การแสดงบัญชีรายรับ-จ่าย

Download Report

Transcript การแสดงบัญชีรายรับ-จ่าย

๑. เหตุผลความจาเป็ น
๒. กฎหมาย/ระเบียบทีเ่ กีย่ วข้ อง
๓. การเปิ ดเผยราคากลางและการคานวณราคากลาง
๔. การแสดงบัญชีรายการรับจ่ ายของโครงการทีบ่ ุคคล
หรือนิตบิ ุคคลเป็ นคู่สัญญากับหน่ วยงานของรัฐ
2
 การจัดหาพัสดุของหน่ วยงานรัฐใช้ เงินของแผ่นดิน (งบประมาณ
เงินกู้ เงินช่ วยเหลือ หรือรายได้ ของหน่ วยงานรัฐ)
 การดาเนินการทีผ่ ่ านมามีการทุจริตแสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบ
ทาให้ รัฐเสี ยหาย
 มีการสมยอมในการเสนอราคา ไม่ แข่ งขันอย่ างเป็ นธรรม จ่ ายเงิน
ให้ เจ้ าหน้ าทีร่ ัฐเพือ่ ให้ ได้ เป็ นคู่สัญญา
 นักการเมือง เจ้ าหน้ าทีร่ ัฐมีส่วนร่ วมหรือสนับสนุน
การทาความผิด ละเว้ นไม่ ปฏิบัติหน้ าที่
 เพือ่ ประโยชน์ ในการตรวจสอบและจัดเก็บภาษีเงินได้
3
๑. การเปิ ดเผยราคากลางและการค านวณราคากลาง
ไว้ ใ นระบบข้ อ มู ล ทางอิเล็ก ทรอนิ ก ส์ (ต้ องปฏิบั ติ ภายใน
วันที่ ๑๑ สิ งหาคม ๒๕๕๖)
๒. บุคคลหรื อนิติบุคคลซึ่ งเป็ นคู่สัญญากับหน่ วยงานของรั ฐ
ยืน่ บัญชีแสดงรายรับรายจ่ ายของโครงการต่ อกรมสรรพากร
(บังคับใช้ วนั ที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕)
4
๑. พระราชบัญญัติประกอบรั ฐธรรมนู ญว่ าด้ วยการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔
มาตรา ๑๐๓/๗ และมาตรา ๑๐๓/๘
๒. หลั ก เกณฑ์ แนวทางการเปิ ดเผยราคากลางและการค านวณ
ราคากลาง
๓. ประกาศคณะกรรมการป้ องกัน และปราบปรามการทุจ ริ ต
แห่ งชาติ เรื่ อง หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทาและแสดงบัญชี รายการรั บจ่ าย
ของโครงการที ่บ ุค คลหรื อ นิต ิบ ุค คลเป็ นคู่ สั ญ ญากับ หน่ ว ยงานของรั ฐ
พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ ไขเพิ่มเติม
5
มาตรา ๑๐๓/๗ ให้ หน่ วยงานของรัฐดาเนินการจัดทาข้ อมูลรายละเอียด
ค่ าใช้ จ่ายเกีย่ วกับการจัดซื้อจัดจ้ างโดยเฉพาะราคากลางและการคานวณราคากลาง
ไว้ ในระบบข้ อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ ให้ ประชาชนสามารถเข้ าตรวจดูได้
เพื่อประโยชน์ ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในกรณีที่มีการ
ทาสั ญญาระหว่ างหน่ วยงานของรั ฐกับบุคคลหรื อนิติบุคคลที่เป็ นคู่สัญญากับ
หน่ วยงานของรั ฐ ให้ บุคคลหรื อนิติบุคคลที่เป็ นคู่สัญญากับหน่ วยงานของรั ฐ
นั้น มีหน้ าทีแ่ สดงบัญชีรายการรับจ่ ายของโครงการที่เป็ นคู่สัญญากับหน่ วยงาน
ของรัฐต่ อกรมสรรพากร นอกเหนือจากบัญชี งบดุลปกติที่ยื่นประจาปี เพื่อให้ มี
การตรวจสอบเกี่ยวกับการใช้ จ่ายเงินและการคานวณภาษีเงินได้ ในโครงการ
ที่ เ ป็ นคู่ สั ญ ญากั บ หน่ ว ยงานของรั ฐ ดั ง กล่ า ว
ทั้ ง นี้ ตามหลั ก เกณฑ์
ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนด
6
นอกจากกรณี ต ามวรรคหนึ่ ง หรื อ วรรคสอง ในกรณี ที่
คณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็ นสมควร เพื่อดาเนิ นการอย่ างใดอย่ าง
หนึ่งอันเป็ นการป้องกันและปราบปรามการทุจริ ต เนื่องจากการใช้
อ านาจหน้ า ที่ ข องเจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ซึ่ ง คณะกรรมการ ป.ป.ช.
เห็นสมควรในการกาหนดมาตรการเพื่อให้ หน่ วยงานของรั ฐรั บไป
ปฏิบัติ ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอานาจสั่ งให้ หน่ วยงานของรั ฐ
นั้นดาเนินการไปตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนดมาตรการใน
เรื่องนั้นแล้ วรายงานให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบก็ได้ (วรรคสี่ )
7
๑. บุคคลหรือนิตบิ ุคคลทีเ่ ป็ นคูสัญญากับหน่ วยงานของรัฐ
๒. หน่ วยงานของรัฐ
วิธีปฏิบัตขิ องบุคคลหรือนิตบิ ุคคลทีเ่ ป็ นคู่สัญญา
๑. ให้ ยนื่ แบบบัญชีแสดงรายรับรายจ่ ายเป็ นรายสั ญญา
ผ่ านทางอินเทอร์ เน็ต ) จนกว่ าจะสิ้นภาระผูกพันตามสั ญญา
หรือระยะเวลาประกันผลงานสิ้นสุ ดลง
๒. ยืน่ พร้ อมกับการยืน่ แบบแสดงรายการภาษีเงินได้ บุคคล
ธรรมดาหรือภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลแล้ วแต่ กรณี
8
คู่สญ
ั ญา หมายถึง บุคคลหรือนิ ติบุคคล
ที่เป็ นคู่สญ
ั ญากับหน่ วยงานของรัฐ
บุคคลธรรมดา
นิ ติบุคคล
9
๑. กระทรวง ทบวง กรม เป็ นการบริหารราชการส่ วนกลาง
ตามพระราชบัญญัตปิ รับปรุ ง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕
และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่ นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔
• สานักนายกรัฐมนตรี
• กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ ากระทรวง
• กรม หรือส่ วนราชการทีเ่ รียกชื่ออย่ างอืน่ และมีฐานะเป็ น
กรม ซึ่งสั งกัดหรือไม่ สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง
หรือทบวง
10
๒. ราชการส่ วนภูมิภาค
• จังหวัด อาเภอ ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่ นดิน พ.ศ.๒๕๓๔
• ตาบล หมู่บ้าน ตามพ.ร.บ. ลักษณะปกครองท้ องที่ พ.ศ. ๒๔๕๗
๓. ราชการส่ วนท้ องถิ่น
• กรุงเทพมหานคร
• เมืองพัทยา
• องค์ การบริหารส่ วนจังหวัด
• เทศบาล
• องค์ การบริหารส่ วนตาบล
11
๔. รัฐวิสาหกิจ หมายถึง องค์ การของรัฐบาลหรือหน่ วยงานธุรกิจ
ที่รัฐบาลเป็ นเจ้ าของ หรือรัฐ มีทุนอยู่เกินกว่ าร้ อยละห้ าสิ บ รวมทั้งบริษัท
จ ากัด และห้ า งหุ้ น ส่ ว นนิต ิบุค คลที ่ส่ ว นราชการหรือ รัฐ วิส าหกิจ มีท ุน
อยู่ด้วยเกินร้ อยละห้ าสิ บตามกฎหมายว่ าด้ วยวิธีการงบประมาณ
๕. องค์ การมหาชน หมายถึง หน่ วยงานของรัฐที่รับผิดชอบบริ การ
สาธารณะทางสั งคมและวัฒนธรรม เช่ น การศึกษา การวิจัย การฝึ กอบรม เป็ น
ต้ น โดยไม่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ในการแสวงหาก าไรซึ่ งอาจจั ด ตั้ งตาม
พระราชบั ญญั ติ องค์ การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ หรื อองค์ การมหาชนที่ มี
พระราชบัญญัติจัดตั้งเป็ นการเฉพาะ
12
๖ . หน่ วยงานธุรการขององค์ กรตามรัฐธรรมนูญ
(๑) หน่ วยงานธุรการขององค์ กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ คือ
• สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
• สานักงานผู้ตรวจการแผ่ นดิน
• สานักงาน ป.ป.ช.
• สานักงานการตรวจเงินแผ่ นดิน
(๒) หน่ วยงานธุรการขององค์ กรอืน่ ตามรัฐธรรมนูญ
• สานักงานอัยการสู งสุ ด
• สานักงานคณะกรรมการสิ ทธิมนุษยชนแห่ งชาติ
• สานักงานสภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
13
๗. หน่ วยงานอืน่ ของรัฐ
ได้ แก่ หน่ วยงานของรัฐซึ่งมิได้ อยู่ในรู ปแบบข้ างต้ นโดยอาจเป็ นส่ วนราชการซึ่งมิได้ อยู่
ภายใต้ การบังคับบัญชาหรือกากับดูแลของฝ่ ายบริหาร หรือเป็ นหน่ วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึน้ ตาม
กฎหมาย ตามมติ ค.ร.ม. เพือ่ ทาหน้ าที่ในการควบคุมกากับดูแลกิจกรรมของรัฐซึ่งจะมีฐานะเป็ น
นิตบิ ุคคลหรือไม่ กไ็ ด้ ดังนี้
• สานักงานเลขาธิการวุฒสิ ภา และสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
• หน่ วยงานธุรการของศาล
• หน่ วยงานที่รัฐธรรมนูญกาหนดให้ มกี ารจัดตั้งขึน้ เช่ น สานักงานคณะกรรมการ
กิจการกระจายเสี ยงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติ สภาพัฒนา
การเมือง สภาเกษตรกรแห่ งชาติ สานักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
• หน่ วยงานซึ่งเป็ นหน่ วยบริการรู ปแบบพิเศษตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย
การบริหารงานของหน่ วยบริการรู ปแบบพิเศษ ได้ แก่ สถาบันส่ งเสริมการบริหาร
กิจการบ้ านเมืองที่ดี สานักพิมพ์ คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา
14
• สถาบันอุดมศึกษาและมหาวิทยาลัยในกากับภาครัฐ
๘. หน่ วยงานอืน่ ใดทีด่ าเนินกิจการของรัฐตามกฎหมายและได้ รับเงิน
อุดหนุนหรือทรัพย์ สินลงทุนจากรัฐ
ได้ แก่ กองทุนทีเ่ ป็ นนิติบุคคล ทีจ่ ัดตั้งขึน้ โดยตราเป็ นพระราชบัญญัติ
โดยการดาเนินงานของกองทุนจะได้ รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และเงินสมทบ
จากกลุ่มเป้าหมายนั้นๆ เช่ น พระราชบัญญัติกองทุนการออมแห่ งชาติ
พ.ศ. ๒๕๕๔ กองทุนบาเหน็จบานาญข้ าราชการ เป็ นต้ น
ไม่ รวมถึงหน่ วยงานอืน่ ใดทีจ่ ัดตั้งขึน้ ในลักษณะเป็ นองค์ กรวิชาชีพ
เช่ น สภาวิชาชีพบัญชี สภาทนายความ เป็ นต้ น
15
หมายความว่ า บัญชีแสดงรายการรับจ่ ายเงินของ
โครงการตามสั ญญา ตามแบบ บช.๑ ที่บุคคลหรือนิตบิ ุคคล
ซึ่งเป็ นคู่สัญญากับหน่ วยงานของรัฐต้ องจัดทาและยืน่ ต่ อ
กรมสรรพากร
16
๑. ขั้นตอนก่อนการทาสั ญญา
๒. ขั้นตอนภายหลังการทาสั ญญา
17
ขั้นตอนก่ อนทาสั ญญา
๑. ให้ หน่ วยงานของรัฐกาหนดเงื่อนไขและคุณสมบัติของบุคคลหรือนิติบุคคลที่จะเข้ า
เป็ นคู่สัญญา (ผู้เสนอราคา) ไว้ ในขอบเขตของงาน (Term of Reference : TOR) หรือประกาศ
จัดซื้อจัดจ้ าง ดังนี้
* (๑) บุคคลหรือนิติบุคคลที่จะเข้ าเป็ นคู่สัญญาต้ องไม่ อยู่ในฐานะซึ่งได้ มีการระบุชื่อไว้
ในบัญชี รายชื่ อว่ าเป็ นคู่สัญญาที่ไม่ ได้ แสดงบัญชี รายรั บรายจ่ าย หรื อแสดงบัญชี รายรั บรายจ่ าย
ไม่ ถูกต้ องครบถ้ วนในสาระสาคัญ
* ใช้ บังคับกับการจัดซื้อจัดจ้ างทุกกรณีมิใช่ เฉพาะวงเงิน ๒ ล้ านบาทเท่ านั้น
**(๒) บุคคลหรือนิติบุคคลที่จะเข้ าเป็ นคู่สัญญากับหน่ วยงานของรัฐซึ่ งได้ ดาเนินการ
จัดซื้อจัดจ้ างด้ วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement : e-GP) ต้ องลงทะเบียน
ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ของกรมบัญชีกลางที่เว็บไซต์ ศูนย์ ข้อมูลจัดซื้อจัดจ้ างภาครัฐ
**(๓) คู่สัญญาต้ องรับจ่ ายเงินผ่ านบัญชีธนาคาร เว้ นแต่ การรับจ่ ายเงิน แต่ ละครั้งซึ่งมี
มูลค่ าไม่ เกินสามหมื่นบาทคู่สัญญาอาจรับจ่ ายเป็ นเงินสดก็ได้ ** เฉพาะสั ญญาวงเงิน ๒ ล้ านบาท
18
๑. สัญญาทีเ่ กีย่ วกับการจัดหาพัสดุหรือการพัสดุ (ไม่ รวมถึงสัญญา
ทางธุรกิจ หรือเป็ นสั ญญาทีเ่ กีย่ วกับการแสวงหารายได้ ของหน่ วยงานของรัฐ
ทีไ่ ม่ ได้ ใช้ ระเบียบ ข้ อบังคับพัสดุ)
๒. สั ญญาสั มปทาน
(๑) สั ญญาทีร่ ัฐอนุญาตให้ เอกชนลงทุนในกิจการด้ านสาธารณูปโภค
หรือการบริการสาธารณะ อย่ างหนึ่งอย่ างใดด้ วยค่าใช้ จ่ายของตนเองและให้
เอกชนคู่สัญญามีสิทธิเรียกเก็บค่ าบริการจากประชาชนทีม่ าใช้ บริการนั้นเป็ น
ค่ าตอบแทนภายในกาหนดระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง และรัฐจะได้ รับ
ค่ าตอบแทนจากเอกชนทีม่ ีรายได้ จากการลงทุน เช่ น สั ญญาสั มปทานทางหลวง
สั ญญากิจการโทรคมนาคม สั ญญาสั มปทานทางด่ วนพิเศษ
19
(๒) สั ญญาทีร่ ัฐให้ เอกชนร่ วมลงทุนตามพระราชบัญญัติ ว่ าด้ วยการ
ให้ เอกชนเข้ าร่ วมงานหรือดาเนินกิจการในกิจการของรัฐ พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งเป็ น
กรณีทรี่ ัฐร่ วมลงทุนกับเอกชนไม่ ว่าโดยวิธีใด หรือมอบให้ เอกชนลงทุนใน
กิจการทีห่ น่ วยงานของรัฐต้ องดาเนินการตามอานาจหน้ าทีแ่ ละตามกฎหมาย
ทีเ่ กีย่ วกับการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติหรือทรัพย์ สินของรัฐ
(๓) สั ญญาทีร่ ัฐอนุญาตให้ เอกชนคู่สัญญาแสวงประโยชน์ จาก
ทรัพยากรธรรมชาติ เช่ น สั ญญาสั มปทานปิ โตรเลียม สั ญญาสั มปทานรั งนก
อีแอ่น สั ญญาสั มปทานทรัพยากรแร่ เป็ นต้ น
20
๓. สั ญญาให้ ทุนสนับสนุนเพือ่ การวิจัย
สั ญญาที่หน่ วยงานของรั ฐตกลงให้ ทุนสนับสนุนเพื่อการค้ นคว้ า
โดยการทดลอง สารวจ หรื อการศึ กษาตามหลักวิชาการเพื่อให้ ได้ ข้ อมูล
ความรู้ รวมทั้งการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ และกระบวนการต่ างๆ อันจะสามารถ
นามาใช้ เป็ นประโยชน์ ทาง เศรษฐกิจ สั งคม วิชาการ หรือเป็ นพื้นฐานของ
การพัฒนาประเทศในด้ านต่ างๆ ต่ อไป
21
๔. สั ญญาให้ ทุนสนับสนุนเพือ่ ดาเนินกิจกรรมอย่ างใดอย่ างหนึ่ง
คือ สั ญญาที่หน่ วยงานของรั ฐให้ ทุน สนั บสนุ น แก่ ผู้ รั บเงิ นหรื อ
คู่สัญญาโดยมีเงื่อนไขหรื อข้ อตกลงให้ ดาเนินกิจกรรมอย่ างใดอย่ างหนึ่ ง
เช่ น สานักงาน ป.ป.ช. ให้ เงินแก่ กลุ่มองค์ กรเอกชนเพื่อนาไปจัดกิจกรรม
ต่ อต้ านการทุจริต เป็ นต้ น
สั ญญาให้ ทุนสนับสนุนนี้ หมายความรวมถึง กรณีที่หน่ วยงานของ
รั ฐให้ เงิน หรื อทุนอัน มีลักษณะเป็ นการให้ เพื่อให้ บุคคลหรื อนิ ติบุคคลไป
ดาเนินกิจกรรมอย่ างใดอย่ างหนึ่งซึ่งเป็ นกิจกรรมของเอกชนนั้นด้ วย เช่ น
กรณีรัฐวิสาหกิจให้ เงินสนับสนุนการแข่ งขันกีฬา การจัดแสดงดนตรี ฯ
*** ต้ องเป็ นสั ญญาที่จัดทาตั้งแต่ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ เป็ นต้ นไป
22
๑. การกาหนดเงื่ อนไขคุณสมบัติขอ้ ๑ (๑) ให้กาหนดไว้ทุก
กรณี ในการจัดทาสัญญา ๔ ประเภท
๒. ให้ตรวจสอบคุณสมบัติอย่างน้อย ๒ ครัง้ คือ
(๑) ตรวจสอบคราวเดี ย วกับ ตรวจสอบคุ ณ สมบัติ
คุณสมบัติเบื้องต้นทัว่ ไป
(๒) ตรวจสอบอีกครัง้ ก่อนการทาสัญญา
๓. ตรวจสอบผ่านทางเว็บไซต์สานักงาน ป.ป.ช.
http://www.nacc.go.th/main.php?filename=index_parties
23
26
** ห้ ามมิให้ หน่ วยงานของรั ฐก่ อนิ ติสัมพันธ์ กับบุ คคลหรื อ
นิติบุคคลซึ่งได้ มีการระบุชื่อไว้ ในบัญชี รายชื่ อว่ าเป็ นคู่สัญญาที่ไม่ ได้ แสดง
บัญชี แสดงรายรั บรายจ่ ายหรื อแสดงบัญชี แสดงรายรั บรายจ่ ายไม่ ถูกต้ อง
ครบถ้ วนในสาระสาคัญ เว้ นแต่ บุคคลหรื อนิติบุคคลนั้นจะได้ แสดงบัญชี
แสดงรายรั บรายจ่ ายตามประกาศนี้หรื อได้ มีการปรั บปรุ งแก้ ไขให้ ถูกต้ อง
และมีการสั่ งเพิกถอนรายชื่ อจากบัญชี ดังกล่ าวแล้ ว ทั้งนี้ ไม่ ว่าสั ญญานั้น
จะมีมูลค่ าเท่ าใดก็ตาม (ประกาศฯ ข้ อ ๑๗)
27
(๒) บุคคลหรือนิ ติบุคคลที่จะเข้าเป็ นคู่สญ
ั ญากับหน่ วยงาน
ของรัฐซึ่งได้ดาเนิ นการจัดซื้อจัดจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิ กส์
(e-Government Procurement : e-GP) ต้องลงทะเบียนในระบบ
อิเล็กทรอนิ กส์ของกรมบัญชีกลางที่เว็บไซต์ศนู ย์ขอ้ มูลจัดซื้อจัดจ้าง
ภาครัฐ
วิธีปฏิบตั ิ
๑. กาหนดเฉพาะกรณีการจัดหาพัสดุ หรื อการพัสดุ ที่ดาเนินการ
ด้ วยระบบ e-GP) ของกรมบัญชีกลาง
28
วิธีปฏิบตั ิ
๒. กรณี สญ
ั ญาสัมปทาน สัญญาให้ทุนสนับสนุ นเพื่ อการวิ จยั
สัญ ญาให้ทุ น สนั บ สนุ น เพื่ อ ด าเนิ น กิ จ กรรมอย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง หากมิ ไ ด้
ดาเนิ นการด้วยระบบ e-GP) ของกรมบัญชี กลาง ก็ไม่ตอ้ งกาหนดเงื่อนไขนี้
๓. ให้ก าหนดเฉพาะการจัด หาที่ มี ว งเงิ น ซึ่ ง เป็ นมู ล ค่ า ที่
คู่ ส ัญ ญาต้อ งแสดงบัญ ชี ร ายการรับ จ่ า ยฯ คื อ ๕๐๐,๐๐๐ บาท หรื อ
๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท แล้วแต่กรณี ( หรื ออาจกาหนดตัง้ แต่การสอบราคาเป็ น
ต้นไปก็ได้)
29
(๓) คู่สญ
ั ญาต้องรับจ่ายเงินผ่านบัญชี ธนาคาร เว้นแต่การรับ จ่ายเงิ น
แต่ละครัง้ ซึ่ งมี มูลค่าไม่ เกิ นสามหมื่ นบาทคู่สญ
ั ญาอาจรับจ่ายเป็ นเงิ นสด
ก็ได้
วิธีปฏิบตั ิ
๑. มิ ใช่ การกาหนดเป็ นเงื่ อนไขคุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา หรื อ
บุคคล นิ ติบุคคลที่จะเข้าเป็ นคู่สญ
ั ญา
๒. กาหนดเฉพาะกรณี การจัดหาหรื อทาสัญญาที่ มีวงเงิ นซึ่ งเป็ น
มูลค่าที่ค่สู ญ
ั ญาต้องแสดงบัญชี รายการรับจ่ายฯ คือ ๕๐๐,๐๐๐ บาท หรือ
๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท แล้วแต่กรณี
30
ขั้นตอนภายหลังทาสั ญญา
๑. ให้ หน่ วยงานของรัฐรายงานข้ อมูลของคู่สัญญาที่ต้องแสดงบัญชีแสดงรายรับ
รายจ่ าย (บช.๑) ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. และกรมสรรพากรทราบดังนี้
(๑) กรณีหน่ วยงานของรัฐซึ่งดาเนินการจัดซื้อจัดจ้ างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
(e-Government Procurement : e-GP) ของกรมบัญชีกลาง ให้ รายงานข้ อมูลของคู่สัญญา
ผ่ านระบบ (e-Government Procurement : e-GP) ของกรมบัญชีกลาง
(๒) กรณีหน่ วยงานของรัฐใดที่มิได้ ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้ างด้ วยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ ของกรมบัญชีกลาง (e-Government Procurement : e-GP) ให้ รายงานข้ อมูลของ
คู่สัญญาผ่ านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่สานักงาน ป.ป.ช. จัดทาขึน้ (ผ่ านเว็บไซต์ www.nacc.go.th)
การรายงานข้ อมูลของคู่สัญญาทีต่ ้ องแสดงบัญชีรายรับรายจ่ าย (บช.๑) ตาม ๑ (๑)
และ (๒) ให้ หน่ วยงานของรัฐ รายงานกรณีที่มีการแก้ ไขสั ญญาในส่ วนที่เป็ นสาระสาคัญด้วย
31
การรายงานข้ อมูลของคู่สัญญาที่ต้องแสดงบัญชีรายรับรายจ่ ายตาม (๑) และ
(๒) ให้ หน่ วยงานของรัฐรายงานภายใน ๓๐ วัน นับแต่ วนั ทาสั ญญาหรือข้ อตกลง
** หมายเหตุ ในระหว่ างที่การจัดทาระบบอิเล็กทรอนิกส์ ของกรมบัญชีกลาง
(e-Government Procurement : e-GP) ยังไม่ แล้ วเสร็จครบถ้ วนสมบูรณ์ ให้ หน่ วยงาน
ของรัฐ ตาม ๑ (๑) รายงานข้ อ มูล ของคู่ สั ญ ญาผ่ า นเว็บ ไซต์ ข องส านัก งาน ป.ป.ช.
ไปพลางก่ อ น จนกว่ า ระบบอิเ ล็ก ทรอนิก ส์ ข องกรมบัญ ชีก ลาง (e-Government
Procurement : e-GP) จะแล้ วเสร็ จครบถ้ วนสมบูรณ์
32
สั ญญาที่ได้ ดาเนินการจัดหาด้ วยระบบ e – GP ของกรมบัญชีกลาง ใน
ระยะช่ วงที่ ๒ (เฟส ๒) เป็ นต้ นมา
33
๑. เฉพาะสัญญาซึ่งมีมูลค่าดังนี้
(๑) ระหว่างวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ ถึงวันที่ ๓๑ ธันาวาคม
๒๔๕๗ ให้รายงานสัญญที่มีมูลค่าตัง้ แต่ ๒ ล้านบาทขึ้ นไป
(๒) ตัง้ แต่วนั ที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๘ เป็ นต้นไป ให้รายงานสัญญา
ที่มูลค่าตัง้ แต่ ๕ แสนบาทขึ้ นไป
๒. กรณี สญ
ั ญาจัดหาพัสดุ การพัสดุ ที่ดาเนิ นการช่วง e-GP ระยะ
ที่ ๑ (๑ เมษายน ๒๕๕๕ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕) ให้รายงานทางระบบ
รายงานคู่สญ
ั ญาของสานักงาน ป.ป.ช.
34
๓. สัญญาสัมปทาน สัญญาให้ทุนสนับสนุ นการวิจยั สัญญาให้ทุน
สนับสนุ นเพื่อดาเนิ นกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ ง ให้รายงานผ่านระบบ ป.ป.ช.
๔. สัญญาที่มีการทาก่อนวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ แต่ต่อมาตัง้ แต่วนั ที่
๑ เมษายน ๒๕๕๕ เป็ นต้นมามีการแก้ไขเพิ่มวงเงิน
(๑) ระหว่าง ๑ เมษายน ๒๕๕๕ ถึง ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ แก้ไข
มูลค่าสัญญาทาให้สญ
ั ญามีมูลค่ารวมตัง้ แต่ ๒ ล้านบาท ขึ้ นไป
(๒) ตัง้ แต่วนั ที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๘ เป็ นต้นไป แก้ไขมูลค่าสัญญา
ทาให้สญ
ั ญามีมูลค่ารวมตัง้ แต่ ๕ แสนบาทขึ้ นไป
35
๑. รายงาน/บันทึกทางเวปไซต์สานักงาน ป.ป.ช. www.nacc.go.th
๒. ให้ใช้รหัสผูใ้ ช้งาน และรหัสผ่าน เพื่อเข้าใช้งานระบบ
๓. หากยังไม่มีรหัสผูใ้ ช้งาน และรหัสผ่าน สามารถขอรหัสได้ทาง
E-mail : [email protected]
๔.สัญญาฉบับใดที่มีการบันทึกทางระบบ e-GP ของกรมบัญชีกลางแล้ว
ไม่ตอ้ งบันทึกที่ระบบของสานักงาน ป.ป.ช. อีก
สาหรับหน่ วยงานที่มิได้ดาเนิ นการจัดซื้อจัดจ้างด้วยระบบ e-GP ของ
กรมบัญชีกลางให้รายงานทางระบบของสานักงาน ป.ป.ช.
36
37
38
39
40
41
 ให้ รายงานข้ อมูลคู่สัญญาเฉพาะในสั ญญาทีต่ ้ องยืน่ แบบ บช.๑
(๑) เป็ นสั ญญาที่ทาตั้งแต่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ เป็ นต้ นมา
(๒) สั ญญามีมูลค่ า ๒ ล้ านบาทขึน้ ไป
(ตั้งแต่ วนั ที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๘ มูลค่ าสั ญญา ๕ แสนบาท)
(๓) กรณีมีการแก้ ไขสั ญญาเพิม่ วงเงิน ให้ ใช้ มูลค่ าสั ญญารวมกัน
(๔) คู่สัญญาไม่ ได้ เป็ นหน่ วยงานของรัฐประเภททีไ่ ม่ ต้องยืน่ แบบ
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
(๕) คู่สัญญาไม่ ใช่ นิตบิ ุคคลต่ างประเทศทีไ่ ม่ มีตวั แทน หรือผู้แทน
ในประเทศไทย ฯ ตามข้ อ ๖ (๒)
42
(๑) คู่สญ
ั ญาเป็ นหน่ วยงานของรัฐประเภทที่ไม่ตอ้ งยื่น
แบบแสดงรายการภาษี เงินได้นิติบุคคล ตามประกาศข้อ ๖ (๑)
(๕) คู่สญ
ั ญาเป็ นนิ ติบคุ คลต่างประเทศที่ไม่มีตวั แทน หรือ
ผูแ้ ทนในประเทศไทย ฯ ตามข้ อ ๖ (๒)
43
44