2014-04-08-18-03

Download Report

Transcript 2014-04-08-18-03

LOGO
การเตรียมความพร ้อม
โครงการ
National clearing house
กรณี ผูป
้ ่ วยฉุ กเฉิ น
มมนาเจ้าหน้าทีร่ ้องเรียน ประจาปี 2555 22 – 23 มีนาคม 2555 ณ โรงแรมริชมอนด ์ กทม.
ายโดย เภสัชกรหญิงเนตรนภิส สุชนวนิ ช ผู ช
้ ว
่ ยเลขาธิการสานักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ
คุณบรรจง จาปา ผู ช
้ ว
่ ยผู อ
้ านวยการสานักบริหารการชดเชยค่าบริการ
แนวทางการให้บริการเจ็บป่ วยฉุ กเฉิ น
้ าน
 ผู ป
้ ่ วยเจ็บป่ วยฉุ กเฉิ นเข้าร ับบริการใน รพ. ทังผ่
ระบบ 1669 และ Walk in
 รพ.ให้บริการทันทีโดยไม่ตอ
้ งสอบถามสิทธิและ
ผู ป
้ ่ วยไม่ตอ
้ งจ่ายเงิน
 รพ. ลงทะเบียนแจ้งการให้บริการเจ็บป่ วยฉุ กเฉิ น
ผ่านระบบ Clearing house และหลังจากการ
ให้บริการแล้ว บันทึกข้อมู ลการให้บริการผ่านระบบ
่ กจ่ายค่าบริการ ( OPD เบิก
Clearing house เพือเบิ
ผ่าน กรมบัญชีกลาง /IPD เบิก 10,500 บาท/
AdjRW)
 หน่ วย Clearing house ประมวลผลข้อมู ล จัดทา
้ งใบ
รายงานและจ่ายเงินชดเชย ให้ รพ. จากนันส่
2
วัตถุประสงค ์
่ านวยความสะดวกให้ผูป
 เพืออ
้ ่ วยฉุ กเฉิ นได้ร ับ
่ มาตรฐาน รวดเร็ว โดยไม่ตอ
บริการทีได้
้ งสารอง
จ่าย
 มีกลไกลกลางสาหร ับการชดเชย อ ัตรา
ค่าบริการ การเรียกเก็บค่าบริการและการ
่
้ น
ตรวจสอบ ให้สะดวกและไม่ให้เหลือมล
าก
ั
่ นการส่งเสริมให้การบริการผู ป
เพือเป็
้ ่ วยฉุ กเฉิ น
มีมาตรฐานเดียวกัน
 กลไกการบริหารและการชดเชย รองร ับ
่
การบริการผู ป
้ ่ วยฉุ กเฉิ นทีอาจมี
ความ
จาเป็ นในการร ับบริการกับโรงพยาบาล
เอกชนนอกเครือข่าย
เป้ าหมาย
ประชาชน
• ประชาชนทุ ก สิท ธิท ี่มาด้ว ยภาวะฉุ กเฉิ น วิก ฤต
และเร่งด่วน
• การเจ็ บ ป่ วยฉุ กเฉิ น วิก ฤตและเร่ง ด่ ว น ใช้ต าม
นิ ยามตามประกาศของพรบ.การแพทย ์ฉุ กเฉิ น ปี
2551 สามารถไปร บ
ั บริก ารที่ใดก็ ไ ด้ต ามความ
จาเป็ น โดยไม่ตอ
้ งถู กถามสิทธิ และไม่ตอ
้ งสารอง
ผู ม
้ ส
ี ท
ิ ธิ
“ผู ม
้ ส
ี ท
ิ ธิ”
หมายถึง ประชาชนคนไทยทุกสิทธิ
ประกอบด้วยสิทธิขา้ ราชการ สิทธิหลักประกน
ั สุขภาพ
้ งรวมถึง
ถ้วนหน้า สิทธิประก ันสังคม นอกจากนี ยั
่ และ(ทีมี
่ การลงนามความ
ข้าราชการส่วนท้องถิน
้ ในกรณี
้
ร่วมมือ)ทังนี
สท
ิ ธิประกน
ั สังคมจะรวมถึงคน
่ สท
ต่างชาติ/ต่างด้าว ทีมี
ิ ธิประก ันสังคมด้วย
่ นมีการลงนาม 3 ส่วนคือ สิทธิ
ในช่วงเริมต้
ประกันสังคม สิทธิขา้ ราชการ และสิทธิ UC โดยจะมี
การลงนามความร่วมมือในวน
ั ที่ 28 มีนาคม 2555
สถานบริการ
“สถานบริก าร”
หมายถึ ง สถานพยาบาล
เอกชน ของกรมบัญ ชีก ลาง หรือ สถานพยาบาลที่
ไม่ใช่
คู ่สญ
ั ญาของสานักงานประกน
ั สังคม หรือ
ส ถ า น พ ย า บ า ล ที่ ไ ม่ ใ ช่ ห น่ ว ย บ ริ ก า รใ น ร ะ บ บ
หลักประกน
ั สุ ข ภาพถ้วนหน้ า หรือ สถานพยาบาลที่
ไม่ ม ีส ิท ธิเ บิก ตามข้อ ตกลงขององค ก
์ ารเภสัช กรรม
่ ร ัฐวิส าหกิจ และองค ์กร
องค ์กรปกครองส่ ว นท้อ งถิน
่้ ้
อิสระอื
นๆ
ทังนี สถานบริก ารเอกชนดัง กล่ า ว จะก าหนด
้ ป
่ การให้บริการทังผู
้ ่ วย
เฉพาะโรงพยาบาลเอกชนทีมี
นอกและผู ป
้ ่ วยใน ไม่ นับ รวมโพลีค ลินิ ก หรือ คลิ นิ ก
เอกชน
นิ ยาม รพ.เอกชน นอกเครือข่ายของ 3
กองทุน
 ผู ป
้ ่ วยฉุ กเฉิ นของกรมบัญชีกลาง ได้แก่ รพ.เอกชน
ทุกแห่ง
 ผู ป
้ ่ วยฉุ กเฉิ นเป็ นผู ป
้ ระกน
ั ตน ได้แก่ รพ.เอกชนที่
ไม่ใช่ รพ.คู ส
่ ญ
ั ญา รวมถึงหน่ วยบริการในเครือข่าย
้
(หมายรวมทังคลิ
นิกและ supra contractor)
 ผู ป
้ ่ วยฉุ กเฉิ นในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
่ ใช่หน่ วยบริการในระบบ UC
ได้แก่ รพ.เอกชนทีไม่
หมายเหตุ
 สามารถบันทึกและส่งเบิกชดเชยผ่านโปรแกรม
“EMCO”
 สปสช.จะสารองจ่ายและเรียกเก็บจากแต่ละกองทุน
ต ัวอย่างข้อมู ลรพ.เอกชนในระบบ UC
่ น หน่ วยบริการ
 โรงพยาบาลเอกชนทีเป็
้ั
ประจา มีทงหมด
จานวน 44 แห่ง
่ น หน่ วยบริการ
 โรงพยาบาลเอกชนทีเป็
้ั
ร ับส่งต่อ มีทงหมด
จานวน 24 แห่ง
โดยสรุป
่ เป็ นหน่ วยบริการ
โรงพยาบาลเอกชนทีไม่
ในระบบ UC
สถานบริการ
เอกชน
CSMBS
UC
SSS
วันให้บริการ
่ งแต่
้
เริมตั
1 เมษายน 2555 เป็ นต้นไป
ขอบเขตการให้บริการสาธารณสุข
1
2
เป็ นการเข้าร ับบริการในกรณี อุบต
ั เิ หตุหรือการเจ็ บป่ วย
้
ฉุ กเฉิ นเท่านัน
เป็ นการบริการตามขอบเขตและชุดสิทธิประโยชน์ของ
ระบบประกันสุขภาพ
้ ้หากรายการใดทีจั
่ ดให้เพือร
่ ักษาภาวะฉุ กเฉิ นและเป็ นการ
• ทังนี
ร ักษาชีว ต
ิ หรือ ป้ องกัน ความพิก ารของผู ม
้ ีส ท
ิ ธิ เช่น ใช้การยา
่ ๆ สถานบริการ
นอกบัญชียาหลัก อุปกรณ์ทางการแพทย ์ หรืออืน
สามารถให้บริการและเรียกเก็บค่าใช้จ่ายตามที่ 3 กองทุนกาหนด
ร่วมกัน
3
้
กรณี ผู ป
้ ระสบภัย จากรถ ให้เ บิก ค่ า เสีย หายเบืองต้
น จากกองทุ น
ผู ป
้ ระสบภัย จากรถ 15,000
บาทก่อ นแล้ว จึง เรีย กเก็บ จาก 3
กองทุน
นิ ยาม “เจ็บป่ วยฉุ กเฉิ น”
“การเจ็บป่ วยฉุ กเฉิ น”
หมายถึง
การได้ร ับอุบต
ั เิ หตุหรือมีอาการ
่ นภยันตรายต่อการ
เจ็บป่ วยกะทันหันซึงเป็
ดารงชีวต
ิ หรือการทางานของอว ัยวะสาคัญ
จาเป็ นต้องได้ร ับการประเมิน การจัดการ และ
่ องกันการ
บาบัดร ักษา
อย่างทันท่วงทีเพือป้
้
เสียชีวต
ิ หรือการรุนแรงขึนของการบาดเจ็
บ
้ เฉิ น
่ อาการเจ็
ทีอ
มา:
พรบ. การแพทย
์ฉุ กน
หรื
บป่ วยนั
พ.ศ 2551
การจาแนก “เจ็บป่ วยฉุ กเฉิ น”
ใช้การจาแนกตามประกาศคณะกรรมการการแพทย ์
ฉุ กเฉิ น
่
่ ดแยกระดับความ
เรืองหลั
กเกณฑ ์การประเมินเพือคั
ฉุ กเฉิ นและมาตรฐานการปฏิบต
ั ิ พ.ศ.2554
โดยมีการจาแนกเป็ น 3 ระดับ คือ
1. ฉุ กเฉิ นวิกฤต (สีแดง)
2. ฉุ กเฉิ นเร่งด่วน (สีเหลือง)
3. ฉุ กเฉิ นไม่รุนแรง (สีเขียว)
 การจ่ายจะครอบคลุมกรณี ผูป
้ ่ วยฉุ กเฉิ นวิกฤต และผู ป
้ ่ วยฉุ กเฉิ นเร่งด่วน (สี
แดงและสีเหลือง )
้ เป็
้ นการแยกตามอาการ ไม่ใช่แยกตามสาเหตุ โดยใช้คาว่า ผู ป
 ทังนี
้ ่ วยฉุ กเฉิ น
่
้
้
ผู ป
้ ่ วยฉุ กเฉิ นวิกฤต
่ ร ับบาดเจ็บหรือมีอาการป่ วยกะทันหัน
บุคคลซึงได้
่ ภาวะคุกคามต่อชีวต
่
ซึงมี
ิ
ซึงหากไม่
ได้ร ับปฏิบต
ั ิ
่
การแพทย ์ทันทีเพือแก้
ไขระบบการหายใจ
ระบบ
ไหลเวียนเลือด หรือระบบประสาทแล้ว
ผู ป
้ ่ วยจะมี
โอกาสเสียชีวต
ิ ได้สูง
หรือทาให้การบาดเจ็บหรือ
้ นแรงขึนหรื
้
อาการป่ วยของผู ป
้ ่ วยฉุ กเฉิ นนันรุ
อเกิด
้
ภาวะแทรกซ ้อนขึนได้
อย่างฉับไว
ให้ใช้สญ
ั ลักษณ์ “สีแดง” สาหร ับผู ป
้ ่ วย
ฉุ กเฉิ นวิกฤต
ผู ป
้ ่ วยฉุ กเฉิ นวิกฤต
ตัวอย่าง เช่น
 ภาวะ “หัวใจหยุดเต้น” (Cardiac arrest)
 ภาวะหยุดหายใจ
 ภาวะ “ช็อก”จากการเสียเลือดรุนแรง
 ช ักตลอดเวลาหรือช ักจนตวั เขียว
 อาการซึม หมดสติ ไม่รู ้สึกตัว
 อาการเจ็บหน้าอกรุนแรงจากหลอดเลือดหัวใจตีบ
่ ความจาเป็ นต้องได้ร ับยาละลายลิมเลื
่
ตันทีมี
อด
 อาการทางสมองจากหลอดเลือดสมองตีบตันทันทีม ี
่
อด
ความจาเป็ นต้องได้ร ับยาละลายลิมเลื
 เลือดออกมากอย่างรวดเร็วและตลอดเวลา
ผู ป
้ ่ วยฉุ กเฉิ นเร่งด่วน
่ ร ับบาดเจ็บหรือมีอาการป่ วยซึงมี
่
บุคคลทีได้
ภาวะเฉี ยบพลันมาก หรือเจ็บปวดรุนแรงอน
ั อาจ
จาเป็ นต้อ งได้ร บ
ั ปฏิบ ต
ั ก
ิ ารแพทย ์อย่ า งรีบ ด่ว น
้
มิฉะนันจะท
าให้การบาดเจ็บหรืออาการป่ วยของ
ผู ้ ป่ ว ย ฉุ ก เ ฉิ น นั้ น รุ น แ ร ง ขึ ้ น ห รื อ เ กิ ด
้ ซึงส่
่ ง ผลให้เ สีย ชีว ต
ภาวะแทรกซ อ
้ นขึน
ิ หรือ
พิการในระยะต่อมาได้
ให้ใช้สญ
ั ลักษณ์ “สีเหลือง” สาหร ับผู ป
้ ่ วย
ฉุ กเฉิ นเร่งด่วน
ผู ป
้ ่ วยฉุ กเฉิ นเร่งด่วน
ตัวอย่าง เช่น
 หายใจลาบากหรือหายใจเหนื่อยหอบ
้ั
 ชีพจรช้ากว่า 40 หรือเร็วกว่า 150 ครง/นาที
โดยเฉพาะถ้าร่วมกับลักษณะทาง
่
คลินิกข้ออืน
 ไม่รู ้สึกตัว ช ัก อัมพาต หรือตาบอด หู หนวกทันที
 ตกเลือด ซีดมากหรือเขียว
 เจ็บปวดมากหรือทุรนทุราย
่
 มือเท้าเย็นซีด และเหงื่อแตก ร่วมกับลักษณะทางคลินิกข้ออืน
่
 ความดันโลหิตตัวบนตากว่
า 90 มม.ปรอทหรือตัวล่างสู งกว่า 130 มม.ปรอท
่
โดยเฉพาะร่วมกับลักษณะทางคลินิกข้ออืน
่
 อุณหภู มริ า่ งกายตากว่
า 35° c หรือสู งกว่า 40° c โดยเฉพาะร่วมกับลักษณะทาง
่
คลินิกข้ออืน
 ถูกพิษหรือ Drug overuse
่
 ได้ร ับอุบต
ั เิ หตุ โดยเฉพาะบาดแผลทีใหญ่
มากและมีหลายแห่ง เช่น major
multiple fractures , Burns, Back injury with or without spinal cord
damage
หรือตามดุลยพินิจของผู ป
้ ระกอบ
นิ ยามผู ป
้ ่ วยฉุ กเฉิ น
่
(สาหร ับสือสารประชาสั
มพันธ ์กบ
ั ประชาชน)
่ นโรค ได้ร ับบาดเจ็บ หรือมีอาการ
“การเจ็บป่ วยฉุ กเฉิ น” หมายถึง ผูป้ ่ วยทีเป็
่ กคามต่อการทางานของอว ัยวะสาคัญ ได้แก่ หัวใจ สมอง ทางเดิน
บ่งชีว่้ าจะเป็ นอาการทีคุ
หายใจ ต้องดู แลติดตามอย่างใกล้ชด
ิ เพราะอาจทาให้เสียชีวต
ิ ได้ทน
ั ที ยกตัวอย่าง เช่น
 หัวใจหยุดเต้น
้ นแรง มีการเขียวคลาของปากและเล็
้
 หอบหืดขันรุ
บมือ
 หมดสติ ไม่รู ้สึกตัว
่
้ั
้
 สิงแปลกปลอมอุ
ดกนหลอดลมทั
งหมด
 อุบต
ั เิ หตุรุนแรงบริเวณใบหน้าและลาคอ
 มีเลือดออกมาก
 ภาวะช็อกจากการเสียเลือด หรือขาดน้ าอย่างรุนแรง แขน ขา อ่อนแรงพู ดไม่ช ัด
ช ักตลอดเวลาหรือช ักจนต ัวเขียว มีไข้สูงกว่า 40 องศาเซลเซียส ถู กสารพิษ สัตว ์มี
พิษกด
ั หรือได้ร ับยามากเกินขนาด ถู กสุนข
ั ก ัดบริเวณใบหน้าและลาคอ เป็ นต้น
่
อาการฉุ กเฉิ นนอกเหนื อจากนี ้ หากไม่แน่ ใจโปรดโทรสายด่วน 1669 เพือขอค
าปรึกษา
และบริการช่วยเหลือต่อไป
่ : ข้อสรุปจากการประชุมกับ รมว.สธ. ว ันที่ 21 มี.ค. 2555 ห้องร ับรองชน
้ั 5 กท.สธ.
ทีมา
่ งทุกคน
เจ็บป่ วยฉุ กเฉิ น ร ักษาทุกที่ ทัวถึ
อ ัตราและเงื่อนไขการจ่ายเงินชดเชย
“กรณี ผูป
้ ่ วยนอก” :
่ ยกเก็บของกรมบัญชีกลาง (Fee
จ่ายตามอ ัตราทีเรี
Schedule) : อยู ่ระหว่างการทา Emergency
intervention list
“กรณี ผูป
้ ่ วยใน”
:
จ่ายตามกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRG V.5.0) โดยมีอ ัตรา
จ่าย 10,500 บาท ต่อ 1 AdjRW
อ ัตราและเงื่อนไขการจ่ายเงินชดเชย
่
กรณี ผูป
้ ่ วยใน อาจมีการจ่ายชดเชยเพิมเติ
มในกรณี ดงั ต่อไปนี ้
1.กรณี ทมี
ี่ การใช้ยาจ. (2) สถานบริการ สามารถเบิกค่าใช้จา
่ ย2
แนวทางคือ
- เบิกยาคืนจากกองทุนยา สปสช.
่ การจด
้ ด
- เบิกเงินชดเชยตามอ ัตราราคาทีมี
ั ซือจ
ั หาตาม
ระบบ VMI
้
2. กรณี ทเป็
ี่ นผู ป
้ ระสบภัยจากรถให้เบิกเงินค่าเสียหายเบืองต้
น
15,000 บาทจากกองทุนผู ป
้ ระสบภัยจากรถก่อนจึงจะเบิก
้
ค่าใช้จา
่ ยตามแนวทางนี ได้
3. กรณี รายการอุปกรณ์และอวัยวะเทียม (Instrument) จ่าย
่
่ าหนดประกาศทีตกลงร่
่
้ ้
เพิมเติ
มในอ ัตราทีก
วมก ัน 3 กองทุน ทังนี
่ าหนดไม่
ในกรณี ทสถานบริ
ี่
การใช้อป
ุ กรณ์ทเกิ
ี่ นราคากลางทีก
สามารถเรียกเก็บจากประชาชน หรือกองทุนได้ อยู ่ระหว่างการ
จัดทารายการ Emergency intervention list
่ สามารถจ่ายได้
รายการทีไม่
 ค่า DF
 ค่าบริการ (Surcharge)
่ ป
 ค่าห้องพิเศษทีผู
้ ่ วยร ้องขอ
่ ๆ ทีไม่
่ เกียวข้
่
 รายการอืน
องกับการ
ร ักษาพยาบาล เช่น ค่าเขียนใบประกันชีวต
ิ , ค่า
บัตรสมาชิก รพ. , ค่าอุปกรณ์บน
ั เทิงต่าง ๆ
แผนผังระบบ
Clearing House
1669 น่ าส่งเอง
ฉุ กเฉิ น-วิกฤต-เร่งด่วน
โรงพยาบาล
นอกระบบกองทุน
กองทุน
จ่ายเงินคืน
ส่งใบแจ้งหนี ้
ให้กองทุน
่ ยวข้
่
ทีเกี
อง
จ่ายเงินชดเชย
ค่าบริการ
Clearing House
?
ประมวลผล
จ่ายเงินชดเชย
สิทธิ อปท./ครู เอกชน/ร ัฐวิสาหกิจ
บันทึกข้อมู ล
การให้บริการ
้
ลงทะเบียนเบืองต้
น
่
ข้อเสนอการดาเนิ นการรองร ับปั ญหาทีอาจ
้
เกิดขึน
 เร่งร ัดการประชาสัมพันธ ์ให้ประชาชนใช้บริการเจ็บป่ วยฉุ กเฉิ น
ผ่านระบบการแพทย ์ฉุ กเฉิ นแห่งชาติ 1669
 เร่งร ัดการประชาสัมพันธ ์สร ้างความเข้าใจการใช้บริการ
้ านประชาชนและหน่ วยบริการอย่างเข้มข้น
เจ็บป่ วยฉุ กเฉิ น ทังด้
 ขยายศ ักยภาพระบบการตรวจสอบการเบิกจ่าย (Auditing
่
system) ซึงจะต้
องดาเนิ นการร่วมกันระหว่าง 3 กองทุน
้ การนาร่องตรวจสอบการเบิกจ่ายอุปกรณ์บางรายการ
(ขณะนี มี
ร่วมก ันอยู ่แล้ว)
่
 ขยายระบบการอุทธรณ์เพือรองร
ับการอุทธรณ์ปัญหาการ
้ านประชาชนและผู ใ้ ห้บริการ
เบิกจ่าย ทังด้
่ าไปสู ่
 ประเมินผลและติดตามสถานการณ์การให้บริการ เพือน
การปร ับปรุงระบบบริการและ/หรือการเบิกจ่ายในระยะต่อไป
 เร่งร ัดการประชาสัมพันธ ์สร ้างความเข้าใจการให้บริการเจ็บป่ วย
ฉุ ถเฉิ น
Company Logo
วิธก
ี ารดาเนิ นการ
1
2
3
เสนอประกาศเป็ นมติคณะร ัฐมนตรี / เป็ นนโยบาย
้ั
่ าเนิ นการตงแต่
นายกร ัฐมนตรี และให้เริมด
วน
ั ที่ 1
เมษายน 2555 เป็ นต้นไป
่ ยวข้
่
ทุกหน่ วยงานทีเกี
องต้องดาเนิ นการ ปร ับปรุง
่ ยวข้
่
่
กฎ ระเบียบ หรือ ประกาศทีเกี
อง เพือให้
สอดคล้องกับการบริการ การชดเชย และการ
่ ๆ
ดาเนิ นการอืน
หน่ วยงานกลางในการจัดการธุรกรรมการเบิกจ่าย
่
และระบบข้อมู ลต่าง ๆ เพือให้
เป็ นระบบเดียวก ัน ซึง่
กาหนดให้เป็ น สปสช.
การให้บริการ
่ นผู ป
้ ่ วยฉุ กเฉิ นวิกฤต หรือฉุ กเฉิ นเร่งด่วน ผู ป
เมือเป็
้ ่ วยไป
ร ับบริการกับ รพ. ใด ๆ ก็ได้ตามความจาเป็ น ไม่มก
ี าร
ตรวจสอบสิทธิ และไม่มก
ี ารเรียกเงินสารอง โดย
 เน้นการบริการฉุ กเฉิ นตามระบบปกติของ 3 กองทุน ให้
่ ด
ครอบคลุมการบริการฉุ กเฉิ นให้ได้มากทีสุ
่
• การบริการฉุ กเฉิ นทีโรงพยาบาลเอกชนนอกระบบ
3
กองทุน ให้เป็ นตามความจาเป็ น ตามระดับฉุ กเฉิ นของ
ผู ป
้ ่ วย
 การบริการดังกล่าว ให้ดาเนิ นไปจนผู ป
้ ่ วยทุเลากลับบ้านได้
หรือส่งต่อ/ส่งกลับโรงพยาบาลในระบบอย่างสอดคล้องกับ
้ ไม่
้ ระบุระยะเวลา 72
ระด ับความรุนแรงทางการแพทย ์ ทังนี
้ ดการให้บริการของ รพ.ฯ
ชม. เป็ นตวั กาหนดการสินสุ
แนวทางการขอเบิกชดเชยค่าบริการทางการ
แพทย ์
รพ.ในระบบ
กองทุน
รพ.นอกระบบ
กองทุน
• เบิกผ่านระบบงานปกติ ของแต่ละ
กองทุน ตัวอย่างเช่น
• ระบบ UC :ใช้โปรแกรม E-claim
• ระบบ ประกันสังคม/สวัสดิการ
่
ข้าราชการ : โปรแกรมทีกองทุ
น
กาหนด
่
• จ่ายตามอัตราทีตกลงกับแต่
ละ
กองทุน
• เบิกผ่านโปรแกรม EMCO
่
• จ่ายตามอ ัตราทีประกาศในระบบ
ประเทศ
• OP : fee schedule +cap cost
่
สาหร ับส่วนทีเหลื
อไม่เกิน 1000 บาท
• IP : adj.RW ละ 10,500 บาท
• ยาจ .(2), ยา Antidote
ประสานส่งกลับเข้าสู ร
่ ะบบปกติของทุก
สิทธิ
ข้อตกลงการให้บริการ
1. รพ.เอกชนให้การร ักษาจนอาการ
ทุเลา /จาหน่ ายกลับบ้าน
2. หากเกินศ ักยภาพ / พ้นภาวะ
วิกฤติ / ผู ป
้ ่ วยต้องการกลับไป รพ.
ตามสิทธิ
ให้ตด
ิ ต่อ สายด่วน สปสช. 1330
SSS ติดต่อ รพ.
คู ส
่ ญ
ั ญา
CSMBS ติดต่อ รพ.
ร ัฐบาล
ผู ป
้ ่ วยฉุ กเฉิ นเข้า
รพ. เอกชนนอก
เครือข่าย
รพ. / ผู ป
้ ่ วย ติดต่อ
สายด่วน สปสช.
1330
การส่งข้อมู ลและรอบการ
โอนเงิน
ส่งข้อมู ลในระบบ
อิเลคทรอนิ กส ์
หน่ วย
บริการ
คีย ์ข้อมู ลผ่าน
โปรแกรม
EMCO
ทุกว ัน
สปสช.
ตัดข้อมู ล เดือนละ 2 ครง้ั คือ
รอบที่ 1 ตัดข้อมู ล ว ันที่ 1-15 ของทุกเดือน
้
และจะโอนเงินภายในว ันที่ 30 ของเดือนนัน
รอบที่ 2 ตัดข้อมู ล ว ันที่ 16-30 ของทุกเดือน
และจะโอนเงินภายในว ันที่ 15 ของเดือนถัดไป
การตรวจสอบหลังจ่ายชดเชย
เป็ นการตรวจสอบร่วมกันของ 3
กองทุน
สตช.ให้ขอ
้ มู ลว่า...
ระยะแรกของโครงการ จะตรวจสอบเวช
ระเบียนทุกฉบับของทัง้ 3 กองทุน จานวน
้
กองทุนละ 100 ฉบับ หลังจากนันจะปร
ับ
ตามผลจากการตรวจสอบด ังกล่าว