นโยบายสหรัฐอเมริกา
Download
Report
Transcript นโยบายสหรัฐอเมริกา
นโยบายสหรัฐอเมริกา :
ผลกระทบต่ อเอเชีย ประชาคมอาเซียน และประเทศไทย
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
www.tanitsorat.com
1
ประธานาธิบดีโอบามาสมัย 2 จะส่ งผลอย่ างไรต่ อนโยบายทีม่ ีต่ออาเซียน
และต่ อประเทศไทย
แนวทางการพิจารณาในกรอบ 7 มิติ
1. การกลับมาของนายโอบามา ส่ งผลดีต่อการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจโลก
2. แนวโน้มนโยบายลดการเผชิญหน้าและลดการขัดแย้งในภูมิภาค
3. สหรัฐฯ ภายใต้นายโอบามาให้ความสาคัญต่อ เอเชีย
4. โอบามาให้ความสาคัญอาเซียนมากกว่ารอมนีย ์
5. ผลประโยชน์แห่งชาติของไทยภายใต้นโยบายของโอบามา
6. ไม่วา่ ใครจะเป็ นประธานาธิบดีฯ สหรัฐฯจะยังคงนโยบายรักษาผลประโยชน์ของ
ประเทศเป็ นสาคัญ
7. ความท้าทายของไทยและอาเซียน จะวางกลยุทธ์อย่างไรภายใต้การแข่งขันของ 2
ขั้วมหาอานาจ
www.tanitsorat.com
2
การกลับมาของนายโอบามา ส่ งผลดีต่อการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจโลก
• นโยบายการแก้ไขปั ญหาเศรษฐกิจในประเทศที่ถดถอยจะมีความต่อเนื่องส่ งผลดีต่อ
เศรษฐกิจโลก
• FED หรื อธนาคารกลางสหรัฐฯ ยังสามารถเดินหน้าโครงการ QE3 ด้วยการอัดฉี ดเม็ดเงินเข้า
สู่ ระบบเศรษฐกิจทาให้เกิดการฟื้ นตัวในด้านการลงทุนและการบริ โภค
• การผลักดันนโยบายของโอบามา ซึ่ งเริ่ มเห็นผลจากการลดการว่างงานจากร้อยละ 9.5 เหลือ
7.2 ในเดือนตุลาคม 55 และอาจส่ งผลต่อการฟื้ นตัวทาให้ GDP ขยายตัวได้ร้อยละ 3.5
• นโยบายลดการเผชิญหน้าของโอบามา ส่ งผลไม่ทาให้ราคาน้ ามันไม่ผนั ผวนเป็ นผลดีต่อ
เศรษฐกิจโลก
www.tanitsorat.com
3
โอบามาจะผ่ านพ้นหน้ าผาการคลังได้ หรือไม่
(FISCAL CLIFF AHEAD)
FISCAL CLIFF นโยบายหน้าผาการคลังด้วยการปรับขึ้นภาษีรายได้และภาษีขาย
ทรัพย์สิน ขณะเดียวกันจะต้องปรับลดงบประมาณรายจ่าย 6 แสนล้านเหรี ยญ ซึ่ งจะต้องมีการ
เจรจากับสภาคองเกรส หากไม่สามารถเจรจาได้จะส่ งผลกระทบต่อการฟื้ นเศรษฐกิจสหรัฐ
และเศรษฐกิจ EU และเศรษฐกิจโลก และภาคการส่ งออกของไทย
มาตรการทีจ่ ะมีผล 1 ม.ค. 2013
ยกเลิกมาตรการลดหย่อนภาษีเงินได้
ยกเลิกภาษีมรดก
ผ่อนปรน Payroll Tax 2 %
ลดสวัสดิ การคนว่างงาน 43,000 ล้านเหรี ยญ
ลดงบประมาณครึ่ งปี 2013 (Sequestration) Budget Control ตัดลดงบประมาณคลัง
เพิ่มภาษีรายได้/ขายทรัพย์สินจาก 10% เป็ น 15%
15 % เป็ น 28%
33% เป็ น 39.6%
www.tanitsorat.com
4
แนวโน้ มนโยบายลดการเผชิญหน้ าและลดการขัดแย้ งในภูมภิ าค
• นโยบายของนายโอบามา และพรรเดโมแครต มีความรอมชอมมากกว่ารอมนีย ์
จากพรรคริ พบั ลิกนั ซึ่งมีความแข็งกร้าว ซึ่งจะช่วยลดแรงเสี ยดทานการเผชิญหน้า
กับจีน
• นายโอบามาเป็ นมุ ส ลิ ม มี ค วามเข้า ใจโลกอาหรั บ ได้ ดี ก ว่ า นายรอมนี ย ์
ปัญหาอีหร่ านและซีเรี ยและที่อื่นๆ น่าจะแก้ไขได้โดยวิธีสนั ติ
• นายโอบามาประกาศนโยบายชัดเจนถอยกาลังรบออกจากอัฟกานิสถานและอิรัก
จะลดความขัดแย้งในภูมิภาคได้มาก
• เสถียรภาพระดับราคาน้ ามันจะไม่ผนั ผวนมาก
www.tanitsorat.com
5
Look to Asia Policy นโยบายเข้ าถึงเอเชียของสหรัฐฯ
• สหรั ฐฯ ภายใต้นายโอบามา จะกลับมาให้ความสาคัญกับเอเชี ย ในฐานะศูนย์กลาง
เศรษฐกิจโลก โดยจะใช้ยุทธศาสตร์ เข้าหาอินเดียและอาเซี ยนเพื่อลดบทบาทของจีน
ทั้งด้านเศรษฐกิจและอิทธิพลในภูมิภาค
• สหรั ฐฯ จะเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยการหาโอกาสลงทุนในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้และอาเซียน
• นโยบายการเสาะแสวงหาแหล่ งพลังงานทั้งน้ ามันและก๊ าซ ทั้งชายฝั่ งทะเลจี นใต้
อัน ดามัน และหมู่ เ กาะสแปรตลี ย ์ จะเป็ นแรงเสริ ม ให้ภ าคการเมื อ งของสหรั ฐ ฯ
กลับมาให้ความสาคัญต่อเอเชีย
• สหรัฐกลับมาให้ความสาคัญในการช่วยฟื้ นฟูเศรษฐกิจญี่ปุ่นและการแทรกแซงกรณี
พิพาทเกาะเตียวหยูหรื อเซนกากุ ซึ่ งเป็ นเส้นทางเดิ นเรื อที่สาคัญของ ญี่ ปุ่น ไต้หวัน
ฟิ ลิปปิ นส์ และจีน ร่ วมถึงคาดว่าจะเป็ นแหล่งน้ ามันขนาดใหญ่
www.tanitsorat.com
6
โอบามาให้ ความสาคัญกับอาเซียนมากกว่ ารอมนีย์
• เห็นได้จากการเข้าประชุมสุ ดยอดเอเชียตะวันออก EAS : East Asia Summit
ครั้งที่ 21 ณ กรุ งพนมเปญ ประเทศกัมพูชาระหว่าง 18 – 20 พ.ย. 55 หากเป็ นนายรอมนี ยก์ ็
คงจะไม่เข้าร่ วมหรื อส่ งระดับ รมต.ต่างประเทศมาแทน
• การเดินหน้าเจราจา FTA อาเซี ยน-สหรัฐฯ ซึ่ งมีการเจรจาไปมากแล้ว จะเดินหน้าต่อไป ซึ่ ง
นโยบายของพรรคเดโมแครต เน้นการเจรจาแบบพหุ ภาคีมากกว่า รี พบั ลิกนั ซึ่ งเน้นเจรจาทวิ
ภาคี (ซึ่ งไทยเสี ยเปรี ยบ)
• การเดินหน้าโครงการหุ น้ ส่ วนร่ วมเศรษฐกิจเอเชียแปซิ ฟิก (TPP) ซึ่ งมีสมาชิก 11 ประเทศ
ถึงไทยยังไม่ได้เป็ นสมาชิกแต่กม็ ีอาเซี ยน 4 ประเทศที่เป็ นสมาชิก
• ยุทธศาสตร์ ใหม่ของสหรั ฐฯ คื อการเป็ นพันธมิ ตรและการกลับคื อสู่ เอเชี ย รวมทั้งเอเชี ย
ตะวันออกเฉี ยงใต้ โดยเฉพาะในฐานะผูข้ บั เคลื่อนเศรษฐกิจในลุ่มน้ าโขงภายใต้โครงการ
US-Lower Mekong Initiative (US-LMI)
www.tanitsorat.com
7
ผลประโยชน์ แห่ งชาติของไทยภายใต้ โอบามา 2 (I)
• สหรัฐฯเป็ นคู่คา้ ส่ งออกของไทยในระดับ TOP 5 ด้วยมูลค่าปี ละ 21,500 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ
• การกลับเข้ามาของนายโอบามา ซึ่ งมีนโยบายผ่อนปรนเงื่อนไขทางการค้าและ NTB มากกว่า
นายรอมนียจ์ าก รี พบั ลิกนั ซึ่ งมีฐานเสี ยงจากอุตสาหกรรมและธุรกิจขนาดใหญ่ซ่ ึ งเน้นปกป้ อง
ธุรกิจภายใน
• ประธานาธิบดีโอบามา จะมาเยือนไทยระหว่าง 18 – 19 พ.ย.55 แสดงว่าสหรัฐฯ ให้ความสาคัญ
กับประเทศไทย
• การมาเยือนของประธานาธิ บดีโอบามาน่าจะเป็ นโอกาสเจรจาลดระดับบัญชี การค้ามนุษย์ ซึ่ ง
ไทยอยูใ่ นบัญชีระดับ Tier 2 Watch List (ระดับเฝ้ าระวัง) ซึ่ งไทยมีโอกาสเสี ยงสูงในปี 2556 จะ
ถูกปรับเป็ น Tier 3 คือไม่ปฏิบตั ิตามมาตรฐานแรงงานขั้นต่าและไม่พยายามแก้ปัญหาด้าน
แรงงานที่ผ่านมาสหรัฐฯ กล่าวหาไทยในการใช้แรงงานเด็ก สตรี และแรงงานต่างด้าว ส่ งผล
ต่ออุตสาหกรรมกุง้ แช่เยือกแข็งของไทย
www.tanitsorat.com
8
ผลประโยชน์ แห่ งชาติของไทยภายใต้ โอบามา 2 (II)
• การเดินหน้ าโครงการความตกลงหุ้นส่ วนยุทธศาสตร์ เศรษฐกิจเอเชี ย-แปซิฟิก TPP:
Trans-Pacific Strategic Economic Partnership Agreement ปัจจุบนั
– มีสมาชิก 11 ประเทศ และขับเคลื่อนเขตเศรษฐกิจ APEC
– หากไทยเข้าร่ วมเจรจาได้สาเร็ จ จะทาให้ได้รับสิ ทธิ GSP ภาษี 0 แบบถาวรในตลาดสหรัฐฯ
– ปั จจุบนั ไทยเป็ นสมาชิก APEC แต่ไม่ได้เป็ นสมาชิก TPP จะเสี ยเปรี ยบ มาเลเซี ย, สิ งคโปร์ ,
เวียดนาม
– ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้, อินโดนีเซีย แสดงท่าทีที่จะเข้าเป็ นสมาชิก
ประเด็น TPP ทีต่ ้ องพิจารณา
1)
2)
3)
ไทยต้อ งปรั บ ปรุ ง กฎหมายแรงงาน, แรงงานต่ า งด้าว, ทรั พ ย์สิน ทางปั ญ ญา, กฏหมาย
ป้ องกันการฟอกเงิน ฯลฯ
นโยบายเงินทุนเคลื่อนย้ายเสรี แบบ Full Online Licenses
การเปิ ดเสรี แบบ Negative List
www.tanitsorat.com
9
ผลประโยชน์ แห่ งชาติของไทยภายใต้ โอบามา 2 (III)
การรื้อฟื้ นคณะมนตรีภายใต้ กรอบการตกลงการค้ าการลงทุนไทย-สหรัฐ (TIFA JC) เพื่อเป็ นเวที
ในการขจัดปั ญหาอุปสรรคในด้านการส่ งออกที่ได้ลงนามตั้งแต่ 2545 แต่ขาดความก้าวหน้า
สหรั ฐฯ จะกลับเข้ ามาร่ วมมือด้ านความมั่นคงทางทหารกับไทย การเยือนของประธานาธิ บ ดี
โอบามา 18 -19 พ.ย. 2555 ภายใต้มติ ครม. 12 พ.ย. 2555 จะมีการแถลงการณ์ร่วมพันธมิตรป้ องกัน
ประเทศระหว่างไทย-สหรัฐฯ (Vision Statement for Thai-US 2012 Defense Alliance)
ประกอบด้ วย :1. ข้อตกลงความเป็ นหุน้ ส่ วนในการสร้างความมัน่ คงใมภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
2. สนับสนุนความมีเสถียรภาพในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
3. การพัฒนาความพร้อมและขีดความสามารถในการปฏิบตั ิการร่ วม ทั้งระดับทวิภาคีและพหุ
ภาคี (ทางทหาร)
4. การพัฒนาความสัมพันธ์ การประสานงาน และการสร้างความร่ วมมือในทุกระดับ
www.tanitsorat.com
10
US-NATION INTEREST POLICY
ไม่ ว่าใครจะเป็ นประธานาธิบดีฯ สหรัฐฯจะยังคงนโยบายรักษาผลประโยชน์ ของประเทศเป็ นสาคัญ
• ไม่วา่ ใครจะเป็ นประธานาธิบดี สหรัฐฯ ก็ยงั คงรักษาผลประโยชน์ของประเทศเ และประชาชนอเมริ กนั ยังคง
ต้องการให้ประเทศเป็ นอภิมหาอานาจโลก
• นายโอบามาประกาศยุทธศาสตร์กลับคืนเอเชียและอาเซียน (รวมทั้งไทย) และถือว่าจีนเป็ นภัยต่อสหรัฐ
• การเผชิญหน้าของ 2 อภิมหาอานาจสหรัฐฯ และจีน ในการแข่งขันช่วงชิงผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและ
อิทธิพลในประเทศเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้รวมทั้งเวทีอาเซี ยน
• ประเทศอาเซียนอาจมีความเห็นไม่ตรงกันและนาไปสู่การขาดเอกภาพเป็ นผลจาก การชิงไหวชิงพริ บรวมทั้ง
การดึงแต่ละประเทศเข้าไปเป็ นพันธมิตร
• การเข้ามาของโอบามาอยูใ่ นจังหวะเดียวกันกับการปรับเปลี่ยนผูน้ ายุคที่ 5 ของจีน โดยนายสี จิ้นผิงอาจจะ
เป็ นประธานาธิบดี แทนนายหูจิ่นเทา นายหลีเค่อเฉี ยงอาจจะเป็ นนายกฯ แทนนายเวินเจียเป่ า
• การปลุกกระแสชาตินิยมในจีนมีแนวโน้มสู งขึ้นรวมถึงการเสริ มสร้างกาลังทหาร เช่นการพัฒนากองเรื อ
บรรทุกเครื่ องบิน สหรัฐฯถือเป็ นภัยคุกคามต่อเอเชียแปซิ ฟิก และเป็ นภัยต่อพันธมิตรสหรัฐ อย่างญี่ปุ่น
ไต้หวัน เกาหลี
• นโยบายป้ องกันอาวุธที่มีอานุภาพทาลายล้างสู งหรื อ PSI สหรัฐฯ จะใช้เป็ นเครื่ องมือในการเสริ มสร้างความ
มัน่ คงทางทหารและไทยอาจจาเป็ นต้องเข้าไปเป็ นสมาชิก ซึ่ งจะนาให้สหรัฐเข้ามามีบทบาทในเอเชียได้มาก
11
www.tanitsorat.com
ขึ้น
Re - Balancing Policy
ไทยจะวางกลยุทธ์ อย่ างไรภายใต้ การแข่ งขันของ 2 ขั้วมหาอานาจ
• ภายใต้การแข่งขันของสหรัฐ-จีน ที่จะเข้ามาในภูมิภาคอาเซี ยน ประเทศไทยจะสามารถรักษา
ความสมดุลได้อย่างไรเพราะทั้ง 2 ประเทศต่างมุ่งหมายที่จะใช้ไทยเป็ นสปริ งบอร์ ด ไปสู่
ประเทศอาเซี ยน
• การเยือนของโอบามาในช่วง 18 – 19 พ.ย. 55 ซึ่ งตรงกับการมาเยือนของนายเวินเจียเป่ า
แสดงให้เห็นชัดเจนว่าประเทศไทย จะต้องดาเนิ น นโยบายไม่เอียงไปฝ่ ายไดฝ่ ายหนึ่ ง เพราะ
จี น เ ป็ น คู่ ค้ า ส่ ง อ อ ก ข อ ง ไ ท ย อั น ดั บ 1 ส ห รั ฐ ฯ เ ป็ น คู่ ค้ า ใ น ล า ดั บ ที่ 2
(ไม่นบั อาเซี ยน)
• การลงนามความตกลงด้า นการทหารใดๆ กับ สหรั ฐ ฯ ย่อ มส่ ง ผลกระทบต่ อ จี น ซึ่ งเป็ น
มหาอานาจที่มีพรมแดนใกล้กบั ไทย
• เป็ นความท้า ทายของไทยและอาเซี ย นจะมี วิ ธี ถ่ ว งดุ ล อย่า งไรกับ ประเทศจี น และสหรั ฐ
อย่างไร และจะใช้ประโยชน์กบั การเป็ นหุ น้ ส่ วนทั้งด้านเศรษฐกิจและความัง่ คงของภูมิภาค
www.tanitsorat.com
12
ข้ อมูลเพิ่มเติมที่ www.tanitsorat.com
END
www.tanitsorat.com
13