วิชาว่าความและการถามพยาน (2) การร่างฟ้องคดีอาญา โดย ศ.(พิเศษ) สุชาติ ธรรมาพิทกั ษ์ กลุ ประกอบการบรรยายภาคสอง สมัยที่ 67 ปี 2557 สานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา.

Download Report

Transcript วิชาว่าความและการถามพยาน (2) การร่างฟ้องคดีอาญา โดย ศ.(พิเศษ) สุชาติ ธรรมาพิทกั ษ์ กลุ ประกอบการบรรยายภาคสอง สมัยที่ 67 ปี 2557 สานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา.

วิชาว่าความและการถามพยาน (2)
การร่างฟ้องคดีอาญา
โดย
ศ.(พิเศษ) สุชาติ ธรรมาพิทกั ษ์ กลุ
ประกอบการบรรยายภาคสอง สมัยที่ 67 ปี 2557
สานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ
ั ฑิตยสภา
การเตรี ยมคดีฝ่ายผู้ต้องหาหรื อจาเลย
• ต้ องทราบถึงสิทธิของผู้ต้องหา ตาม ป. วิอาญา มาตรา 7/1 (แก้ ไขเพิ่มเติมตาม พรบ.
แก้ ไข ป.วิอ. ฉบับที่ 22 ลว. 23/12/47) และสิทธิตาม มาตราอื่น ๆ เช่น
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
สิทธิขอให้ แจ้ งญาติวา่ ถูกจับ ม. 7/1 วรรคแรก
สิทธิพบและปรึกษาทนายความ ตาม ม. 7/1 (1)
สิทธิขอให้ ทนายความฟั งการสอบปากคาชันสอบสวน
้
ม. 7/1 (2) และ 134/3
สิทธิได้ รับการเยี่ยม ตาม ม. 7/1 (3)
สิทธิได้ รับการรักษาพยาบาล ตาม ม. 7/1 (4)
สิทธิให้ การหรื อไม่ให้ การ ในชันจั
้ บกุม ตาม ม. 83 วรรคสอง
สิทธิได้ รับแจ้ งข้ อหา และเหตุแห่งการจับ ตาม ม. 84 (1)
สิทธิแต่งทนายเพื่อคัดค้ าน หมายขังพนักงานสอบสวน ตาม ม. 87 วรรค 8
สิทธิร้องขอให้ ปล่อย ตาม ม. 90
สิทธิได้ รับการสอบสวนรวดเร็ ว ต่อเนื่องและเป็ นธรรม ตาม ม. 134
สิทธิขอทราบสรุปพยานหลักฐาน ตาม ม. 146
สิทธิยื่นขอประกันตัว ตาม ม. 106
การประกันตัวผู้ต้องหา
 พิจารณาตามหลักเกณฑ์ใน ป.วิ อ. ม. 87 และ 106




ตารวจควบคุมตัว ได้ 48 ชัว่ โมง จากนันต้
้ องขอฝากขังต่อศาล
การประกันตัว อาจกระทาได้ ทงชั
ั ้ นต
้ ารวจและชันศาล
้
หากศาลไม่ให้ ประกันตัว
ถ้ าฝากขังครบ 48 วันแล้ ว และโทษไม่เกิน 10 ปี การขอฝากขังต่อไป ศาลต้ อง
ไต่สวนตาม ม. 87 วรรค 7
 ชันนี
้ ้ ทนายความผู้ต้องหา อาจยื่นคำร้ องคัดค้ ำนการขอฝากขัง และซักค้ าน
พยานพนักงานสอบสวน ตาม มาตรา 87 วรรค 8
การใช้ สทิ ธิทางศาลก่อนฟ้องคดีของผู้ต้องหา
กระทำได้ ใน 4 กรณี คือ
ตาม ม. 87 คัดค้ านการฝากขัง
ตาม ม. 90 ร้ องขอให้ ปล่อย
ตาม ม. 150 ไต่สวนคดีวิสามัญฆาตกรรม
ตาม ม. 237 ทวิ วรรคแรก และวรรค 6 พนักงานอัยการหรื อผู้ต้องหา ขอสืบพยานก่อน
คดีมาสูศ่ าลได้
ตัวอย่างคาร้ องคัดค้ านการฝากขัง
1. คดีนี ้ พนักงำนสอบสวนได้ นำตัวผู้ต้องหำมำฝำกขังต่ อศำลเป็ นครั ง้ ที่ 5
แล้ ว ต้ องหำจึงขอคัดค้ ำนกำรขอฝำกขังด้ วยเหตุผลดังจะกรำบเรี ยน
ต่ อไปนี ้ คือ ผู้ต้องหำไม่ เคยมีพฤติกำรณ์ ดังที่พนักงำนสอบสวนกล่ ำวอ้ ำง
ที่พนักงำนสอบสวนอ้ ำงว่ ำผู้ต้องหำเป็ นผู้ทีอทิ ธิพลและได้ ใช้ อทิ ธิพลข่ มขู่
พยำนจนพยำนไม่ กล้ ำมำเบิกควำมต่ อพนักงำนสอบสวนนัน้ ไม่ เป็ นควำม
จริง และไม่ มีมูลแต่ อย่ ำงใด ในควำมเป็ นจริง ผู้ต้องไม่ เคยมีประวัตใิ นทำง
เสื่อมเสียเกี่ยวกับควำมประพฤติ และมีกำรงำนทำเป็ นหลักแหล่ ง ทัง้ ไม่ เคย
รู้ จักหรื อพบปะกับพยำนของพนักงำนสอบสวนมำก่ อน จึงขอศำลได้ โปรด
ยกคำร้ องขอฝำกขังของพนักงำนสอบสวนด้ วย
2. อนึง่ ผู้ต้องได้ มอบหมายให้ ทนายความทาการซักถ้ านพยานของพนักงาน
สอบสวนด้ วย เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม จึงขอศาลได้ โปรดอนุญาต
ตัวอย่างคาร้ องขอให้ ปล่อยตาม มาตรา 90
1. ผู้ร้องเป็ นภริยำโดยชอบด้ วยกฎหมำยของนำยแดง ปรำกฏว่ ำ
นำยแดง สำมีของผู้ร้อง ได้ ถูก ร.ต.อ. เขียว ซึ่งเป็ นเจ้ ำหน้ ำที่ตำรวจ
จับไปขังไว้ ท่ สี ถำนีตำรวจนครบำล...... ตัง้ แต่ เมื่อวันที่ 15 ก.พ. 2557
โดยมิได้ แจ้ งข้ อหำแต่ อย่ ำงใด และขณะนีก้ ็ยังมิได้ รับกำรปล่ อยตัว
2. พฤติการณ์การจับกุมคุมขังดังกล่าวของ ร.ต.อ. เขียว จึงไม่ชอบด้ วย
กฎหมาย ผู้ร้องซึง่ เป็ นภริ ยาโดยชอบด้ วยกฎหมายของนายแดง จึงขอศาลได้
โปรดไต่สวนและพิจารณาสัง่ ปล่อยนายแดง ให้ พ้นจากการคุมขังต่อไปด้ วย
ตัวอย่างคาร้ องคัดค้ านเรื่ องชันสูตรพลิกศพตาม ม. 150
1. คดีนี ้ ศำลนัดไต่ สวนชันสูตรพลิกศพกรณีท่ ี ส.ต.อ. แดง ได้ ใช้
อำวุธปื นยิงผู้ต้องหำถึงแก่ ควำมตำย โดยอ้ ำงว่ ำผู้ตำยได้ ต่อสู้กำร
ปฏิบัตหิ น้ ำที่ของเจ้ ำพนักงำนตำรวจในวันนี ้
2. ผู้ร้องเป็ น ภริ ยาโดยชอบด้ วยกฎหมายของผู้ตาย ขอยื่นคาร้ องคัดค้ าน
คาร้ องของพนักงานอัยการและขอใช้ สิทธิที่จะนาพยานหลักฐานมาหักล้ าง
พยานหลักฐานของพนักงานสอบสวน ในกรณีที่พนักงานอัยการนาสืบด้ วย
เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ขอศาลได้ โปรดอนุญาต
ตัวอย่างคาร้ องขอสืบพยานก่อนฟ้องคดี ตาม ม. 237
ข้ อ 1 เนื่องจาก นายบราวน์ ผู้เสียหายในคดีนี ้ซึง่ ถูกชิงทรัพย์ เมื่อวันที่
20 ก.พ. 2557 ในขณะเดินซื ้อของอยูบ่ ริ เวณตลาดจัตจุ กั ร เป็ นชาวต่างชาติ
สัญชาติสหรัฐอเมริ กา มีความจาเป็ นต้ องเดินทางกลับประเทศสหรัฐอเมริ กา
ภายในวันที่ 27 ก.พ. 2557 นี ้ เนื่องจากครบกาหนดวันลา จาต้ องกลับไป
ปฏิบตั ิงาน และขณะนี ้พนักงานสอบสวนยังทาการสอบสวนและรวบรวม
พยานหลักฐานต่าง ๆ ในคดีไม่แล้ วเสร็ จ
ข้ อ 2 การให้ ผ้ เู สียหายเดินทางกลับมาประเทศไทยเพื่อเป็ นพยานใน
ศาลนัน้ ไม่สะดวกอย่างมากเนื่องจากระยะทางห่างไกลและจาเป็ นต้ องขาด
การงานอีกหลายวัน ทังมี
้ คา่ ใช้ จ่ายสูง จึงเป็ นการยากที่จะนาผู้เสียหายซึง่ เป็ น
ประจักษ์ พยานมาสืบในภายหน้ า จึงขอศาลได้ โปรดอนุญาตให้ สืบพยาน
ผู้เสียหายรายนี ้ล่วงหน้ าก่อนฟ้องคดี ตามมาตรา 237 วรรคแรกแห่งประมวล
กฎหมายวิอาญาด้ วย เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ขอศาลได้ โปรดอนุญาต
ตัวอย่างคาร้ องขอสืบพยานล่วงหน้ าก่อนฟ้องคดีตาม ม. 237 วรรค 6
ข้ อ 1. คดีนี ้ ผู้ร้องได้ รับแจ้ งข้ อกล่าวหาและถูกจับกุมตัวโดยเจ้ าพนักงานตารวจว่า
กระทาความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ของนายแดนนี่ ซึง่ เป็ นชาวอังกฤษ เมื่อวันที่ 20 ก.พ.
2557 ขณะนี ้ ผู้ร้องได้ รับการประกันตัวในชันสอบสวน
้
และคดีอยู่ระหว่างการสอบสวน
ของพนักงานสอบสวน
ข้ อ 2. ผู้ร้องทราบจากนายแดนนี่วา่ มีความจาเป็ นต้ องเดินทางกลับไปประเทศ
อังกฤษเพราะครบกาหนดวันลา และเนื่องจากของนายแดนนี่ทาหน้ าที่เป็ นกัปตัน
เดินเรื อทะเลขนส่งสินค้ า นายแดนนี่จงึ ไม่มที ี่อยู่เป็ นหลักแหล่ง การที่นายแดนนี่จะ
เดินทางกลับมาเบิกความเป็ นพยานในคดีนี ้ เป็ นเรื่ องยากและไม่อาจคาดเดาได้ ทัง้
สิ ้นเปลืองค่าใช้ จ่ายมาก และโดยที่นายแดนนี่ ซึง่ เป็ นผู้เสียหายในคดีวิ่งราวทรัพย์นี ้ได้
ยืนยันต่อพนักงานสอบสวนว่าผู้ร้องมิใช่ผ้ กู ระทาผิด เนื่องจากผู้ร้องทาหน้ าทีเ่ ป็ น
มัคคุเทศน์ของนายแดนนี่ในวันเกิดเหตุนนเอง
ั้
การจับกุมผู้ร้องน่าจะเป็ นการจับกุมผิด
ตัว นายแดนนี่จงึ เป็ นประจักษ์ พยานสาคัญในคดีนี ้ หากภายหลังจากฟ้องคดีแล้ ว
มิได้ ตวั นายแดนนี่มาเบิกความเป็ นพยาน ผลแห่งคดีอาจเป็ นผลร้ ายแก่ผ้ รู ้ องได้ ผู้ร้อง
จึงขอศาลได้ โปรดอนุญาตให้ ผ้ รู ้ องนาสืบนายแดนนี่เป็ นพยานของผู้ร้องก่อนฟ้ องคดี
ตามมาตรา 237 วรรค 6 แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาคดีอาญาด้ วย เพื่อ
ประโยชน์แห่งความยุติธรรม ขอศาลได้ โปรดอนุญาต
•
หลักการร่างฟ้องคดีอาญา
หลักการร่างฟ้องคดีอาญา

ปวิอ. มาตรา ๑๕๘ ฟ้ องต้ องทาเป็ นหนังสือ และมี
(๑) ชื่อศาลและวันเดือนปี
(๒) คดีระหว่างผู้ใดเป็ นโจทก์ ผู้ใดจาเลย และฐานความผิด
(๓) ตาแหน่งพนักงานอัยการผู้เป็ นโจทก์ ถ้ าราษฎรเป็ นโจทก์ให้ ใส่ชื่อตัว นามสกุล
อายุ ที่อยู่ ชาติและบังคับ
(๔) ชื่อตัว นามสกุล อายุ ที่อยู่ ชาติและบังคับของจาเลย
(๕) กำรกระทำทัง้ หลำยที่อ้ำงว่ ำจำเลยได้ กระทำผิด ข้ อเท็จจริงและ
รำยละเอียดเกี่ยวกับเวลำและสถำนที่ซ่ งึ เกิดกำรกระทำนัน้ ๆ อีกทัง้
บุคคลหรื อสิ่งของทีเกี่ยวข้ องด้ วยพอสมควรเท่ ำที่จะให้ จำเลยเข้ ำใจข้ อหำ
ได้ ดี
ในคดีหมิ่นประมำท ถ้ อยคำพูด หนังสือ ภำพขีดเขียนหรื อสิ่งอื่นอัน
เกี่ยวข้ องกับข้ อหมิ่นประมำท ให้ กล่ ำวไว้ โดยสมบูรณ์ หรื อคิดมำท้ ำยฟ้อง
(๖) อ้ างมาตราในกฎหมายที่บญ
ั ญัติวา่ การกระทาเช่นนันเป็
้ นความผิด
(๗) ลายมือชื่อโจทก์ ผู้เรี ยง ผู้เขียนหรื อพิมพ์ฟ้อง
มาตรา ๑๕๘ (๑) ชื่อศาลและวันเดือนปี
คือ ศำลชัน้ ต้ นที่โจทก์ นำคดี
มำฟ้อง
วันเดือนปี ที่โจทก์ นำคดีมำ
ยื่นฟ้องต่ อศำล
• ทาให้ ทราบถึงเขตอานาจศาล
• ทาให้ ทราบว่าคดีขาดอายุความ
หรื อไม่
• คดีอาญา ศาลยกอายุความเป็ น
เหตุยกฟ้องได้ เลย แม้ จาเลยมิได้
ยกอายุความขึ ้นสู้คดี (ฎีกา
๑๕๓๓/๒๕๔๘)
มาตรา ๑๕๘(๒) ผู้ใดเป็ นโจทก์ จาเลยและฐานความผิด
 ทาให้ ทราบในเบื ้องต้ นว่า การเป็ นการฟ้องคดีระหว่างใคร
 หากราษฎรเป็ นโจทก์ ต้ องไต่สวนมูลฟ้อง
 ฐานความผิด ทาให้ ทราบว่าความผิดที่ฟ้องนัน้




มีโทษเท่าใด
เป็ นคดีอาญาแผ่นดิน หรื อคดีความผิดต่อส่วนตัว
ทาให้ ทราบถึงอายุความคดี
มีการร้ องทุกข์โดยชอบหรื อไม่ กรณีความผิดต่อส่วนตัว
มาตรา ๑๕๘(๓) ตาแหน่งพนักงานอัยการ และ
รายละเอียดของราษฎรที่เป็ นโจทก์
สังเกตว่า กรณีอยั การ ระบุตาแหน่ง กรณีราษฎร ระบุชื่อ ฯลฯ
ทาให้ ทราบว่า โจทก์ใช่เป็ นผู้เสียหายหรื อไม่ โจทก์มีอานาจฟ้องหรื อไม่
ทาให้ ทราบอายุของโจทก์ ซึง่ เกี่ยวข้ องถึงความสามารถของโจทก์
ทาให้ ทราบว่าโจทก์เป็ นคนสัญชาติไทยหรื อต่างชาติ
มาตรา ๑๕๘(๔) รายละเอียดของตัวจาเลย
ชื่อตัวและนามสกุล เพื่อให้ ทราบว่าเป็ นบุคคลใด ฟ้องผิดคนหรื อไม่
อายุจาเลย ทาให้ ทราบว่า
ฟ้องถูกศาลหรื อไม่ หากอายุไม่เกิน ๑๘ ปี ในวันที่โจทก์ยืน่ ฟ้อง ก็ต้องฟ้องยัง
ศาลครอบครัวฯ (ม ๑๗๓ วรรคหนึ่ง)
เป็ นข้ อมูลพิจารณาลดมาตราส่วนโทษ ตาม ปอ. มาตรา ๗๓-๗๖
อาจต้ องถามและตังทนายความให้
้
จาเลย ตาม ปวิอ. มาตรา ๑๗๓ วรรคหนึง่
ที่อยูข่ องจาเลย ทาให้ ทราบว่ารู้วา่ จาเลยมีถิ่นที่อยูใ่ นไทยหรื อต่างแดน
การบรรยายที่อยู่ ไม่จาต้ องระบุบ้านเลขที่ บรรยายเพียงหมูบ่ ้ าน ตาบล
อาเภอ จังหวัดก็เพียงพอ (ฎีกา ๒๙๖๐/๒๕๔๑)
มาตรา ๑๕๘ (๕) การกระทาทังหลายที
้
่อ้างว่าจาเลยกระทาผิด
การกระทาทังหลายที
้
่อ้างว่าจาเลยได้ กระทาผิด ข้ อเท็จจริ งและรายละเอียด
ที่เกี่ยวกับเวลาและสถานที่ซงึ่ เกิดการกระทานัน้ ๆ อีกทังบุ
้ คคลหรื อสิง่ ของที่
เกี่ยวข้ องด้ วยพอสมควรเท่าที่จะให้ จาเลยเข้ าใจข้ อหาได้ ดี
จาแนกออกเป็ นสาระสาคัญ ๔ ประการ คือ
(๑) การกระทาทังหลายที
้
่อ้างว่าจาเลยกระทาผิด
(๒) ข้ อเท็จจริงและรายละเอียดเกี่ยวกับ เวลาและสถานที ่ ซึง่ เกิดการกระทานัน้ ๆ
(๓) ข้ อเท็จจริงและรายละเอียดเกี่ยวกับ บุคคลหรื อสิ่ งของ ที่เกี่ยวข้ อง
(๔) บรรยายพอสมควรเท่าที่จะให้ จาเลยเข้ าใจข้ อหาได้ ดี
กรณีฟ้องหมิ่ นประมาท เพิ่มหลักเกณฑ์ตาม วรรคสอง
การเขียนฟ้องตาม ม ๑๕๘ (๕) วรรคแรก

มีหลักควรจา ๗ ประการ
(๑)
(๒)
(๓)
(๔)
บรรยายถึงการกระทาทังหลายที
้
่อ้างว่าจาเลยกระทาผิดโดยชัดแจ้ ง
ต้ องกล่าวถึงวัน เวลา และสถานที่ที่เกิดเหตุโดยชัดแจ้ ง
บรรยายข้ อเท็จจริงให้ เป็ นไปตามลาดับเหตุการณ์
บรรยายข้ อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคล หรื อสิง่ ของที่ใช้ ในการกระทาผิดหรื อ
ได้ มาจากการกระทาผิดให้ ชดั เจนตามสมควร
(๕) บรรยายข้ อเท็จจริงให้ กระชับ ชัดเจน ไม่ฟมเฟื
ุ่ อย
(๖) บรรยายโดยเอาองค์ประกอบความผิดเป็ นตัวตัง้ และนาข้ อเท็จจริงมา
ผสมผสานเข้ าไปในองค์ประกอบนัน้
(๗) ข้ อเท็จจริงอื่นในฟ้องที่เกี่ยวข้ อง
๑. บรรยายถึงการกระทาทังหลายที
้
่อ้างว่าจาเลยกระทาผิดโดยชัดแจ้ ง
เป็ นการบรรยายถึงองค์ประกอบความผิด จึงสาคัญ
บรรยายไม่ชดั เจน ฟ้องอาจขาดองค์ประกอบ
แม้ จาเลยรับสารภาพ ศาลก็ยกฟ้ อง
ตัวอย่ ำง โจทก์เป็ นทนายความ จาเลยจ้ างว่าความแล้ วไม่ชาระค่าว่าความให้ โจทก์
ทวงถาม จาเลยหนีหน้ า และโอนที่ดิน ๒ แปลงให้ แก่บคุ คลภายนอก ๒ คน โดยรู้วา่
โจทก์กาลังทวงถามหนี ้ โจทก์จงึ ฟ้องจาเลยรวม ๓ คน ฐานโกงเจ้ าหนี ้
ตัวอย่างบรรยายฟ้อง
• โจทก์บรรยายฟ้องว่า จาเลยที่ ๑ ตกลงให้ คา่ จ้ างว่าความแก่โจทก์ ถึงกาหนดแล้ ว
ไม่ชาระ โจทก์ทวงถาม จาเลยที่ ๑ ก็หลบหน้ า ต่อมาจาเลยที่ ๑ ก็โอนที่ดินของ
จาเลยที่ ๑ แก่จาเลยที่ ๒ และที่ ๓ ไป โดยจาเลยที่ ๒ และที่ ๓ ก็ทราบดีวา่ จาเลยที่
๑ ยังไม่ชาระหนี ้ให้ แก่โจทก์ อันเป็ นการโอนโดยทุจริต ประสงค์มิให้ โจทก์ได้ รับชาระ
หนี ้ ทังที
้ ่ทราบดีวา่ โจทก์ต้องฟ้องบังคับคดีอย่างแน่นอน เพราะจาเลยที่ ๑ ไม่มี
ทรัพย์สินอื่นใดพอที่จะชาระหนี ้แก่โจทก์
• ศำลวินิจฉัยว่ ำ โจทก์กล่าวในฟ้องเพียงว่า จาเลยน่าจะตระหนักดีว่าโจทก์จะต้ อง
ฟ้องคดีแน่นอน แต่ในความเป็ นจริง โจทก์ฟ้องแล้ วหรื อเตรี ยมจะฟ้องอย่างไรหรื อไม่
โจทก์ไม่บรรยายไว้ จึงเป็ นคาฟ้องที่ขาดสาระสาคัญที่เป็ นองค์ประกอบความผิดฐาน
โกงเจ้ าหนี ้ ตาม ปอ. มาตรา ๓๕๐ ซึง่ ต้ องปรากฎว่าเจ้ าหนี ้ได้ ใช้ สิทธิเรี ยกร้ องทาง
ศาลให้ ลกู หนี ้ชาระหนี ้แล้ ว หรื อจะใช้ สิทธิเรี ยกร้ องทางศาลให้ ลกู หนี ้ชาระหนี ้ ให้ ยก
ฟ้องโจทก์
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 350
 ผู้ใด เพื่อมิให้ เจ้ าหนี ้ของตนหรื อของผู้อื่นได้ รับชาระหนี ้ทังหมดหรื
้
อแต่
บางส่วน ซึ่งได้ใช้หรื อจะใช้สิทธิ เรี ยกร้องทางศาลให้ชาระหนี ้ ย้ ายไป
เสีย ซ่อนเร้ นหรื อโอนไปให้ แก่ผ้ อู ื่นซึง่ ทรัพย์ใดก็ดี แกล้ งให้ ตนเองเป็ น
หนี ้จานวนใดอันไม่เป็ นความจริงก็ดี ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี
หรื อปรับไม่เกินสีพนั บาท หรื อทังจ
้ าทังปรั
้ บ
ข้ อเท็จจริ งที่เป็ นองค์ประกอบความผิด
องค์ประกอบความผิด อาจเป็ น
การกระทาของจาเลย เช่น ลักเอาไป หรื อเข้ าไปในเคหสถาน หรื อ
ข้ อเท็จจริ งบางอย่างที่เป็ นสาระสาคัญก็ได้ เช่น การที่ธนาคารปฏิเสธการ
จ่ายเงินตามเช็ค
ข้ อเท็จจริงบางอย่างอาจไม่เป็ นองค์ประกอบความผิด เช่น
เจตนาพิเศษ
วันที่ผ้ เู สียหายรู้ถึงการกระทาผิดของจาเลยในคดีความผิดต่อส่วนตัว
การร้ องทุกข์
๒. กล่าวถึงวัน เวลา และสถานที่เกิดเหตุโดยชัดเจน
- วัน หมำยถึง วัน เดือน ปี
- เวลา ทางอาญา แบ่งเป็ น ๒ ระยะ คือ
- เวลากลางวัน ได้ แก่ เวลาตังแต่
้ พระอาทิตย์ขึ ้นถึงพระอาทิตย์ตก (ไม่ถือ
ตามเวลานาฬิกา)
- เวลากลางคืน ได้ แก่เวลาตังแต่
้ พระอาทิตย์ตก ถึงพระอาทิตย์ขึ ้น
แบ่งเป็ น ๒ ช่วง คือ
- เวลากลางคืนก่อนเที่ยง คือเวลากลางคืนก่อนเที่ยงวัน
- เวลากลางคืนหลังเที่ยง คือเวลากลางคืนหลังเที่ยงวัน
การบรรยายวันเวลาในคาฟ้อง
ฎีกาที่ ๕๑๒/๒๔๙๓
ฎีกาที่ ๕๐๘/๒๔๙๐
ฎีกาที่ ๒๐๑๐/๒๕๒๒
• การบรรยายเวลาตาม
มาตรา ๑๕๘(๓)
หมายถึงวันเดือนปี
ด้ วย ไม่เฉพาะเวลา
กลางวันกลางคืน
• ฟ้องบรรยายวันที่หา
ว่ากระทาผิด แต่มิได้
กล่าวถึง เวลาไว้ ด้วย
เป็ นฟ้องที่ไม่สมบูรณ์
• ฟ้ องว่าบุกรุก
เคหสถาน บรรยายวัน
เวลาเกิดเหตุว่า
“กลางเดือนกรกฎาคม
ถึงปลายเดือน
สิงหาคม ๒๕๑๘ วัน
ใดไม่ปรากฎชัด เวลา
กลางวัน” ไม่เคลือบ
คลุม
ตัวอย่างการบรรยายวันเวลา
 แม้ ฟ้องไม่ระบุชดั ว่ากลางวันหรื อกลางคืน แต่หากรู้วา่ เป็ นกลางวันหรื อ
กลางคืนอยูแ่ ล้ ว ก็เป็ นฟ้องที่สมบูรณ์ เช่น ฟ้องว่าโจทก์นาหนังสือมอบ
อานาจปลอมไปใช้ ในการโอนที่ดนิ ต่อเจ้ าพนักงานที่ดนิ ณ สานักงานที่ดิน
ก็ฟังได้ อยูใ่ นตัวว่าเป็ นเวลาราชการ ซึง่ ก็ร้ ูอยูว่ า่ เป็ นเวลากลางวัน
บรรยายฟ้องว่า “จาเลยกับพวกเล่นการพนัน สลากกิ นรวบในเวลากลาง”
โดยพิมพ์ตกคาว่า วันหรื อคืน ไป จึงไม่ร้ ูวา่ “กลาง” อะไร แต่ศาลฎีกาวินิจฉัย
ว่า การเล่นพนันนัน้ ไม่วา่ กลางวันหรื อกลางคืนก็ผิดเช่นกัน การพิมพ์ตกไป
คาหนึง่ จึงไม่เป็ นสาระสาคัญ แต่ข้อสาคัญก็คือ จาเลยไม่หลงต่อสู้เรื่ องเวลา
เข้ าใจดีวา่ โจทก์หมายถึงกลางวัน (ฎีกาประชุมใหญ่ ๑๖๒๖/๒๕๐๖)
ตัวอย่างการบรรยายวันเวลา
 โจทก์บรรยายฟ้องคดีจาเลยสัง่ จ่ายเช็คไม่มีเงินว่า “ในวันที.่ ..
พฤษภาคม ๒๕๒๓ โจทก์ ได้นาเช็คไปขึ้นเงิ นกับธนาคารและธนาคาร
ปฏิ เสธการจ่ายเงิ น” โดยมิได้ เติมวันที่ให้ เรี ยบร้ อยชัดเจนลงไป เมื่อ
เดือนพฤษภาคม มี ๓๑ วัน จึงไม่ร้ ูวา่ จาเลยกระทาผิดวันไหน เพราะ
วันที่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินนันถื
้ อเป็ นวันที่ความผิดเกิดขึ ้น (ฎีกา
๑๑๔๖/๒๕๒๖)
หมำยเหตุ คดีนี ้โจทก์นาใบคืนเช็คของธนาคารส่งต่อศาลด้ วย แต่ไม่ได้ แนบเป็ น
สาเนาท้ ายฟ้อง ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า ไม่ทาให้ ฟ้องที่ไม่สมบูรณ์กลายเป็ นสมบูรณ์
ขึ ้นมาได้
เวลาและสถานที่ไม่ใช่องค์ประกอบความผิด

ที่มาตรา ๑๕๘(๕) บัญญัติวา่ “รายละเอี ยดเกี่ยวกับ
เวลาและสถานที่” จึงไม่ใช่องค์ประกอบของความผิด

ดังนัน้ ในทางปฏิบตั ิ
(๑) ศาลสัง่ ให้ โจทก์ไปแก้ ไขให้ ถกู ต้ องได้ ตาม มาตรา ๑๖๑
(๒) โจทก์ขอแก้ ไขเพิ่มเติมฟ้องให้ ถกู ต้ อง ตาม มาตรา ๑๖๓ และ ๑๖๔ ได้
(๓) กรณีไม่มีการสัง่ ให้ แก้ ไข หรื อโจทก์ไม่แก้ ไข และศาลยกฟ้อง ถือว่าฟ้อง
มิได้ บรรยายว่า จาเลยกระทาผิดเมื่อใด หรื อกระทาผิด ณ สถานที่ใด
เป็ นการวิ นิจฉัยเนือ้ หาของความผิ ดแล้ว ฟ้องใหม่ไม่ได้ เป็ นฟ้องซ้ า
การบรรยายสถานที่กระทาผิด
บรรยายเพียงให้ จาเลยเข้ าใจได้ วา่ ถูกกล่าวหาว่ากระทาผิด ณ ที่ใด โดย
ปกติระบุเพียง ตาบล อาเภอ จังหวัด ก็พอ
ถ้ าเหตุเกิดหลายแห่ง ควรบรรยายให้ หมด
การหมิ่นประมาททางหนังสือพิมพ์ มักระบุ “เหตุเกิดทัว่ ราชอาณาจักร”
ตัวอย่าง ฟ้องว่า จาเลยยืน่ คาร้องเท็จต่อศาลอาญา โดยไม่ระบุว่าศาล
อาญาอยู่ทีต่ าบล อาเภอและจังหวัดใด จาเลยก็เข้าใจข้อหาได้ดี เพราะ
มีศาลอาญาเดียวในประเทศไทย (ฎีกาที่ ๘๘๘/๒๔๙๕)
๓. บรรยายข้ อเท็จจริ งเรี ยงตามลาดับเหตุการณ์
เริ่ มจากก่อนกระทาผิด เมื่อกระทาผิด และหลังกระทาผิด
ถ้ าทาผิดหลายครัง้ เช่นยักยอกหรื อฉ้ อโกงหลายครัง้ ให้ บรรยายเรี ยงลาดับเหตุการณ์ไป
บรรยายฟ้ องว่าจาเลยกระทาผิดหลังวันฟ้อง โดยบรรยายว่า จาเลยกระทาผิ ดเมือ่ วันที ่
๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ แต่โจทก์ยื่นฟ้องต่อศาลเมือ่ วันที่ ๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๔๒ ถือเป็ น
ฟ้ องเคลือบคลุม เพราะเป็ นไปไม่ได้ ศาลต้ องยกฟ้อง (ฎีกา ๒๕๘๘/๒๕๔๓)
ฟ้ องเป็ นว่า คดีรับของโจรเกิดก่อนลักทรัพย์ โดยบรรยายว่า “เมือ่ วันที ่ ๑๗ พ.ย. ๒๕๔๒
เวลากลางคืน คนร้ายได้บงั อาจลักทรัพย์ของผูเ้ สียหายไป” และในวรรคต่อมาบรรยายว่า
“เมือ่ วันที ่ ๘ พ.ย. ๒๕๔๒ จาเลยได้บงั อาจร่ วมกันรับของโจรทรัพย์ดงั กล่าวทีม่ ีคนราย
ลักไป” ความผิดรับของโจรต้ องเกิดหลัง เมื่อมาบรรยายว่าเกิดก่อนการลักทรัพย์ จึงขัด
ต่อ มาตรา ๑๕๘ ลงโทษจาเลยไม่ได้ (ฎีกา ๒๓๗๐/๒๕๔๔)
๔. ข้ อเท็จจริ งเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของที่ใช้ ในการกระทาผิดหรื อ
ได้ มาจากการกระทาผิด บรรยายให้ ชดั เจนพอสมควร
มีบคุ คลอื่นร่วมกระทาผิดหรื อไม่ (อาจไม่ต้องระบุชื่อ)
ผู้เสียหายเป็ นใคร (ระบุชื่อ)
จาเลยใช้ อาวุธหรื อเครื่ องมืออะไรกระทาผิด เช่น ใช้ ปืน ถ้ าทราบ อาจ
บรรยายว่า “จาเลยใช้อาวุธปื นรี วอลเวอร์ ขนาดกระสุน .๓๘ เล็งไปที ่
ผูเ้ สียหายและยิ งผูเ้ สียหาย รวม ๓ นัด ถูกผูเ้ สียหายทีบ่ ริ เวณหน้าอกเป็ น
บาดแผล...” (ถ้ าไม่ทราบรายละเอียดของอาวุธ อาจบรรยายกว้ าง ๆ ว่าใช้
อาวุธปื นและขนาดกระสุน)
สิ่งของที่ได้ มาในการกระทาผิด อาจบรรยายว่า “จาเลยได้ลกั
จักรยานยนต์ยีห่ อ้ ... ทะเบี ยน...ขนาดเครื ่องยนต์ ... ซี ซีไปจากนายแดง
ผูเ้ สียหาย ซึ่งเป็ นเจ้าของทรัพย์”
ตัวอย่างบรรยายฟ้อง
บรรยายฟ้องชิงทรัพย์วา่ “จาเลยบังอาจกระทาความผิ ดฐานชิ งทรัพย์ โดยลักเอา
กระเป๋ าสตางค์ ๑ ใบราคา ๕๐ บาท เงิ นสด ๓๗๐ บาท...ของหญิ งไม่ทราบชือ่
อายุประมาณ ๓๕ ปี ผูเ้ สียหายไปโดยทุจริ ต”
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า เป็ นบรรยายฟ้องทีค่ รบถ้ วน เพราะตามฟ้องจะทราบว่าเป็ น
การชิงทรัพย์ของผู้อื่นไป มิใช่เอาทรัพย์ของจาเลยเองหรื อทรัพย์ไม่มีเจ้ าของไป
ฟ้องไม่เคลือบคลุม แม้ ความผิดประเภทนี ้ตามลักษณะของความผิด จะต้ องเป็ น
ทรัพย์ของผู้อื่น ซึง่ ตามปกติต้องระบุชื่อเจ้ าของทรัพย์ เพื่อให้ จาเลยต่อสู้คดีได้ แต่
กฎหมายไม่ได้ บงั คับไว้ เด็ดขาดว่าจะต้ องระบุชื่อเจ้ าของทรัพย์เสมอไป ในกรณีที่
ไม่อาจทราบตัวเจ้ าของทรัพย์ที่แน่นอนได้ คาฟ้องกล่าวเพียงพอสมควรเพื่อให้
จาเลยเข้ าใจข้ อหาได้ ดี ก็เพียงพอแล้ ว (ฎีกา ๑๔๓๓/๒๕๓๐)
เคยมีฎีกาเก่าที่วินิจฉัยว่า ฟ้องว่าลักทรัพย์ ไม่ระบุวา่ ทรัพย์ของใคร ลงโทษจาเลย
ไม่ได้ (ฎีกา ๕๓๓/๒๔๙๖)
สรุปว่าเรื่ องลักหรื อชิงทรัพย์ ต้ องบรรยายว่าทรัพย์เป็ นของผู้อนื่ ซึง่ เป็ น
องค์ประกอบความผิด แต่ไม่จาต้ องระบุชื่อเจ้ าของ ซึง่ อาจเป็ นผู้ทไี่ ม่ทราบชื่อได้
ตัวอย่างคาฟ้อง
 ฎีกำที่ ๘๓/๒๕๕๒
 ม. ๑๕๘ (๕) ประสงค์แต่เพียงให้ คาฟ้อง มีรายละเอียดพอสมควรที่จะทาให้
จาเลยเข้ าใจข้ อหาได้ ดี ก็พอแล้ ว
 ฟ้องจาเลยข้ อหา ร่วมกันฆ่าผู้อื่นโดยโดยใช้ อาวุธปื นยิงและไตร่ตรองไว้ ก่อน
โดยไม่บรรยายรายละเอียดว่าจาเลยทังสองร่
้
วมกันยิงผู้ตายอย่างไร ใครเป็ น
ผู้ยิง และผู้ตายถูกยิงที่สว่ นใดของร่างกาย ด้ วยอาวุธชนิดใด เป็ นฟ้องที่ชอบ
ด้ วยกฎหมาย
ตัวอย่างบรรยายฟ้อง
• คดีเกี่ยวกับพนันสลำกกินรวบ ฟ้องว่ ำ จำเลยเป็ นเจ้ ำมือสลำกกิน
รวบจำกผู้เล่ นทั่วไป ไม่ บรรยำยว่ ำรั บแทงจำกใคร ไม่ เป็ นฟ้อง
เคลือบคลุม เพรำะเป็ นเพียงรำยละเอียด (ฎีกำ ๑๐๘๐/๒๕๐๘)
•ฟ้องว่า จาเลยแจ้ งความเท็จต่อเจ้ าพนักงานสอบสวน และสังฆมนตรี
แต่ไม่ระบุวา่ เป็ นใคร เป็ นฟ้องเคลือบคลุม ส่วนที่ฟ้องว่า แจ้ งความเท็จต่อ
สังฆนายก แม้ ไม่ระบุพระนาม ก็ไม่เคลือบคลุม เพราะขณะนันมี
้ องค์เดียว
(ฎีกา ๘๙๔-๘๙๗/๒๖๐๖)
สรุปความสาคัญการบรรยายถึงบุคคลและสิง่ ของ
หากไม่บรรยายให้ ชดั เจน หรื อบรรยายข้ ามไป มักเป็ นฟ้องเคลือบคลุม
ผลของฟ้องเคลือบคลุม หากศาลยกฟ้อง จะฟ้องใหม่ได้ ในอายุความ
เทียบกับ กรณีไม่บรรยายวันเวลา และสถานที่กระทาผิด ซึง่
ศาลสัง่ ให้ โจทก์แก้ ไขหรื อโจทก์ขอแก้ ไขได้
หากไม่แก้ ไขและศาลวินิจฉัยว่าไม่มีวนั เวลากระทาผิด หรื อสถานที่กระทาผิด
ถือว่าวินิจฉัยในเนื ้อหาของความผิด ฟ้องใหม่ไม่ได้ เป็ นฟ้องซ ้า
๕. บรรยายข้ อเท็จจริ งให้ กระชับ ชัดเจน ไม่ฟมเฟื
ุ่ อย
 กำรเขียนฟ้องอำญำ ไม่ ใช่ กำรเรี ยงควำม แต่ เป็ นกำรย่ อควำม ไม่ ต้อง
ท้ ำวควำม หรื อเล่ ำเรื่ อง
 ฟ้องเพียงให้ มีควำมชัดเจนว่ ำ
- จาเลยกระทาอย่างไร
- กระทาต่อใครหรื อต่อสิง่ ใด
- กระทาเมื่อใด ณ ที่ใด
- เพื่อให้ จาเลยเข้ าใจและรู้วา่ ถูกกล่าวหาเรื่ องอะไร
ตัวอย่างการบรรยายฟ้อง
* ฟ้องว่า “จาเลยให้ การชันสอบสวนว่
้
า...และจาเลยเบิก
ความต่อศาลว่า...ดังนัน้ หากข้ อความที่จาเลยเบิกความ
ในชันศาลเป็
้
นความจริง ที่จาเลยให้ การต่อพนักงาน
สอบสวนย่อมเป็ นเท็จ และหากข้ อความที่ให้ การต่อ
พนักงานสอบสวนเป็ นความจริง การเบิกความต่อศาลก็
ย่อมเป็ นความเท็จ”
* ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า การบรรยายฟ้องเช่นนี ้ แสดงว่า
โจทก์เองก็ไม่ทราบว่าความจริ งเป็ นอย่างไร เป็ นฟ้องทีข่ ดั
กันเอง ไม่อาจทาให้จาเลยเข้าใจข้อหาได้ดี เป็ นฟ้องทีไ่ ม่
ชอบด้วย มาตรา ๑๕๘ (๕) (ฎีกา ๑๙๗๖/๒๕๒๕)
๖. ใช้ องค์ประกอบความผิดเป็ นเกณฑ์ตงั ้ แล้ วบรรยายข้ อเท็จจริ ง
เกี่ยวกับการกระทาความผิดให้ รับกัน
 ความผิดฐานลักทรัพย์ มาตรา ๓๓๔ บัญญัติวา่ “ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่น
หรื อที่ผ้ อู ื่นเป็ นเจ้ าของรวมอยูด่ ้ วย ไปโดยทุจริต ผู้นนั ้ กระทาความผิดฐาน
ลักทรัพย์...”
 บรรยายว่าให้ เข้ าองค์ประกอบความผิดได้ ดงั นี ้
“เมื่อ (วันเวลา) จาเลยได้บงั อาจกระทาผิ ดกฎหมาย กล่าวคื อ
จาเลยได้ลกั เอารถจักรยานยนต์ยีห่ อ้ ...อันเป็ นทรัพย์ของนายแดง ผูเ้ สียหาย
ไปโดยทุจริ ต”
๗. ข้ อเท็จจริ งอื่นที่เกี่ยวข้ อง
กรณีพนักงานอัยการเป็ นโจทก์ ต้ องบรรยายถึงผลการสอบสวน เช่น ในคดีเช็ค
“ต่อมาเมื อ่ วันที .่ ...เจ้าพนักงานตารวจจับกุมตัวจาเลยได้ นาส่งพนักงาน
สอบสวนสถานีตารวจ...ทาการสอบสวนตามกฎหมาย ในชัน้ สอบสวน
จาเลยให้การปฏิ เสธ คดีนี้ ผูเ้ สียหายได้มอบเช็คให้เจ้าพนักงานดาเนิ นการโดย
ชอบด้วยกฎหมายแล้ว”
กรณีมีประกันตัว ต้ องบรรยายต่อว่า
“จาเลยได้มีการประกันตัวออกไปในระหว่างการสอบสวน โจทก์ได้นาส่งตัว
จาเลยมาศาลพร้อมนีแ้ ล้ว”
กรณีราษฎรเป็ นโจทก์ ควรบรรยายถึงเหตุผลที่นาคดีมาฟ้องเอง เช่น
“คดีนี้ โจทก์ได้แจ้งความร้องทุกข์ ต่อเจ้าพนักงานตารวจแล้ว แต่โจทก์ประสงค์
จะดาเนิ นคดีเอง เพือ่ ความรวดเร็ ว”
การบรรยายฟ้องคดีหมิ่นประมาท ตาม ม.๑๕๘(๕) วรรคสอง
 ฟ้องต้ องกล่าวถึงถ้ อยคาพูด หรื อติดมาท้ ายฟ้อง บรรดาหนังสือ ภาพขีดเขียน
หรื อสิงอื่น อันเกี่ยวกับข้ อหมิ่นประมาท มากับฟ้อง
 สิ่งเหล่านี ้เป็ นข้ อเท็จจริ ง ส่วนข้ อเท็จจริ งที่วา่ นี ้เป็ นหมิ่นประมาทหรื อไม่ เป็ น
ข้ อกฎหมายที่ศาลต้ องวินิจฉัย
 ถ้ าข้ อความใดมีความหมายพิเศษ ก็ต้องระบุความหมาย หรื อระบุวา่ เป็ น
หมิ่นประมาทอย่างไร
 ฎีกำ ๑๒๑/๒๔๙๐ ฟ้องว่าจาเลยหมิ่นประมาทโดยมีหนังสือ หากฟ้อง
โจทก์มิได้ กล่าวให้ ชดั แจ้ งว่าข้ อความใด วรรคใด ตอนใด เป็ นการ
เสียหายต่อชื่อเสียงของโจทก์ ศาลก็ไม่อาจยกขึ ้นวินิจฉัย
 ฎีกำ ๑๘๖๔/๒๕๐๐ ฟ้องว่าหมิ่นประมาท ถ้ าคาที่กล่าวไม่ชดั เจนว่าเป็ น
การใส่ความ โจทก์ต้องบรรยายถึงพฤติการณ์ประกอบให้ เห็นว่า เป็ นการ
ใส่ความอย่างไร ถ้ าโจทก์วา่ ที่จาเลยกล่าวเป็ นความเท็จ โจทก์ต้อง
บรรยายว่าความจริ งเป็ นอย่างไร
ม. ๑๕๘(๖) การอ้ างมาตราที่กฎหมายบัญญัติวา่ การกระทานัน้
เป็ นความผิด
หลักควรจา ๖ ประการ
(๑) ถ้ ามาตราที่ระบุวา่ การกระทานันเป็
้ นความผิด กับมาตราที่กาหนดโทษเป็ นคน
ละมาตรากัน ต้ องอ้ างทังสองมาตรา
้
ฎี กา ที ่ ๓๓๒๓/๒๕๒๗ ฟ้องว่าเจตนาฆ่าเพือ่ ชิ งทรัพย์ แต่การกระทานัน้ ไม่
บรรลุผล เมื อ่ โจทก์ไม่ได้ระบุมาตรา ๒๘๙ มาในคาขอท้ายฟ้อง ไม่ใช่เป็ นการ
อ้างฐานความผิ ดหรื อบทมาตราผิ ด แต่โจทก์ไม่ได้อา้ งมาตราในกฎหมายซึ่ ง
บัญญัติว่าการกระทานัน้ เป็ นความผิ ดไว้ ขัดต่อมาตรา ๑๕๘ (๖) เป็ นฟ้องทีไ่ ม่
สมบูรณ์ ลงโทษจาเลยไม่ได้
(๒) ต้ องอ้ างทังชื
้ ่อกฎหมายและมาตราที่ขอให้ ลงโทษ
(๓) ต้ องอ้ างกฎหมายปั จจุบนั ที่ใช้ บงั คับอยู่ การอ้ างกฎหมายที่ถูกยกเลิกไปแล้ ว
ถือว่าเท่ากับไม่ได้ อ้างกฎหมายเลย แต่ถา้ มาตราที ถ่ ูกยกเลิ ก มี กฎหมายใหม่
เข้ามาแทน หรื อแก้ไข ถือว่าได้อา้ งแล้ว แม้จะไม่ได้อา้ ง พรบ. แก้ไขเพิ่มเติ มมา
ด้วยก็ตาม (ฎี กา ๑๙๑๒/๒๕๒๓)
ม. ๑๕๘(๖) การอ้ างมาตราที่กฎหมายบัญญัติวา่ การกระทานัน้
เป็ นความผิด
(ต่อ)
(๔) พระราชกฤษฎีกาหรื อกฎกระทรวงที่กาหนดความผิดกรณีฝ่าฝื น
ก็ต้องอ้ างด้ วย พร้ อมกฎหมายแม่บท
ฟ้องตาม พรบ. สงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า แต่ไม่ได้อา้ งกฎกระทรวง
ฉบับ ๑๑/๒๕๒๐ เป็ นฟ้องทีไ่ ม่สมบูรณ์ (ฎี กา ๓๘๖๙/๒๔๒๖)
(๕) ถ้ ากฎหมายมีทงบทห้
ั ้ าม และบทลงโทษ ควรอ้ างมาทังหมด
้
(๖) กฎหมายในประมวลอาญา ภาค ๑ ไม่อ้างก็ได้ เพราะไม่ใช่มาตราที่
บัญญัติเกี่ยวกับความผิด
ม. ๑๕๘(๗) ลายมือชื่อโจทก์
รำษฎรเป็ นโจทก์ ผู้เสียหำยต้ องลงชื่อเอง ทนำยควำมไม่ มีสิทธิลงชื่อ
เพรำะไม่ ใช่ โจทก์ หำกโจทก์ ไม่ ได้ ลงชื่อ ควรรี บขอแก้ ไขฟ้อง ตำม มำตรำ
๑๖๓,๑๖๔ ทันที
ฎีกา ๖๐๗/๒๕๑๔ แม้ ใบแต่งทนายความ จะระบุให้ ลงชื่อในฟ้องได้ ก็ไม่มีผล
เป็ นฟ้องไม่ชอบด้ วยกฎหมาย
ฎีกา ๘๙๐/๒๕๐๓ (ประชุมใหญ่) แต่ผ้ รู ับมอบอานาจ ลงชื่อในฟ้องได้
อุทธรณ์หรื อฎีกา ทนายความลงชื่อได้
คาร้ องขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ ไม่ใช่คาฟ้อง ทนายความลงชื่อได้
ม. ๑๕๘(๗) ผู้เรี ยง ผู้เขียนหรื อผู้พิมพ์ฟ้อง
ลำยมือชื่อผู้เรียง ผู้เขียน หรือผู้พมิ พ์ ฟ้อง
ต้ องระบุมาให้ ถกู ต้ องครบถ้ วน
ฎีกำ ๑๒๖๑/๒๕๒๑ ฟ้องทีล่ งลายมือชือ่ โจทก์ ผูเ้ ขี ยนหรื อผูพ้ ิมพ์
แต่ไม่ลงชือ่ ผูเ้ รี ยง เป็ นฟ้องที่ไม่ชอบด้ วย ปวิอ มาตรา ๑๕๘(๗)
ตัวอย่างคาฟ้อง
 ควำมผิดฐำนฆ่ ำผู้อ่ ืน
ข้ อ ๑. เมื่อวันที่......เวลากลางวัน จาเลยกับพวกอีกหนึง่ คนที่ยงั ไม่ได้ ตวั
มาฟ้อง ได้ ร่วมกระทาความผิดด้ วยกัน บังอาจใช้ ขวานจามบริเวณลาตัว
นายแดงหลายครัง้ เป็ นบาดแผลฉกรรจ์หลายแห่ง โดยจาเลยกับพวกมี
เจตนาฆ่านายแดงให้ ตาย เป็ นเหตุให้ นายแดงถึงแก่ความตายเพราะพิษ
บาดแผลดังกล่าว รายละเอียดบาดแผลปรากฎตามรายงานชันสูตรพลิก
ศพท้ ายฟ้อง
เหตุเกิดที่....................
(ประมวลอาญา มาตรา ๒๘๘ ผูใ้ ดฆ่าผูอ้ ื น่ ...)
ตัวอย่างร่างฟ้อง
 ควำมผิดฐำนลักทรั พย์ ในเคหสถำน
ข้ อ ๑. เมื่อวันที่....เวลา...จาเลยได้ บงั อาจเข้ าไปในบ้ าน อันเป็ นเคหสถานที่อยู่
อาศัยของนายแดงโดยไม่ได้ รับอนุญาต แล้ วเอาโทรทัศน์หนึง่ เครื่ อง ราคา
10,000 บาท อันเป็ นของนายแดง ซึง่ อยูใ่ นเคหสถาน ดังกล่าวไป โดยทุจริ ต
เหตุเกิดที่....
(มาตรา ๓๓๔ ผูใ้ ดเอาทรัพย์ของผูอ้ ืน่ หรื อทีผ่ อู้ ืน่ เป็ นเจ้าของรวมอยู่ดว้ ย ไปโดยทุจริ ต
มาตรา ๓๓๕ ผูใ้ ดลักทรัพย์ (๘) ในเคหสถาน)
ตัวอย่างคาฟ้อง
 ควำมผิดฐำนวิ่งรำวทรั พย์
ข้ อ ๑. เมื่อวันที่...เวลา...จาเลยได้ บงั อาจลักโทรศัพท์มือถือหนึ่งเครื่ องราคา
๑๕,๐๐๐ บาท ของนางสาวแดง ไปโดยทุจริต โดยการฉกฉวยเอาซึง่ หน้ าของ
นางสาวแดงนันเอง
้
เหตุเกิดที่...
(มาตรา ๓๓๖ ผูใ้ ดลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาซึ่ งหน้า)
ตัวอย่างคาฟ้อง
 ควำมผิดฐำนจ้ ำงวำนให้ ผ้ ูอ่ ืนกระทำควำมผิดฐำนฆ่ ำผู้อ่ ืน
ข้ อ ๑. เมื่อวันที่......เวลา.........จาเลยซึง่ มีเจตนาฆ่านายแดง ได้ บงั อาจกระทาผิด
กฎหมายโดยก่อให้ ผ้ มู ีชื่อกระทาความผิดฐานฆ่านายแดงโดยเจตนา โดยจาเลยได้
บังอาจจ้ างวานให้ ผ้ มู ีชื่อไปทาการฆ่านายแดง และในวันเวลาดังกล่าว ผู้มีชื่อที่
จาเลยเป็ นผู้จ้างวานได้ กระทาความผิดฐานฆ่าผู้อื่น โดยใช้ อาวุธปื นยิงนายแดง
หลายนัด จนเป็ นเหตุให้ นายแดงถึงแก่ความตาย รายละเอียดบาดแผลผู้ตาย
ปรากฎตามรายงานการชันสูตรพลิกศพท้ ายฟ้อง
เหตุเกิดที่.............
(บรรยายตาม มาตรา ๒๘๘ ผู้ใดฆ่าผู้อื่น.....
มาตรา ๘๔ ผู้ใดก่อให้ ผ้ อู ื่นกระทาความผิด ไม่วา่ ด้ วยการใช้ บังคับ ขูเ่ ข็ญ จ้ างวาน
หรื อยุยงส่งเสริ ม หรื อด้ วยวิธีอื่นใด)
ตัวอย่างคาฟ้อง
 ควำมผิดฐำนปลอมบัตรเครดิต
ข้ อ ๑. เมื่อวันที.่ ..ถึงวันที่...วันเวลาใดไม่ปรากฎชัด จาเลยบังอาจทาผิดกฎหมาย
โดยทาบัตรเครดิต ซึง่ ธนาคาร...ได้ ออกให้ แก่ผ้ เู สียหาย อันเป็ นบัตรอิเล็กทรอนิกส์
ขึ ้นทังฉบั
้ บ และได้ ยดึ ถือบัตรดังกล่าวไว้ เพื่อนาออกใช้ ทังนี
้ ้จาเลยได้ กระทาเพื่อให้
ผู้อื่นหลงเชื่อว่าบัตรอิเล็กทรอนิกส์ดงั กล่าวนันเป็
้ นบัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่แท้ จริ ง โดย
ประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผ้ เู สียหาย
เหตุเกิดที.่ ..
(บรรยายตาม มาตรา ๒๖๙/๑ ผูใ้ ดทาบัตรอิ เล็กทรอนิ กส์ปลอมขึ้นทัง้ ฉบับหรื อแต่ส่วนหนึ่ง
ส่วนใด เติ มหรื อตัดทอนข้อความ หรื อแก้ไขด้วยประการใด ๆ ในบัตรอิ เล็กทรอนิ กส์ทีแ่ ท้จริ ง
โดยประการทีน่ ่าจะเกิ ดความเสียหายแก่ผอู้ ืน่ หรื อปราชน ถ้าได้กระทาเพือ่ ให้ผหู้ นึ่งผูใ้ ด
หลงเชือ่ ว่าเป็ นบัตรอิ เล็กทรอนิ กส์ทีแ่ ท้จริ งหรื อเพือ่ ใช้ประโยชน์อย่างหนึ่งอย่างใด)
ตัวอย่างคาฟ้อง
 ควำมผิดฐำนทำร้ ำยผู้อ่ ืนจนถึงแก่ ควำมตำย
ข้ อ ๑. เมื่อวันที่.........เวลา..............จาเลยนี ้ได้ บงั อาจใช้ ร่มเป็ นอาวุธทาร้ าย
ร่างกายนางดี หลายครัง้ ถูกบริเวณลาตัว เป็ นเหตุให้ นางดีล้มลงศีรษะกระแทก
ฟื น้ จนกระโหลกศีรษะร้ าว ได้ รับอันตรายสาหัสและถึงแก่ความตายในเวลาต่อมา
เพราะการกระทาของจาเลยดังกล่าว รายละเอียดบาดแผลปรากฎตามรายงาน
แพทย์ที่แนบมาท้ ายคาฟ้อง
เหตุเกิดที่.............
(มาตรา ๒๙๐ ผูใ้ ดมิ ได้มีเจตนาฆ่า แต่ทาร้ายผูอ้ ื น่ จนเป็ นเหตุให้ผูน้ นั้ ถึงแก่ความตาย)
ตัวอย่างคาฟ้อง
 ควำมผิดฐำนหมิ่นประมำท
ข้ อ ๑. เมื่อวันที่.....................เวลา.................จาเลยได้ บงั อาจหมิ่นประมาท
ด้ วยการใส่ความ น.ส. จันทร์ ต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะทาให้ น.ส.
จันทร์ เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น และถูกเกลียดชัง โดยจาเลยได้ กล่าวว่า “น.ส.
จันทร์ ..................(ใส่ข้อความเต็มตามที่ใส่ความ)”
เหตุเกิดที่...........
อนึง่ คดีนี ้ ผู้เสียหายได้ ร้องทุกข์ตอ่ พนักงานสอบสวนให้ ทาการสอบสวนและ
ดาเนินคดีกบั จาเลยไว้ ตามกฎหมายแล้ ว
(มาตรา ๓๒๖ ผูใ้ ดใส่ความผูอ้ ื น่ ต่อบุคคลที ส่ าม โดยประการที น่ ่าจะทาให้ผอู้ ื น่
นัน้ เสียชื อ่ เสียง ถูกดูหมิ่ นหรื อถูกเกลี ยดชัง..)
การขอให้ เพิ่มโทษ
 เพิ่มโทษ เพราะจาเลยเคยต้ องโทษมาก่อน
 บรรยายตาม ปวิอ. มาตรา ๑๕๙ ซึง่ บัญญัติวา่
“ถ้าจาเลยเคยต้องคาพิพากษาให้ลงโทษเพราะได้กระทาความผิ ดมาแล้ว เมื ่อ
โจทก์ตอ้ งการให้เพิ่มโทษจาเลยฐานไม่เข็ดหลาบให้กล่าวมาในฟ้ อง”
 ถ้ าไม่ได้ ขอเพิ่มโทษมาในฟ้อง ก่อนมีคาพิพากษาศาลชันต้
้ น โจทก์จะยื่นคาร้ อง
ขอเพิ่มเติมฟ้อง เมื่อศาลเห็นสมควรจะอนุญาตก็ได้ ”
 และ
 อ้ างมาตรา ๙๒ คือพ้ นโทษมาแล้ วไม่เกิน ๕ ปี หรื อ
 อ้ างมาตรา ๙๓ เพิ่มโทษในลักษณะที่ระบุไว้ ๑๓ ประเภท
ตัวอย่างการบรรยายขอให้ เพิ่มโทษ
 บรรยายขอให้ เพิ่มโทษในคาฟ้อง
“อนึง่ จาเลยเคยต้ องโทษมาตามคาพิพากษาของศาลอาญา คดีแดงเลขที่...
ให้ จาคุกมีกาหนด ๒ ปี ในข้ อหาลักทรัพย์ คดีถงึ ที่สดุ แล้ ว และจาเลยได้ พ้น
โทษมาแล้ ว แต่ได้ กระทาผิดในคดีนี ้อีก ภายในกาหนดเวลาไม่เกิน ๓ ปี นับแต่
วันพ้ นโทษ จึงขอให้ ศาลโปรดเพิ่มโทษจาเลยฐานไม่เข็ดหลาบด้ วย”
บรรยายฟ้องสาหรับการกระทาผิดหลายกระทง
 บรรยำยตำม ปวิอ. มำตรำ ๑๖๐ วรรคหนึ่ง
ความผิดหลายกระทงจะรวมในฟ้องเดียวกันก็ได้ แต่ให้ แยกกระทงเพียงเป็ นลาดับไป
ข้ อ ๑. เมื่อวันที่ ......เวลา....จาเลยได้ บงั อาจกระทาผิดกลายบทหลายกระทง ดังจะ
กล่าวต่อไปนี ้
๑.๑ ...
ถ้ าการกระทาใช้ เวลาหลายวัน อาจบรรยายลักษณะนี ้
ข้ อ ๑. เมื่อระหว่างวันที่...ถึงวันที.่ ..เวลากลางวันและกลางคืนต่อเนื่องกัน (หรื อวันเวลา
ใดไม่ปรากฎชัด) จาเลยได้ บงั อาจกระทาความผิดหลายบทหลายกระทง ดังจะกล่าว
ต่อไปนี ้
จบบรรยาย