การพัฒนาการเป็น Facilitator, Note Taker, Modulator

Download Report

Transcript การพัฒนาการเป็น Facilitator, Note Taker, Modulator

วิทยากรกระบวนการ (Facilitater)
ฉัตรลดา กาญจนสุทธิแสง
วิทยากร VS วิทยากรกระบวนการ
วิทยากรในความหมายเดิม
1. เป็ นครู (Teacher)
2. เป็ นผู้นาความรู้ มาให้ เน้ นการ ถ่ ายทอด และการฟั ง
3. มีเป้ าหมายให้ ผ้ ูฟังเชื่อในสิ่งที่นาเสนอ
4. วิทยากรเป็ นศูนย์ กลาง
5. เป็ นผู้ตัดสินการเปลี่ยนแปลงของผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม
วิทยากร VS วิทยากรกระบวนการ
วิทยากรในความหมายเดิม
6. ความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ เป็ นความรั บผิดชอบ
ของวิทยากร
7. การสื่อสารทางเดียว (ONE WAY
COMMUNICATION)
8. มีความรู้ เชี่ยวชาญเฉพาะ (Expert)
9. ต้ องตอบคาถามได้ ทุกอย่ าง
วิทยากร VS วิทยากรกระบวนการ
วิทยากรในความหมายเดิม
10. สนใจให้ รับความรู้ พึ่งพาวิทยากร
11. มุ่งยกระดับตัวความรู้
12. มักเป็ นระบบปิ ด และไม่ ยืดหยุ่น
13. สนใจเนือ้ หามากกว่ ากระบวนการ
วิทยากร VS วิทยากรกระบวนการ
วิทยากรกระบวนการ(facilitater)
1. เป็ นครู ฝึก (Coach) ตัง้ คาถาม/สะท้ อนความคิด
พร้ อมให้ คาแนะนา
2. เป็ นผู้จัดกระบวนการให้ เกิดความรู้ เน้ นการ
แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้
3. มีเป้ าหมายให้ ผุดบังเกิดความรู้ ใหม่
4. ผู้เข้ าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู้ เป็ นศูนย์ กลาง
วิทยากร VS วิทยากรกระบวนการ
วิทยากรกระบวนการ(facilitater)
5. เป็ นเพียงกระจกสะท้ อนให้ ผ้ ูเข้ าร่ วมกิจกรรมการเรียนรู้
เปลี่ยนแปลงตนเอง
6. ความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ เป็ นความ รับผิดชอบของ
ผู้เข้ าร่ วมกิจกรรมการเรียนรู้ ร่ วมกันกับวิทยากร
7. การสื่อสารสองทาง (TWO WAY COMMUNICATIONS)
8. มีความรู้ท่ เี ป็ นสหวิทยาการ (องค์ รวม)
วิทยากร VS วิทยากรกระบวนการ
9. ไม่ จาเป็ นต้ องเป็ นผู้ร้ ูทุกอย่ าง ความรู้อยู่ท่ กี ารเรียนรู้ ร่วมกัน
10. สนใจให้ เกิดกระบวนการการเรียนรู้ร่วมกันนาไปสู่พลัง
ทวีคูณ (Synergy) และพึ่งพาตนเอง
11. มุ่งยกระดับความคิด (Meta Level)
12. เป็ นระบบเปิ ด และยืดหยุ่น
13. ให้ ความสนใจต่ อกระบวนการ การปฏิสัมพันธ์ และการ
เกิดความรู้ และวิธีการทางานของผู้เข้ าร่ วมสัมมนาใหม่ ๆ
มากกว่ าการมารับเนือ้ หาเพียงอย่ างเดียว
Facilitator
ผู้รับผิดชอบในการจัดโครงสร้ างและกิจกรรม
ให้ ทมี /กลุ่ม/คณะทางาน เพื่อให้ ทมี ทางานได้
บรรลุเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ ขององค์ กร
ผู้ทจี่ ะเป็ น facilitator ทีด่ ีต้องเข้ าใจกระบวนการกลุ่ม
Facilitator ทาอะไร
Facilitate การประชุม โดยใช้ ทกั ษะที่เหมาะสม<
ผู้จัดเตรียม (organizer) เข้ าใจ Group dynamic
ผู้ส่ ือสาร (Communicators) 2 way com.
จัดการกับโครงสร้ าง/กระบวนการ ไม่ ย่ ุงกับ
เนือ้ หา
บทบาทวิทยากรกระบวนการ
จัดประสบการณ์ การเรี ยนรู้ แบบมีส่วนร่ วม ให้ กลุ่มได้
แลกเปลี่ยนทากิจกรรม และเรี ยนรู้
สร้ างบรรยากาศความเป็ นมิตร ความเสมอภาค และ
ความร่ วมมือเพื่อให้ เอือ้ ต่ อการเรี ยนรู้
เข้ าช่ วยเหลือกลุ่มเมื่อเห็นว่ ากลุ่มไม่ ก้าวหน้ า โดยการ
เสนอแนะทางเลือกเพื่อให้ กลุ่มพิจารณาแก้ ปัญหา
แนะนาแหล่ งความรู้ ข้ อมูลข่ าวสารที่เป็ นประโยชน์ ต่อ
กลุ่ม
บทบาทวิทยากรกระบวนการ
ตอบคาถาม/ให้ ข้อมูลที่จาเป็ นในการตัดสินใจของ
กลุ่ม
ตัง้ คาถามกระตุ้นการแลกเปลี่ยน
คลี่คลายความขัดแย้ ง
ช่ วยสรุ ป/ไม่ แทรกแซง/ชีน้ าความคิดของกลุ่ม
ป้ องกันการผูกขาด/ครอบงาของสมาชิกบางคนใน
กลุ่ม
คุณสมบัตขิ องวิทยากรกระบวนการ
เชื่ อในศักยภาพ/เคารพศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์
รู้เข้ าใจ/มีทกั ษะ กระบวนการกลุ่ม
มีทกั ษะการสื่ อสาร เป็ นผู้ฟัง/ผู้พูด ทีด่ ี
มีความยืดหยุ่นทางความคิด คิดในแง่ ดี
มีบุคลิกภาพทีเ่ ป็ นมิตร เข้ าใจคน
คุณสมบัตขิ องวิทยากรกระบวนการ
มนุษย์ สัมพันธ์ /วุฒิภาวะทางอารมณ์ ดี
เป็ นกลาง ใจกว้ าง รับฟัง ไม่ ชี้นา
ใจเย็น อารมณ์ ขัน
ช่ างสั งเกต ละเอียดรอบคอบ
ระมัดระวังคาพูด/การกระทาไม่ ให้ กระเทือนใจ
พูดเป็ นถามเป็ น
เป็ น
กลาง
เป็ นมิตร
คิดดี
คุณสมบัตขิ อง
วิทยากรกระบวนการ
ที่ดี
ฟังเป็ นสรุปเป็ น
เชื่ อใน
ศักยภาพ
เคารพใน
ศักดิ์ศรี
หน้ าที่ของวิทยากรกระบวนการ
 ความเข้ าใจเป้ าหมาย/จุดประสงค์ ของการประชุม
 เตรียมประเด็นหลัก ข้ อมูล การจุดประเด็น กาหนดกิจกรรม
และกระบวนการ
 ประสานงานกับผู้จัดการประชุม จานวนและข้ อมูลผู้เข้ า
ประชุม สถานทีท่ เี่ หมาะสม วัสดุ อุปกรณ์ ทจี่ ะต้ องใช้
หน้ าที่ของวิทยากรกระบวนการ
เตรียมทีมวิทยากร ผู้จัดการประชุม มอบหมาย
หน้ าที่
ชี้แจงวิธีการประชุม เป้าหมาย กติกา มารยาท
กระตุ้นให้ ทุกคนแสดงความคิดเห็น
สร้ างความชัดเจนในประเด็น ทีค่ ลุมเครื อ
หน้ าที่ของวิทยากรกระบวนการ
 ยืดหยุ่น เพื่อให้ กระบวนการราบรื่น และมีส่วน
ร่ วม

สร้ างบรรยากาศ และสัมพันธภาพ

ยึดโครงสร้ าง หรือกระบวนการไม่ ใช่ เนือ้ หา
 ประสานเพื่อให้ กลุ่มเข้ าถึงข้ อมูล เพื่อการ
ตัดสินใจ
ทักษะที่จาเป็ นของ Facilitator
1.ทักษะในการตัง้ คาถาม
2. ทักษะในการฟั ง
3. ทักษะในการสังเกต
4.ทักษะในการ Feedback
5. ทักษะในการใช้ ภาษากาย
ทักษะในการฟัง
ตั้งใจฟังอย่ างจริงจัง
มองผู้พูด สนใจฟัง
ไม่ ด่วนตัดสิ นใจ
สรุปประเด็น
ทดสอบความเข้ าใจ
ทาใจให้ เป็ นกลาง ไม่ อคติ
มีการบันทึก/Feed back ที่เหมาะสม
ทักษะในการสังเกต
 ผู้สังเกตต้ องไม่ เข้ าร่ วมในกระบวนการกลุ่ม
 เสนอผลอย่ างเป็ นระบบ ตามที่เห็นหรื อได้ ยนิ
 หากต้ องบอกชื่อ ต้ องมี Feed back ที่เหมาะสม
 ควรให้ สมาชิกได้ เสนอผลการสังเกตที่แตกต่ าง
วัตถุประสงค์ คือนาผลไปกระตุ้นกลุ่มให้ มี
พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์
ทักษะในการสังเกต
สังเกตอะไร
คน พฤติกรรม ปฏิสัมพันธ์ บทบาทของสมาชิก
บรรยากาศ
กระบวนการกลุ่ม การเปิ ดประเด็น การ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การลงมติ การสรุ ปประเด็น
เทคนิคการแก้ ปัญหากลุ่ม
ปัญหา
กลุ่มใหญ่ มาก (ขนาดที่พอดี 8-10 คน)
ผู้ให้ และผู้รับ เช่ น คุณกิจตัวปลอม
ผู้ให้ และผู้รับ ขาดการเตรี ยมความพร้ อม / มือใหม่
เล่ าเรื่อง / พูดคุยนอกประเด็น / วกวน / ไม่ พดู / ชีน้ า
ผู้เล่ าเสียงแผ่ วเบา / พูดคลุมเครือ
ขาดการเล่ าลงลึกถึง How to ตัง้ แต่ เริ่มและสิน้ สุด
กระบวนการ
7. ขนาดเทคนิคในการดึงประเด็น เคล็ดลับ / หลักการที่
เป็ น Tacit k.
1.
2.
3.
4.
5.
6.
คุณลิขิต
( Notetaker)
ฉัตรลดา กาญจนสุทธิแสง
ทักษะที่ต้องการในการทาหน้ าที่" คุณลิขิต"
1. ฟั งอย่ างตัง้ ใจ
2. ทักษะในการจับประเด็นความรู้ท่ เี ป็ นความรู้ปฏิบัติ
(tacit knowledge) เล็กๆ จานวนมากมาย จากเรื่องเล่ า
3. ทักษะในการเขียนความรู้ปฏิบตั ิ ขึน้ flip chart เพื่อให้
สมาชิกกลุ่มได้ มองเห็น และช่ วยกันเพิ่มเติม หรือปรับปรุ ง
ให้ ครบถ้ วน และถูกต้ องยิ่งขึน้
4. มีความรู้ด้านเนือ้ หา (content) ความรู้ ตาม "หัวปลา" ที่
กาหนด
5. ความสามารถในการจดบันทึกอย่ างรวดเร็ว
6. ต้ องเป็ นผู้ท่ มี ีทกั ษะการคิดเชิงแนวคิด (Concept)
7. ต้ องมีทกั ษะการจดบันทึกที่ดีและเร็ว
8. มีทกั ษะการฟั งและการเขียนหรือจดบันทึกได้ ใน
ขณะเดียวกัน
9. ต้ องมีทกั ษะในการจดบันทึกโดยคงภาษาหรือคาพูดเดิม
ของผู้เล่ าได้ เพื่อไม่ ให้ ความหมายผิดเพีย้ น เปลี่ยนแปลง
ไป (ต้ องบันทึก Tacit Knowledge ได้ 90% และ
Explicit Knowledge 10%)
10. ต้องมีเทคนิคหรือความสามารถเฉพาะตัวในการ
บันทึก เช่น การเขียนบน Flip Chart การบันทึก
แบบ Mindmap การพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น
11. ต้องมีทกั ษะหรือความสามารถในการหยุดหรือขัดจังหวะการ
เล่าเรื่องอย่างมีเทคนิค เพื่อสอบถามหรือตรวจทานความถูกต้อง
ของประเด็นที่สกัดออกมาได้จากเรื่องเล่าแต่ละเรื่องของกลุ่ม
12. ผูท้ ี่จะเป็ นคุณลิขิต ควรจะเป็ นผูท้ ี่อยู่ในกลุ่มนัน้ หรือ
เป็ นคนในกลุ่มเดียวกับผูเ้ ข้าร่วมคนอื่นๆ เพราะจะได้เข้าใจและ
ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารที่ตรงกับกลุ่มได้เป็ นอย่างดี
เทคนิคการเล่ าเรื่ อง
(storytelling)
การเล่าเรื่ อง (storytelling)
เป้ าหมายสาคัญที่สุดของการเล่ าเรื่อง คือให้ ผ้ มู ีความรู้
จากการปฏิบตั ิ ปลดปล่ อยความรู้ท่ ซี ่ อนอยู่ในส่ วนลึกของ
หัวใจ (ความเชื่อ), ในส่ วนลึกของสมอง (ความคิด), และ
ในส่ วนลึกของร่ างกาย (การปฏิบัต)ิ ออกมาเป็ นคาพูด
และหน้ าตาท่ าทาง (non-verbal communication) มี
เป้ าหมายให้ เกิดการสื่อสารทัง้ โดยใช้ จติ สานึก และจิตใต้
สานึก ดังนัน้ ถ้ าฝึ กปฏิบตั จิ นมีความชานาญ การเล่ า
เรื่องจะปลดปล่ อยความรู้ออกมาอย่ างทรงพลังอย่ างไม่ น่า
เชื่อ
เรื่องเล่ าที่ดี
ไม่ ตีความระหว่ างเล่ า เล่ าเฉพาะเหตุการณ์ และ
ผลที่เกิดขึน้ บรรยากาศ ตัวละคร ความคิดของผู้เล่ า
ในขณะเกิดเหตุการณ์
เล่ าให้ เห็นคน เล่ าเหตุผลในขณะนัน้ ว่ าทาไมผู้เล่ าจึง
ตัดสินใจทาเช่ นนัน้
เล่ าสัน้ ๆ หนึ่งเรื่องมีประเด็นเดียว
สมาชิกอีกคนหนึ่งอาจขอเล่ าเรื่องในประเด็นเดียวกัน แต่
สะท้ อนความรู้ /วิธีการคนละแบบ
วิธีการและขั้นตอนของการเล่าเรื่ องมีดังต่ อไปนี้
กำหนด “หัวปลำ” ให้ชดั ซึ่งหมำยถึงเป้ำหมำยของ
กำรประช ุมแลกเปลี่ยนเรียนร ้ ู เช่น “ แนวทางการ
พัฒนาและรักษามาตรฐานร้านอาหารและแผงลอย “
กาหนดให้กลุ่มเป็ นกลุ่มเล็ก ไม่เกิน 10 คน เพื่อให้มี
ความรูส้ กึ ใกล้ชิด เป็ นกันเอง ไม่เป็ นทางการ สร้าง
ความรูส้ กึ เป็ นอิสระได้ง่าย ความรูส้ กึ แบบนี้เอื้อต่อ
การเล่าเรื่องอย่างมีพลัง ทาให้ความรูฝ้ ั งลึก และซ่อน
อยูม่ ิดชิดจนตัวเองก็ไม่รวู้ า่ ตนรู้ ถูกปลดปล่อยออกมาได้
ง่ายขึ้น
วิธีการและขั้นตอนของการเล่ าเรื่ อง
สมำชิกกลมุ่ เป็น “ตัวจริง” ซึ่งหมำยควำมว่ำ เป็น
ผูป้ ฏิบตั ิงำนเพื่อกำรบรรล ุ “หัวปลำ” ที่ตกลงกัน
ด้วยตนเอง
ถ้ำเป็นไปได้ จัดแบ่งกลมุ่ ให้สมำชิกกลมุ่ ประกอบด้วย
คนที่มีควำมแตกต่ำงกัน เช่นคิดต่ำงกัน ทำงำน
ต่ำงหน่วยงำน อยูค่ นละอำเภอ เรียนหนังสือคนละ
สำขำ เป็นต้น เนื่องจำกในกำรประช ุมกลมุ่ นี้เรำ
ต้องกำรใช้พลังของความแตกต่างหลากหลาย
วิธีการและขั้นตอนของการเล่ าเรื่ อง
มีกำรเลือกหรือแต่งตัง้ ประธำนกลมุ่ ทำหน้ำที่ดำเนินกำร
ประช ุม และสร ุปประเด็นเป็นระยะๆ และเลือกเลขำน ุกำร
กลมุ่ ทำหน้ำที่จดประเด็น และบันทึก ขุมความรู้
(Knowledge Assets) เพื่อกำรบรรล ุหัวปลำ
สมำชิกกลมุ่ เล่ำเรือ่ งเกื่ยวกับควำมสำเร็จของตน ตำม “หัว
ปลำ”
สมำชิกกลมุ่ คนอื่นๆ ช่วยกัน “สกัด” หรือ “ถอด” ควำมร ้ ู
เพื่อกำรบรรล ุหัวปลำออกมำ และให้เลขำน ุกำรกลมุ่ เขียน
ขึ้นกระดำน flip chart ให้ได้เห็นทัว่ กัน และแก้ไข
ตกแต่งได้ง่ำย
วิธีการและขั้นตอนของการเล่ าเรื่ อง
1.มี “ค ุณอำนวย” (Group Facilitator) ทำหน้ำที่
ช่วยเหลือให้กำรประช ุมรำบรืน่ สร้ำงบรรยำกำศของควำมชื่น
ชม ควำมคิดเชิงบวก กำรซักถำมด้วยควำมชื่นชม
(Appreciative Inquiry) ให้สมำชิกกลมุ่ ได้
หมุนเวียนกันเล่ำเรือ่ งถ้วนหน้ำกัน ไม่มีคนใดคนหนึ่งผูกขำด
กำรพูด คอยช่วยตัง้ คำถำม “ทำไม่จึงทำเช่นนัน้ ” “คิด
อย่ำงไร จึงทำเช่นนัน้ ” เพื่อช่วยให้ “ความรูเ้ พื่อการปฏิบตั ิ”
ถ ูกปลดปล่อยออกมำ และคอยกระตน้ ุ ให้สมำชิกกลมุ่ ช่วยกัน
“สกัด” หรือ “ถอด” ควำมรเ้ ู พื่อกำรบรรล ุหัวปลำ ออกมำ และ
มีผบ้ ู นั ทึกไว้
วิธีการและขั้นตอนของการเล่ าเรื่ อง
กำรเล่ำเรื่อง ให้เล่ำเพียงประเด็นเดียวต่อหนึ่งเรื่อง และเล่ำสัน้ ๆ
เล่ำตำมควำมเป็นจริง ไม่ตีไข่ใส่สี เล่ำให้เห็นตัวคน หรือตัวละคร
เห็นพฤติกรรมหรือกำรกระทำ เห็นควำมคิดหรือควำมเชื่อที่อยู่
เบื้องหลัง เล่ำให้เห็นชีวิตและควำมสัมพันธ์ที่อยูใ่ นเรือ่ ง เล่ำให้มี
ชีวิตชีวำ เห็นภำพพจน์ เห็นสภำพแวดล้อมหรือบริบทของเรื่อง
ในกำรเล่ำเรื่องต้องเล่ำแบบให้ขอ้ มูลดิบ ที่ไม่ผำ่ นกำรตี ควำมของผู้
เล่ำ คือเล่ำเหต ุกำรณ์ ไม่ใช่เล่ำควำมเข้ำใจของผูเ้ ล่ำที่ ได้จำก
เหต ุกำรณ์ ไม่ใช่เล่ำกำรตีควำมของผูเ้ ล่ำ ถือว่ำเรื่องเล่ำเป็น
ข้อมูลดิบ สำหรับให้สมำชิกกลมุ่ ผลัดกันตีควำม เพื่อดึง “ควำมรู้
เพื่อกำรบรรล ุหัวปลำ” ออกมำ
วิธีการและขั้นตอนของการเล่ าเรื่ อง
การเล่ าเรื่ องจะประสบความสาเร็จมากน้ อยขึน้ อยู่กับ
ปั จจัยหลัก ๓ ประการ คือ ผู้เล่ า ผู้รับฟั ง และ
บรรยากาศขณะเล่ า
ผู้เล่ าที่มีอารมณ์ แจ่ มใส มีความรู้ สึกเอือ้ อาทร (care) ต่ อ
กลุ่มผู้ฟัง มีความรู้สึกว่ าผู้ฟังเป็ นกัลยาณมิตร มีจติ ใจ
พร้ อมจะให้ มีความภูมิใจในความสาเร็จที่ตนกาลังเล่ า
เป็ นผู้ประสบเหตุการณ์ ในเรื่ องที่เล่ าด้ วยตนเอง
แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้
ถอดหมวก ลดอาวุโส ไม่ ตดิ ยึดยศ ตาแหน่ ง เชื่อว่ าไม่ มีใครรู้
ไปหมดเสียทุกเรื่อง
ทาจิตให้ ว่าง ทุกอย่ างคือสิ่งใหม่ ฟั งให้ ลึก (Deep listening)
สงบ มีสมาธิ ฟั งในตัวตน หรือสิ่งที่ผ้ ูเล่ าเป็ นและเล่ าให้ ฟัง
ไม่ ตดั สิน ถูก/ผิด ของผู้อ่ นื อย่ าเอาความเป็ นตัวตนของเรา
เองไปใส่ แทนผู้เล่ า เคารพทัง้ ต่ อตนเองและผู้อ่ นื
ลดความคิดนิยม “ต้ องความสมบูรณ์ แบบ” ซักถามแลกเปลี่ยนด้ วยความชื่นชม เชื่อมั่นเสมอว่ า “ทุกที่มีความรู้ ”