รอบคอบ
ก่ อน รู้ จกั การวางแผนชีวติ ระยะยาว
3.3 พัฒนาตนไปสู่ ความเป็ นเลิศ (Pursue Excellence) มีความเพียรอดทน ทางาน
หนัก เพือ่ พัฒนาตนเองให้ เก่ งยิง่ ๆ ขึน้ เพือ่ ให้ เรามีความภูมใิ จในตนเอง
3.4 ควบคุมตนเอง (Self Control) รู้ จกั รับผิดชอบชีวติ ของตนเองตั้งเป้ าหมายเอง
เป็ น พัฒนาตนเองให้ แข็งแรงทั้งร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ บริหารเวลาและการเงิน ไม่ อยู่
ด้ วยการขอความช่ วยเหลือจากคนอืน่
4. ความเป็ นธรรม (Fairness)
4.1 ความยุตธิ รรม (Justice) ปฏิบตั ิกบั คนทัว่ ไปๆ ด้ วยความเท่ าเทียมกัน
โดยปราศจากการเอาพวกพ้อง การจะลงโทษใครก็เป็ นไปเพือ่ ผลประโยชน์ ที่
จะเกิดไม่ ได้ ทาทาด้ วยความสะใจ รู้ จักรับเฉพาะส่ วนทีค่ วรเป็ นของเรา ไม่ เอา
เปรียบคนอืน่ แต่ ทเี่ ป็ นอยู่การตีความ ความยุตธิ รรมเป็ นไปเพือ่ เข้ าข้ างตนเอง
คือถ้ าพวกตัวเองทาถือว่ าเป็ นข้ อยกเว้ น
4.2 ความโปร่ งใส (Openness) เปิ ดใจ จะตัดสิ นใจทาอะไร ต้ องคิดเผื่อ
คนอืน่ ว่ าทาไมเขาถึงเป็ นอย่ างนั้น ทุกคนมีกรอบในการนาเขามาสู่ จุดนี้ ดังนั้น
จึงไม่ ควรด่ วนตัดสิ นใจตามเหตุการณ์ เฉพาะหน้ า
5. ความใส่ ใจ (Caring)
5.1 ห่ วงใยคนอืน่ (Concern for others) รู้ จกั เห็นใจคนอืน่ ที่ด้อยโอกาสกว่าเรา มี
ความกรุ ณา รู้ จกั ขอบคุณ และบุญคุณที่คนอืน่ ทากับเรา แต่ ให้ อภัยกับสิ่งไม่ ดตี ่ อเรา ไม่
อารมณ์ ฉุนเฉียว
5.2 บุญ กุศล (Charity) รู้ จกั การทาบุญกุศล เผือ่ แผ่ ให้ สัตว์ โลกอืน่ ๆ บ้ าง
6. ความเป็ นประชาชน (Citizenship)
6.1 รู้ จกั หน้ าที่ของตนเอง (Do your share) อย่ างน้ อยที่สุด หากคนทาตามส่ วน
ความรับผิดชอบและหน้ าที่ของตนเอง ถึงแม้ ไม่ ต้องทาดี ถึงแม้ ไม่ ต้องทาดี ก็ไม่ ไป
เบียดเบียนใครในทางการเมืองสั งคมและอดีตมีคาว่ า “ไพร่ -คือคนที่ไม่ สนใจ ไม่
รับผิดชอบอะไรในสั งคมเลย” กับ “ประชาชนคือ คนที่ต้องใส่ ใจในสิทธิและหน้ าที่และ
ความเป็ นไปในสั งคม” ปัจจุบนั นีใ้ นทางกฎหมายเราเป็ นประชาชนทุกคนแต่ โดย
หน้ าที่แล้ ว บางคนยังไม่ ได้ ทาหน้ าที่ของตนเองให้ สมกับความเป็ นประชาชน
6.2 เคารพกฎหมาย (Respect Authority and the Law) ถือเป็ นหน้ าที่หนึ่งของคน
ในสั งคม มิเช่ นนั้น กฎหมายก็ไม่ ได้ เป็ นเครื่องมือในการคุ้มครองพวกเรา
ความรู้ ความเป็ นในการปรับตัวเรียนรู้ ด้วยตนเอง
(Adaptability Literacy)
กลยุทธ์ ในการปรับตัวมีอยู่ 8 ด้ านทีค่ วรทาความรู้ จักคือ
1. รับมือกับวิกฤติ (Handling Emergency of Crisis) มีความเดียงสาในการ
รับมือกับวิกฤติ และมีอารมณ์ มนั่ คงกับสถานการณ์ น้ัน การรับมือกับวิกฤติกบั ความ
บ้ าระห่าไม่ กลัวตายอย่างในภาพยนตร์ ฮอลลีวูดเป็ นคนละเรื่องกันในชีวิตจริง คนที่
มีคุณลักษณะนั้น ไม่ น่าจะมีชีวติ อยู่รอดได้ นาน กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ พบว่ า
คนทีก่ ลัวอันตราย/ตาย แต่ สามารถควบคุมอารมณ์ ได้ จะเป็ นหน่ วยจู่โจมทีด่ ี คนที่
ไม่ กลัวอันตรายอะไรเลยแบบบ้ าระห่าจะเป็ นอันตรายกับกองทัพดังนั้น การปะทะ
กับวิกฤติทุกคนล้ วนตื่นตระหนกทั้งสิ้น แต่ คนทีค่ วบคุมอารมณ์ได้ เร็วทีส่ ุ ด จึงเข้ า
ข่ ายนี้
2. รับมือกับความเครียดในงาน (Handing work stress) ลักษณะงานใน
สมัยใหม่ จะไม่ เป็ นงานเฉพาะด้ านเหมือนแต่ ก่อน ทุกองค์ กรล้ วนอยากได้
คนทีม่ ีความสามารถหลากหลายในการทางานแบบ all in one ซึ่งแน่ นอนว่ า
เมื่องานมีหลายด้ านความเครียดก็ย่อมต้ องมีมากขึน้ จึงจาเป็ นต้ อง
หลักธรรมและวุฒภิ าวะในการแก้ ปัญหา พร้ อมทีจ่ ะนาคนอืน่ คนทีร่ ับ
ความเครียดไม่ ได้ ก็ไม่ ต่างจากนางร้ ายในตัวละครทีเ่ อาแต่ กรีดร้ องจนทาให้
สถานการณ์ ยงิ่ เลวร้ ายลงไปอีก
3. การแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ าแบบไม่ มีรูปแบบมาก่ อน (Creative Problem
Solving) หากอยู่ๆ ธุรกิจทีด่ าเนินอยู่ เกิดโตขึน้ อย่ างรวดเร็วเป็ น 10 เท่ าตัว
เชื่อว่ า ความดีใจนั้นมีแน่ แต่ แน่ ใจหรือว่ าเราจะรับมือได้ ทัน โชคอาจผ่ านมา
เพียงครั้งเดียว ผู้คว้ าไว้ ได้ กส็ ามารถเปลีย่ นโชคชะตาได้ แต่ คนคว้ าไม่ ทนั
อาจไม่ มีโอกาสเป็ นครั้งทีส่ องอีก ผลสารวจแทบทุกสานักยืนยันตรงกันว่า
คนทีส่ ามารถแก้ ปัญหาทีไ่ ม่ เคยมีมาก่ อนได้ เป็ นทีต่ ้ องการของหน่ วยงาน
อย่ างยิง่ เนื่องจากความเป็ นระบบสามารถพัฒนาระบบงานหรือใช้
เครื่องจักรอัตโนมัติทาแทนได้ แต่ ความไม่ แน่ นอนคือสิ่ งที่เครื่องจักรยังสู้
มนุษย์ ไม่ ได้
4. รับมือกับความไม่ แน่ นอน (Dealing with Uncertain/unpre dictable work
situation) หน้ าทีข่ องผู้จัดการธนาคารคือ การบริหาร ให้ บริการแก่ ลูกค้ าที่มาใช้
บริการในท้ องที่ แต่ ถ้าเกิดมีโจรบุกเข้ ามาปล้ น หรือมีภัยธรรมชาติเกิดขึน้ ในท้ องถิ่น
ซึ่งเป็ นสิ่ งทีไ่ ม่ เคยคาดคิดมาก่ อน ถึงแม้ ผ้ จู ัดการคนนั้นจะเป็ นคนทางานดีอย่ างไรก็
ตาม แต่ ถ้าไม่ สามารถรับมือกับความผันผวนทีไ่ ม่ มรี ู ปแบบอย่ างนีม้ าก่ อนได้ ก็จะ
ทาให้ ลูกน้ อง และผู้บังคับบัญชาเสี ยศรัทธาในตัวผู้จัดการคนนีอ้ ย่ างหลีกเลีย่ งไม่ ได้
ความผันผวนทางเศรษฐกิจ และภัยธรรมชาติทเี่ กิดขึน้ บ่ อยครั้งแบบไม่ มฤี ดูกาล
เหมือนอดีต องค์ กรต่ างๆ ยิง่ อยากได้ เพือ่ นร่ วมงานทีส่ ามารถรับมือกับความไม่
แน่ นอนได้ มากยิง่ ขึน้ ความไม่ แน่ นอนจึงไม่ จากัดเพียงการแข่ งขันในเชิงธุรกิจ แต่
ปัจจัยภัยธรรมชาติที่เกิดขึน้ บ่ อยครั้ง อิทธิพลจากภายนอก เช่ น ประเทศผู้นาเข้ า
เกิดการปฏิวตั ิ เปลีย่ นกฎกติกา ทีอ่ าจส่ งผลต่ อการดาเนินงานของเราไม่ ให้ เป็ นไป
ตามแผนในสถานการณ์ เช่ นนั้น เป้ าหมายใหม่ คอื การลดความเสี ยหายให้ ได้ มาก
ทีส่ ุ ด
5. เรียนรู้ งานใหม่ เทคโนโลยีใหม่ เครื่องมือใหม่ (Learning Work Tasks,
Technologies & Procedures) งานหลายๆ อย่ างต้ องลองไป ทาไปแล้วเรียนไป
คนงานยุคใหม่ จงึ ต้ องสามารถประยุกต์ ใช้ เครื่องมือใหม่ ๆ และสามารถสรุ ปบทเรียน
เพือ่ สอนคนอืน่ ได้ หากทาได้ ด้วยตนเองเพียงครั้งเดียวแต่ ไม่ สามารถทาซ้าได้อกี ก็ไม่
ต่ างจาก “การมัว่ แบบเดาสุ่ ม” ความสามารถต้ องพิสูจน์ ซ้าได้ อกี ถึงจะยอมรับได้ว่า
เป็ นความสามารถ
6. ปรับตัวเข้ ากับคนอืน่ (Demonstration Interpersonal) หน่ วยงานหลายแห่ งมี
นโยบายจ้ างงานชั่วคราว การเปลีย่ นทีมงานจึงเกิดขึน้ บ่ อยครั้ง หากขาดวุฒิภาวะใน
การปรับตัวเข้ ากับคนอืน่ ได้ ต่ อให้ มฝี ี มือ ก็ไม่ อาจทางานสาเร็จได้
7. การปรับตัวเข้ ากับวัฒนธรรมอืน่ (Cultural Adaptability) งานไม่ ได้จากัดเฉพาะ
เพือ่ นร่ วมงานที่มาจากพืน้ ฐานทางสั งคมเดียวกัน อาจมาจากต่ างภาค ต่ างประเทศที่มี
วิถีการมองโลกต่ างกัน วุฒภิ าวะในการยอมรับความแตกต่ างในวัฒนธรรม โดยไม่ต้อง
มีการแบ่ งพวกอย่ างรุ นแรง (เหมือนอย่ างคนงานที่ไปทางานต่ างประเทศ หากมีการ
รวมกันเฉพาะกลุ่มสู ง นายจ้ างก็จะเกิดความไม่ สบายใจ)
8. ปรับตัวเข้ ากับสถานที่ใหม่ ๆ ได้ (Physically Oriented Adaptability) ในบางกรณี
บางจังหวะของชีวติ การทางาน เราไม่ สามารถเลือกที่จะทางานใกล้บ้านเสมอไป อาจ
ต้ องเดินทางไปต่ างถิ่นตามที่ได้ มอบหมาย คนที่ปรับที่อยู่ยาก ก็ยากที่จะอยู่รอด
ความรู้ ความเป็ นในการนาและตามในทีม
(Leadership)
1. ความสามารถในการวางแผนยุทธศาสตร์ ในทางทฤษฎี การเรียนรู้ หลักการ
ของยุทธศาสตร์ เป็ นสิ่ งทีไ่ ม่ ยาก แต่ การประยุกต์ ไปใช้ นั่นคือหัวใจทีต่ ้ อง
อาศัยความสามารถหลายอย่ างบวกประสบการณ์
2. ทักษะในการสื่ อสาร เป็ นหัวใจทีส่ าคัญทีส่ ุ ดในการบริหารจัดการองค์ กรก็ว่า
ได้ ซึ่งต้ องอาศัยความรู้ ในด้ าน EQ ทักษะการเล่ าเรื่อง การสร้ างแรงบันดาล
ใจและอีกหลายๆ ศาสตร์ ในการสื่ อสาร
3. ความสามารถในการควานหาคนเก่ งมาร่ วมทีม คนเก่ งมีธรรมชาติแตกตัว
ไปสร้ างรังใหม่ ได้ ง่าย ดังนั้นผู้นาต้ องเรียนรู้ เรื่องการบริหารสายสั มพันธ์
เพือ่ หาคนเก่ งๆ มาร่ วมงานอยู่ตลอดเวลา สิ่ งทีจ่ ะช่ วยในการดึงคนให้ อยาก
มาร่ วมงานคือการสร้ างผลงานให้ มากพอทีค่ นอยากมาร่ วมงาน
4. สามารถพัฒนา แสวงหานวัตกรรม ผู้นาคือคนทีส่ ามารถนาการพัฒนา
สิ นค้ าใหม่ ๆ หานวัตกรรมในการแข่ งขัน เนื่องจากวงจรสิ นค้ าและบริการสั้ น
มากขึน้ มีคู่แข่ งมากขึน้ นวัตกรรมจึงกลายเป็ นทางออกของทุกองค์ กร
5. มุ่งมั่นต่ อเป้ าหมายทีว่ างไว้ ในกรอบเวลาทีก่ าหนด ทุกโครงการมีขดี จากัด
ด้ านเวลาและทรัพยากรเป็ นตัวกาหนด ดังนั้นคุณลักษณะความมุ่งมัน่ ต่ อ
เป้าหมายจึงจาเป็ นมาก ถ้ าไม่ สามารถบรรลุเป้าหมายได้ ก็อาจทาให้ การนา
สั่ นคลอนในลาดับต่ อไป
6. เป็ นผู้เชี่ยวชาญในสาขาธุรกิจทีท่ าเป็ นอย่ างดี การจะเป็ นผู้เชี่ยวชาญสาขาใด
อย่ างน้ อยต้ องอยู่ในวงการนั้นไม่ น้อยกว่า 10 ปี หัวใจคือ เราต้ องอยู่ถูก
อุตสาหกรรมทีม่ ีโอกาสเติบโต และต้ องเป็ นสิ่ งทีต่ นเองชอบ ถ้ าอยู่ผดิ
อุตสาหกรรมต่ อให้ มีความชานาญขนาดไหน ก็ไม่ มีอนาคตอยู่ดี
7. เป็ นแบบอย่ างให้ คนอืน่ เลียนแบบ เรียนรู้ ได้ คนเก่ งๆ ดีๆ จะมาร่ วมทีมได้
แน่ นอนอยู่แล้ วว่า ต้ องเลือกคนทีเ่ ขาจะได้ มีโอกาสเอาเป็ นแบบอย่ างในการ
เรียนรู้
8. มีจริยธรรม คงไม่ มใี ครอยากเสี่ ยงให้ คนไม่ สุจริตบริหารงบประมาณจานวนมาก
ธรรมชาติของการบริหาร ต้ องมีอสิ ระ นั่นหมายความว่ าการควบคุมต้ องน้ อย
เมือ่ การควบคุมน้ อย คนคดโกงก็เห็นเป็ นช่ องทางในการทุจริตได้
9. รู้ เรื่องอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้ องกับธุรกิจทีท่ าทั้งระบบ ไม่ เพียงแต่ ต้องมีความ
ชานาญในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง แต่ ต้องรวมถึงธุรกิจและอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้ อง
ด้ วย เช่ น ถ้ าเป็ นนักดนตรีกต็ ้ องมีความรู้ เรื่องการบันทึกเสี ยง การจัดการอีเว้ นท์
อุตสาหกรรมภาพยนตร์ (ทีอ่ าจมาว่ าจ้ างให้ บรรเลงเพลงประกอบ) วงการแต่ ง
เพลงบริษัทผู้ผลิตเครื่องดนตรี ฯลฯ
10. สามารถปรับเปลีย่ นองค์ กรให้ ทนั กับการเปลีย่ นแปลง วงจรการเปลีย่ นแปลงที่ส้ั น
ทาให้ ผ้ นู าต้ องสามารถรับมือกับการเปลีย่ น และต้ องไกลถึงการนาการ
เปลีย่ นแปลง เพราะการเป็ นผู้นาการเปลีย่ นแปลง จะมีแรงกดดันน้ อยกว่ า
ทักษะในการสื่ อสารและการทางานเป็ นทีมแบบสอดประสาน
(Collaboration Skill)
ความสาคัญของทักษะในการทางานสอดประสานกัน มีดงั นี้
• ต้ องเข้ าใจโครงสร้ างของการทางานในลักษณะนี้ มีองค์ ประกอบ 4 ประการคือ
• มีเป้ าหมายร่ วมกัน คือรู้ ว่าจะทาอะไรร่ วมกัน ในกรอบเวลาทีก่ าหนดเหมือนคนที่
ใกล้ตายมักจะเริ่มลาดับความจาเป็ นเร่ งด่ วนของชีวิตได้ ทั้งๆ ทีก่ ่อนหน้ านั้นตลอด
ชีวติ ไม่ สามารถลาดับความสาคัญได้ เลย
• ศักยภาพ และความสามารถของสมาชิกในทีมใกล้เคียงกัน ดังเช่ น การแข่ งพายเรือ
ยาวทีฝ่ ี พายทุกคนต้ องรู้ จังหวะจ้ วง การบริหารแรงให้ มแี รงตลอดรอดฝัง่ โดย
สมาชิกแต่ ละคนไม่ สามารถอู้กนิ แรงกันได้ เลย
• ทั้งทีมทางานร่ วมกันภายใต้ โครงสร้ างเดียวกัน ไม่ มคี นใดคนหนึ่งมีอภิสิทธิ์เหนือ
คนอืน่ บรรยากาศและวัฒนธรรมที่เอือ้ พวกพ้อง หรือเครือญาติ จึงเป็ นอุปสรรคต่ อ
การทางานในแนวนี้
• มีความนับถือกัน ให้ อภัยกัน และมีความเชื่อถือซึ่งกันและกัน เนือ่ งจากการทางาน
ไม่ ได้ เห็นหน้ ากัน ความเกรงใจต่ อกันย่ อมมีน้อย การทาอะไรเกินขอบเขตบ้ างจึง
เป็ นสิ่ งทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ ได้ เมือ่ เกิดขึน้ แล้ ว ก็ต้องรู้ จักการปล่ อยผ่ าน
ต้ องเข้ าใจหลักการบริหารทีม ในการรวมกันทางานของทีม มีองค์ ประกอบ 8
ประการที่ต้องทาความเข้ าใจคือ
• Team Objective ในเป้าหมายใหญ่ ย่อมมีการแบ่ งเป็ นทีมย่ อยๆ และแต่
ละทีมต้ องรู้ว่าวัตถุประสงค์ รองของทีมเป็ นอย่ างไร
• Team Leader/Management Style ในการทางานแต่ ละทีมย่ อมต้ องมี
หัวหน้ าทีม ซึ่งบางครั้งอาจเป็ นลูกทีมในงานอืน่ ๆ ก็ได้ แต่ อย่ างไรก็ตาม
ไม่ ว่าจะเป็ นทีมไหน ต้ องรู้ว่าใครเป็ นหัวหน้ าทีม มีวธิ ีการทางานอย่ างไร
• Team Member Profile ต้ องรู้จักเพือ่ นร่ วมทีมแต่ ละคนว่ าเป็ นอย่ างไร มี
นิสัยอย่ างไร เก่งด้ านไหน อ่อนด้ านไหน
• Team Shape การเกาะกลุ่มกันของทีม มีคนทางานเต็มเวลากีค่ น พาร์ ท
ไทม์ กคี่ น มีผู้เชี่ยวชาญด้ านไหน มีขาจรเข้ ามาเมื่อไร ด้ านไหน
• Team Environment บรรยากาศทัว่ ๆ ไป กฎ กติกา การขึน้ กับปัจจัยภายนอก
มีไหม ได้ รับการอนุมัตจิ ากใคร มีอทิ ธิพลอะไรบ้ างทีส่ ่ งผลกระทบต่ อ
ประสิ ทธิภาพของทีม
• Team Working Approach ถึงแม้ ว่าจะมีการฟอร์ มเป็ นทีมในช่ วงสั้ นๆ ก็มี
วัฒนธรรมการทางานเป็ นทีมเช่ นกัน จึงต้ องรู้ ว่ามีวฒ
ั นธรรมการทางานเป็ น
อย่ างไร เวลาประชุ มมีพธิ ีรีตองอย่ างไร การสื่ อสารในทีม ทากันอย่ างไร ผ่ าน
วีดโี อคอนเฟอร์ เรนซ์ โทรศัพท์ แจกเอกสาร มีการพบปะกันบ่ อยแค่ ไหน
• Team Social Dynamic คนในทีมมีความคุ้นเคยกันขนาดไหน มีแรงบันดาล
ใจทีจ่ ะทุ่มเท ลงทุนในทีมสั กเท่ าไร
• Team Technology Factor ใช้ เทคโนโลยีอะไรเป็ นพิเศษ แต่ ละคนเก่ ง
ทางด้ านไหน มีศักยภาพอย่ างไร
ศักยภาพในการคิด
ทักษะในการคิดระดับสู ง Hot (Higher-Order Thinking)
• เป็ นทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ปรับมาจากทฤษฎีของนักจิตวิทยาชื่อ เบนจามินบลูม ซึ่ง
กลายเป็ นหนึ่งในทฤษฎีที่มอี ทิ ธิพลในการสร้ างแบบการเรียนสาหรับเด็กทั่วโลก โดยมี
ลาดับชั้นของการพัฒนาดังข้ างล่ างนี้ ท่ านสามารถลองวิเคราะห์ ตามไปโดยเลือกเอา
เรื่องที่ท่านสนใจคิดตามไปด้ วย วิธีการเขียนหนังสื อของผู้เขียนก็เดินตามแนวนีเ้ ป็ น
หลัก คือ
• เริ่มจากการเรียนรู้ แบบท่ องจาหลักเบือ้ งต้ นก่ อน (Knowledge acquisition) ขั้นตอนนี้
อาจจะน่ าเบือ่ สาหรับบางท่ าน แต่ สาหรับบางท่ านอาจคุ้นเคยกับการถูกกาหนดให้ ทาก็
จะรู้ สึกสบายๆ
• เมือ่ รู้ เบือ้ งต้ นแล้ ว ก็เป็ นการทาความเข้ าใจให้ ลกึ ซึ้งยิง่ ๆ ขึน้ (Comprehension) ด้วย
กรรมวิธีการถาม ทาแบบฝึ กหัด วิเคราะห์ วจิ ารณ์ กบั คนอืน่ ๆ
• เมื่อเข้ าใจแล้ ว ก็คอื การประยุกต์ ไปใช้ ในสถานการณ์ จริง (Application) ดัง
ภาษิตทีว่ ่ า สิ บปากว่ า ไม่ เท่ าตาเห็น สิ บตาเห็น ไม่ เท่ ามือคลา การลงมือทาจะ
ช่ วยให้ เข้ าใจการประยุกต์ ใช้ อย่ างเป็ นรู ปธรรม สาหรับบางเรื่องทีไ่ ม่ ต้องลง
มือทาอย่ างไร เช่ น ความรู้ ในบางเรื่อง การสอนคนอืน่ ก็เป็ นรู ปแบบหนึ่งของ
การทา ดังนั้นนักเรียนทีส่ อนเพือ่ น มักจะเป็ นคนทีเ่ ข้ าใจได้ดยี งิ่ ๆ ขึน้
• การวิเคราะห์ (Analysis) เป็ นเหมือนขั้นตอนการวัดรอยเท้ าครู คือ หาจุดที่
แข็ง/อ่ อน เพือ่ การปรับปรุงให้ ดขี นึ้ บางครั้งเป็ นการเปรียบเทียบความรู้ จาก
สองแหล่ ง เปรียบเทียบครู สองคน แล้ วหาความเหมือน ความต่ าง เพือ่ สรุป
เป็ นรู ปแบบทีเ่ ราเข้ าใจได้ ง่ายๆ ดัง่ การจดย่ อบรรยาย
• การสั งเคราะห์ (Synthesis) เป็ นขั้นตอนการเป็ นครู เสี ยเอง คือสามารถสร้ าง
สิ่ งใหม่ ๆ จากสิ่ งเก่ าทีร่ ู้
• การประเมิน (Evaluation) เมื่อเป็ นผู้เชี่ยวชาญแล้ว อาจหาคนมาแนะนาได้
ยากขึน้ จึงจาเป็ นต้ องเป็ นผู้ทสี่ ามารถประเมินตัวเอง จัดลาดับความรู้ ของ
ตนเองใหม่ อยู่เนือง ๆ ต้ องกล้ าทิง้ สิ่ งทีผ่ ดิ หรือล้ าสมัย ต้ องกล้ าวิจารณ์ ตัวเอง