กูเกิ้ล: กลไกการสืบค้นข้อมูลบนระบบอินเทอร์เน็ต Google: the Internet

Download Report

Transcript กูเกิ้ล: กลไกการสืบค้นข้อมูลบนระบบอินเทอร์เน็ต Google: the Internet

AI02
LOGO
กูเกิล้ : กลไกการสืบค้ นข้ อมูลบนระบบอินเทอร์ เน็ต
Google: the Internet System Search Engine
อาจารย์ ท่ ปี รึกษา
อาจารย์ ธวัชวงศ์ ลาวัลย์
โดย
นางสาวธัญพร ใจศิริ
นางสาวหนึ่งนภา พันเหล็ก
คณะวิทยาการสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
หัวเรื่อง
1
ทฤษฎีท่ เี กี่ยวข้ อง
2
งานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง
3
สรุ ป
ทฤษฎีท่ เี กี่ยวข้ องกับการศึกษาค้ นคว้ า
1. ความหมายของเสิร์ชเอนจิน (Search Engine)
 โครงสร้ างการทางานของเสิร์ชเอ็นจิน
ทฤษฎีท่ เี กี่ยวข้ องกับการศึกษาค้ นคว้ า
2. ประเภทของ Search Engine
 แบบอาศัยการจัดเก็บข้ อมูลเป็ นหลัก Crawler-Based
Search Engine
[ http://www.google.com ]
ทฤษฎีท่ เี กี่ยวข้ องกับการศึกษาค้ นคว้ า
 แบบสารบัญเว็บไซต์ Web Directory
[ http://www.dmoz.org ]
ทฤษฎีท่ เี กี่ยวข้ องกับการศึกษาค้ นคว้ า
 แบบอ้ างอิงในชุดคาสั่งเมตะ Meta Search Engine
[http://www.us.ixquick.com ]
ทฤษฎีท่ เี กี่ยวข้ องกับการศึกษาค้ นคว้ า
3. ระบบการทางานของกูเกิล (Google)
 Googlebot
 Index Server
 The query processor
ทฤษฎีท่ เี กี่ยวข้ องกับการศึกษาค้ นคว้ า
4. ประเภทของ Google Robot
 Googlebot
 Google Deepbot
 Google Freshbot
งานวิจัยที่เกี่ยวข้ องกับการศึกษาค้ นคว้ า
1.
เครื่องมือช่ วยค้ นหาข้ อมูล / ข่ าวสารบนอินเทอร์ เน็ต
(Internet Search Engine)
โดย นางสาวนงเยาว์ เปรมกมลเนตร
สาขานิเทศศาสตร์ และบรรณารักษศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
 งานวิจยั นี ้เป็ นการศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับเครื่ องมือที่ช่วย
ค้ นหาข้ อมูล/ข่าวสารบนอินเทอร์ เน็ต เพื่อหาวิธีช่วยในการเลือกใช้
Search Engine ให้ ตรงกับกลุม่ ข้ อมูลที่ต้องการค้ นหา
 มีกลวิธีในการค้ นหาข้ อมูลให้ ประสบความสาเร็จสูงสุดโดยใช้
Search Engine
งานวิจัยที่เกี่ยวข้ องกับการศึกษาค้ นคว้ า
2. การศึกษาเปรียบเทียบ Search Engines บนอินเทอร์ เน็ต
โดย นางสาวทัศนีย์ สุตาจันทร์
สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
 งานวิจยั ฉบับนี ้ศึกษาเปรี ยบเทียบ Search Engine บนอินเทอร์ ที่
ได้ รับความนิยมสูงสุดช่วงปี พ.ศ 2543 จานวน 5 ตัว ได้ แก่ Alta
Vista, Excite, Hotbot, Lycos และ Infoseek
 ทาการเปรี ยบเทียบประสิทธิผล Search Engine จากค่า
อัตราส่วนความถูกต้ องของข้ อมูล
งานวิจัยที่เกี่ยวข้ องกับการศึกษาค้ นคว้ า
3. การใช้ Search Engine ในการสืบค้ นสารสนเทศของนิสิตระดับ
ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
โดย นางสาวนภาพรรณ จัตรุ โพธิ์ สาขาวิชาบรรณารั กษศาสตร์
และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
 วิทยานิพนธ์ฉบับนี ้มีความมุง่ หมายศึกษาปั ญหาการใช้ Search
Engine ในการสืบค้ นสารสนเทศของนิสติ ระดับปริญญาตรี
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จานวน 341 คน
 ผลจากการวิจยั นิสติ มีวตั ถุประสงค์ใช้ Search Engine เพื่อสืบค้ น
ข้ อมูลประกอบการเรี ยนรายวิชาต่างๆ มากที่สดุ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้ องกับการศึกษาค้ นคว้ า
4. อัลตาวิสตา: กลไกการสืบค้ นข้ อมูลบนอินเทอร์ เน็ต
(Alta Vista: the Internet Search Engine)
โดยนายสุนัสริน หวังสุนทรชัย สาขายรรณารั กษศาสตร์ และนิเทศศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
 งานวิจยั ฉบับนี ้ศึกเกี่ยวกับวิธีการสืบค้ นข้ อมูลโดยใช้ Alta Vista
ทาได้ 2 รูปแบบคือการสืบค้ นแบบพื ้นฐานหรื ออย่างง่าย และการ
สืบค้ นแบบขันสู
้ ง
 ผลจากการศึกษา ผู้ใช้ โดยมากเมื่อทราบ URL ของกลไกการ
สืบค้ น มักจะตรงเข้ าไปพิมพ์คาค้ นตามที่ต้องการทันทีทาให้ เกิด
ปั ญหาในลักษณะต่างๆ เช่น ข้ อมูลที่เรี ยกค้ นได้ มากเกินไป
งานวิจัยที่เกี่ยวข้ องกับการศึกษาค้ นคว้ า
5. เอ็กไซท์ : กลไกการสืบค้ นข้ อมูลบนอินเทอร์ เน็ต
(Excite: the Internet Search)
โดย นางสาวสุนัสริน บัวเลิศ สาขาบรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
 งานวิจยั ฉบับนี ้ศึกษาเกี่ยวกับกลไกการสืบค้ นข้ อมูลบน
อินเทอร์ เน็ต ของ Excite โดยกล่าวถึง ความสามารถด้ านต่างๆ
ในการสืบค้ นข้ อมูล ความสามารถในการแสดงผลการสืบค้ น
ตลอดจนเทคนิคการสืบค้ น
 สรุปผลงานวิจยั กลไกการสืบค้ น Excite เป็ นอีกกลไกการสืบค้ น
หนึง่ ที่มีประสิทธิภาพค่อนข้ างสูงสามารถค้ นหาข้ อมูลที่ต้องการได้
อย่างง่ายด้ วยวิธีการค้ นที่ไม่ยงุ่ ยากซับซ้ อน
สรุ ป

Google ได้ ช่ ือว่ าเป็ น Search Engine ที่ได้ รับความนิยมมาก
ที่สุดอีกบริ การหนึ่ ง มีรูปแบบหน้ าเว็บเพจที่เรี ยบง่ าย เน้ นการ
แสดงผลการสืบค้ นที่รวดเร็ ว มีการแสดงคาที่เกี่ยวข้ องกับการ
สืบค้ นด้ วยตัวอักษรสีเข้ ม ทาให้ ทราบความเกี่ยวข้ องของเรื่ องที่
กาลังสืบค้ น ในขณะที่ Search Engine อื่นมักแสดงข้ อความเพียง
หนึ่งหรื อสองบรรทัดของเว็บเพจ โดยไม่ คานึงว่ าจะมีคาที่ใช้
สืบค้ นหรือไม่