ระเบียบเบิกจ่าย การจ่ายเงิน

Download Report

Transcript ระเบียบเบิกจ่าย การจ่ายเงิน

การจ่ ายเงิน
• ข้อกำหนดในกำรจ่ำยเงิน
1.จ่ำยเงินหรื อก่อหนี้ผกู พัน ได้แต่เฉพำะที่กฎหมำย ระเบียบ
ข้อบังคับหรื อหนังสื อสัง่ กำรของกระทรวงมหำดไทย
2.หลัก กำรจ่ำยเงินให้จ่ำยเป็ นเช็ค
ยกเว้ น กรณี ที่ไม่อำจจ่ำยเป็ นเช็คได้ ให้จดั ทำใบถอนเงินฝำก
ธนำคำร เพื่อให้ธนำคำรออกตัว๋ แลกเงิน หรื อโอนเงินผ่ำน
ธนำคำร
24
การเขียนเช็คสั่ งจ่ าย
1. กำรจ่ำยเงินกรณี ซ้ือหรื อเช่ำทรัพย์สินหรื อจ้ำงทำของให้ออก
เช็คสัง่ จ่ำยในนำมของเจ้ำหนี้ โดยขีดฆ่ำคำว่ำ “หรื อตำมคำสัง่ ”
หรื อ “หรื อผูถ้ ือ” ออกและขีดคร่ อม
2. กำรจ่ำยเงินตำมสิ ทธิ ที่พึงจะได้รับ หากมีความจาเป็ น กรณี
วงเงินตา่ กว่ า 2,000 บาท ให้ ออกเช็คในนามหัวหน้ าหน่ วยงาน
คลัง โดยขีดฆ่ำคำว่ำ “หรื อตำมคำสัง่ ” หรื อ “หรื อผูถ้ ือ” ออก
ห้ ามออกเช็คสั่ งจ่ ายเงินสด
25
3. กรณี เจ้ำหนี้หรื อผูม้ ีสิทธิรับเงิน ไม่มำรับเช็ค
วัน นับตั้งแต่วนั สัง่ จ่ำยให้ยกเลิกเช็ค
ภำยใน 15
26
เช็ค
วันที่ 1 มี.ค. 54
หรื อตำมคำสัง่ หรื อผูถ้ ือ
จ่ำย นำยสด
จำนวน 2,000 (สองพันบำทถ้วน)
ลงชื่อ นำย ก
นำย ข
นำย ค
นำยก อบต. ปลัด อบต. ผอ.กองช่ำง
(ด้ำนหน้ำ)
เช็ค
วันที่ 1 มี.ค. 54
หรื อตำมคำสัง่ หรื อผูถ้ ือ
จ่ำย นำยสด
จำนวน 2,000 (สองพันบำทถ้วน)
ลงชื่อ นำย ก
นำย ข
นำย ค
นำยก อบต. ปลัด อบต. ผอ.กองช่ำง
(ด้ำนหน้ำ)
เช็ค
วันที่ 1 มี.ค. 54
หรื อตำมคำสัง่ หรื อผูถ้ ือ
จ่ำย นำยสด
จำนวน 2,000 (สองพันบำทถ้วน)
ลงชื่อ นำย ก
นำย ข
นำย ค
นำยก อบต. ปลัด อบต. ผอ.กองช่ำง
(ด้ำนหน้ำ)
เช็ค
วันที่ 1 มี.ค. 54
หรื อตำมคำสัง่ หรื อผูถ้ ือ
จ่ำย นำยสด
จำนวน 2,000 (สองพันบำทถ้วน)
ลงชื่อ นำย ก
นำย ข
นำย ค
นำยก อบต. ปลัด อบต. ผอ.กองช่ำง
(ด้ำนหน้ำ)
การจ่ายเงินโดยวิธีผ่านธนาคารของ อปท.
หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.4/ว 1088 ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2548
ประเภทเงินที่จา่ ยให้เจ้าหนี้หรือผูม้ ีสทิ ธิ ซึง่ อปท. ประสงค์จะโอนเงินผ่านธนาคาร
1. เงิ น ที่ จ่ า ยเป็ นประจ าทุ ก เดื อ น เช่ น เงิ น เดื อ น ค่ า จ้า ง ฯลฯ
2. เงิน ที่ เ จ้า หนี้ห รือ ผู ม้ ี สิท ธิ แ สดงความประสงค์ใ ห้จ่า ยโดยโอนผ่ า น
ธนาคาร เช่ น เงิน บ าเหน็ จ เงิน ค่ า รัก ษาพยาบาล เงิน ช าระหนี้ เ งิน กู ้ ฯลฯ
3. เงิน ที่มีกฎหมาย ระเบีย บ หรือหนังสือ สัง่ การของ มท. กาหนดให้
จ่ า ยเงิ น ผ่ า นธนาคาร เช่ น เงิ น สงเคราะห์ เ บี้ ยยัง ชี พ คนพิ ก าร ฯลฯ
4. เงินที่จา่ ยให้คู่สญั ญาหรือเจ้าหนี้ ตามสัญญาซื้อหรือขาย หรือข้อตกลง
ซึง่ มีความประสงค์ขอรับเงินผ่านธนาคาร
การจ่ายเงินโดยวิธีผ่านธนาคารของ อปท.
5. เงินที่หกั จากเงินประเภทต่างๆที่จา่ ย
- เงินที่กฎหมายกาหนดให้หกั เช่น ภาษีเงินได้ ฯลฯ
- เงินที่ไม่มีกฎหมายให้หกั แต่ผูบ้ ริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น
พนักงาน ฯลฯ มีหนังสือยินยอมให้ อปท. หักจากเงินที่จา่ ย
- เงินที่ศาลพิพากษา หรือมีคาสัง่ บังคับคดีให้อายัดเงินที่จ่ายให้ผูม้ ี
สิทธิหรือเจ้าหนี้ท่ีอยู่ในความรับผิดชอบแห่งการบังคับคดี
ขั้นตอนการจ่ ายเงินผ่านธนาคาร
เงินทีจ่ ่ ายเป็ นประจาทุกเดือน
ใบหน้ าสมุด
บัญชีเงินฝาก
เงินทีเ่ จ้ าหนีห้ รือผู้มสี ิทธิ
แสดงความประสงค์ ให้ จ่ายผ่านธนาคาร
เจ้ าหนี้ /
ผู้มสี ิทธิ
เงินทีม่ กี ฎหมาย ระเบียบหรือ
หนังสือสั่งการฯ กาหนดให้ จ่ายผ่านธนาคาร
แบบคาขอรับเงิน
ผ่านธนาคาร
เงินทีห่ ักจากเงินประเภทต่ างๆทีจ่ ่ าย
เงินทีจ่ ่ ายให้ คู่สัญญา
หรือเจ้ าหนี้
หนังสือแจ้ ง
บัญชีเงินฝาก
คู่สัญญา/
เจ้ าหนี้
สัญญาหรือข้ อตกลง
ทีร่ ะบุการจ่ ายเงิน
ผ่านธนาคาร
ฝ่ ายการเงิน
ฎีกาเบิกจ่ ายเงิน
รายละเอียดประกอบรายงานการจัดทาใบถอนเงิน
ใบถอนเงินฝากธนาคาร
รายละเอียดประกอบใบถอนเงินฝากธนาคาร
ธนาคาร
อนุมตั ิ
รายงานการจัดทาใบถอนเงินฝากธนาคาร
ผู้มอี านาจลงนาม
ใบนาฝาก / หลักฐานการฝากเงิน
เข้ าบัญชีเงินฝากเจ้ าหนี้ / ผู้มสี ิทธิ
เจ้ าหนี้ / ผู้มสี ิทธิ
ใบเสร็จรับเงิน
แนบท้ ายฎีกาเบิกจ่ ายเงิน
แจ้ ง / ส่ งสาเนาการโอนเงิน
และใบรับรองการหักภาษี ฯลฯ
บันทึกบัญชี
หลักฐานการจ่ ายเงิน
• กำรจ่ำยเงินทุกรำยกำรต้องมีหลักฐำนกำรจ่ำยไว้เพื่อ
ตรวจสอบ
• ผูจ้ ่ำยเงินต้องลงลำยมือชื่อรับรองกำรจ่ำยพร้อมชื่อสกุลด้วย ตัว
บรรจงกำกับไว้ในหลักฐำนกำรจ่ำย โดยกรณี ที่เป็ นใบสำคัญคู่
จ่ำยให้หวั หน้ำหน่วยงำนคลังลงลำยมือชื่อรับรองควำมถูกต้อง
กำกับไว้ดว้ ย
27
การจ่ ายเงินยืม
• ผูบ้ ริ หำรท้องถิ่นอนุมตั ิให้จ่ำยเงินยืมได้ ตำมมีเงื่อนไข ดังนี้
1. มีงบประมำณเพื่อกำรนั้นแล้ว
2. ผูย้ มื ได้ทำสัญญำ โดยไม่มีกำรค้ำงเงินชำระ
28
การส่ งใช้ เงินยืม
• ผูย้ มื ต้องส่ งใบสำคัญและเงินเหลือจ่ำย(ถ้ำมี) เพือ่ ชดใช้เงินยืม
ภำยในกำหนดระยะเวลำ ดังนี้
1. เดินทำงไปประจำต่ำงสำนักงำนหรื อกลับภูมิลำเนำ
ส่ งใช้ภำยใน 30 วัน นับจำกวันที่ได้รับเงิน
2. เดินทำงไปรำชกำรอื่น ส่ งใช้ภำยใน 15 วันนับจำกวันกลับ
มำถึง
3. ยืมเงินปฏิบตั ิรำชกำรนอกจำกข้อ 1 หรื อข้อ 2 ส่ งใช้ภำยใน
30 วันนับจำกวันที่ได้รับเงิน
29
การจ่ ายเงินยืม
การจ่ ายเงินยืม
นายกฯ อนุมัติ
- มีงบประมำณเพื่อกำรนั้นแล้ว
- ผูย้ มื ได้ทำสัญญำและสัญญำว่ำจะปฏิบตั ิตำมระเบียบของทำง
รำชกำรทุกประกำร หำกไม่ปฏิบตั ิตำมที่กำหนด จะยินยอมให้หกั
เงินเดือน ค่ำจ้ำง เบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนำญ หรื อเงินอื่นใดที่ได้รับจำก
ทำงรำชกำร ชดใช้จำนวนเงินที่ยมื ไปจนครบถ้วนทันที
- ไม่มีกำรค้ำงเงินยืมเก่ำ
การยืมเงินงบประมาณเพื่อเดินทำงไปรำชกำร เอกสำร
ประกอบด้วย
- กำรคำสัง่ ที่อนุมตั ิให้เดินทำงไปรำชกำร
- สัญญำยืมเงิน
- ประมำณกำรค่ำใช้จ่ำยในกำรเดินทำงไปรำชกำร (ตำม
ระเบียบเดินทำงไปรำชกำรฯ ข้อ 13 ประกอบด้วย
ค่ำเบี้ยเลี้ยง ค่ำที่พกั ค่ำพำหนะ และค่ำใช้จ่ำยที่จำเป็ นเนื่อง
ในกำรเดินทำงไปรำชกำร เป็ นค่ำใช้จ่ำยที่ตอ้ งจ่ำย ไม่จ่ำย
เดินทำงไปรำชกำรไม่ได้ เช่น ค่ำจัดทำพำสปอร์ตกรณี ไป
รำชกำรต่ำงประเทศ)
ตัวอย่ำง ตั้งงบประมำณเพื่อดำเนินโครงกำรจัดงำนลอย
กระทง มีค่ำใช้จ่ำย ดังนี้
- ค่ำตอบแทน เช่น ค่ำวิทยำกร ฯ เป็ นต้น
- ค่ำใช้สอย เช่น ค่ำจ้ำงจัดทำอำหำร ค่ำจ้ำงจัดมหรสพ
เป็ นต้น
- ค่ำวัสดุ เช่น แผ่นโฟม กระดำษตกแต่งเวที เป็ นต้น
• กรณี โครงกำรดังกล่ำว ให้ผรู้ ับผิดชอบจัดทำ
ประมำณกำรค่ำใช้จ่ำยที่จำเป็ นเพื่อทำสัญญำยืมเงิน
จำกโครงกำร
• สำหรับค่ำใช้จ่ำยที่มีกำรจัดซื้ อหรื อจัดจ้ำง ให้ปฏิบตั ิ
ตำมระเบียบพัสดุฯ
Ex.
ข้ อหารือ: เทศบำลหำรื อแนวทำงปฏิบตั ิกรณี กำรจ้ำงดนตรี
หรื อจัดให้มีมหรสพในงำนประเพณี ต่ำงๆ ที่เทศบำลจัดขึ้น
หรื อกำรจ้ำงเหมำยำนพำหนะเพื่อทัศนศึกษำดูงำน ถือเป็ น
กำรปฏิบตั ิรำชกำรอื่นใดตำมนัยข้อ 56(2) แห่งระเบียบ
เบิกจ่ำยฯ ใช่หรื อไม่ สำมำรถยืมเงินทดรองจ่ำยเพื่อนำไป
เป็ นค่ำจ้ำงให้แก่ผรู ้ ับจ้ำงหลังเสร็ จสิ้ นงำน ได้หรื อไม่
ความเห็น : หำกเทศบำลมีควำมจำเป็ นจะยืมเงินเพื่อนำไป
ทดรองจ่ำย ซึ่ งตำมระเบียบฯ ข้อ 84 และ 86 เทศบำล
สำมำรถยืมเงินทดรองจ่ำยได้เฉพำะรำยกำรที่จำเป็ น และ
มีวงเงินงบประมำณเพื่อกำรนั้นแล้ว และให้นำหลักฐำนกำร
จ่ำยเงินที่ถูกต้องรวมทั้งเงินเหลือจ่ำย(ถ้ำมี) ส่ งคืนภำยใน
ระยะเวลำที่กำหนดเมื่อดำเนินกำรแล้วเสร็ จ
แต่ตอ้ งไม่ใช่กรณี ที่ตอ้ งมีกำรจัดซื้อจัดจ้ำงตำมระเบียบ มท.
ว่ำด้วยกำรพัสดุของหน่วยกำรบริ หำรรำชกำรส่ วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2535
ข้ อกาหนดการจ่ ายเงิน
• อปท.จะจ่ำยเงิน หรื อ ก่อหนี้ผกู พัน ได้แต่เฉพำะที่ กฎหมำย
ระเบียบ ข้อบังคับ หรื อ หนังสื อสัง่ กำรของกระทรวงมหำดไทย
- กำรจ่ำยเงินจะต้องมีงบประมำณ
- กรณี ที่ อปท.ใช้ขอ้ บัญญัติ/เทศบัญญัติของปี ที่ผำ่ นมำ ให้
เบิกจ่ำยได้เฉพำะรำยจ่ำยหมวดเงินเดือนและค่ำจ้ำงประจำ ค่ำจ้ำง
ชัว่ ครำว ค่ำตอบแทนใช้สอยและวัสดุ และค่ำสำธำรณูปโภค
และจะต้องเป็ นรำยกำร และ จำนวนเงินที่ปรำกฏในงบประมำณ
ของปี ที่ผำ่ นมำเท่ำนั้น (ตำมระเบียบกระทรวงมหำดไทยว่ำด้วย
วิธีกำรงบประมำณฯ ข้อ 7)
Ex.
1. ข้ อหารือ : เทศบำลเป็ นเจ้ำภำพจัดกำรแข่งขันกีฬำ
นักเรี ยน ซึ่งมีคณะกรรมกำรและเจ้ำหน้ำที่จดั กำรแข่งขันฯ
จำนวน 760 คน เทศบำลมีควำมจำเป็ นต้องจัดซื้อวัสดุ
เครื่ องแต่งกำย มอบให้คณะกรรมกำรและเจ้ำหน้ำที่ฯ
ได้แก่ ชุดสู ทหรื อชุดซำฟำรี พร้อมตรำสัญลักษณ์ จำนวน
160 ตัว เป็ นเงิน 320,000 บำท และเสื้ อบำติกพร้อม
สัญลักษณ์ จำนวน 600 ตัว เป็ นเงิน 33,000 บำท แต่
ระเบียบไม่ได้กำหนดไว้ จึงขออนุมตั ิยกเว้นระเบียบ ฯ
ข้อ 67 ได้หรื อไม่
กรณีนีเ้ ทศบำลไม่สำมำรถขออนุมตั ิยกเว้นระเบียบฯ ข้อ 67
ได้ เพรำะระเบียบฯไม่ได้กำหนดเกี่ยวกับกำรเบิกจ่ำย ค่ำ
จัดซื้อเครื่ องแต่งกำยไว้
และนส.มท 0307/ว 384 ลว. 16 ก.พ. 2536 กำหนดเครื่ อง
แต่งกำยที่ไม่สำมำรถเบิกจ่ำยได้ คือ เครื่ องแบบ แบบฟอร์ม
ชุดฟำติก และชุดประจำท้องถิ่น