กลุ่มงานสิ่งแวดล้อม ๑

Download Report

Transcript กลุ่มงานสิ่งแวดล้อม ๑

กลุ่มงานสิ่ งแวดล้ อม 1
สานักบริหารโครงการ
หน้ าที่ความรับผิดชอบ
งานการศึกษา สารวจ วิเคราะห์ ด้ านทรัพยากรดิน การใช้ ทดี่ นิ และแผน
การเกษตร เพือ่ พิจารณาเสนอแผนปรับปรุ งแก้ ไขปัญหา ประกอบการศึกษา
วางแผนระดับลุ่มนา้ และ/หรือระดับโครงการ ในเขตชลประทาน ตลอดจน
การปรับปรุ งการเกษตรของโครงการทีม่ ีอยู่เดิมให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อม
ใหม่ เพือ่ เพิม่ ผลผลิตและการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน
งานการกากับดูแลงานด้ านวิชาการโครงการชลประทานต่ างๆ ของที่ปรึ กษา
ตามที่ได้ รับการแต่ งตั้งมอบหมาย
งานติดตามศึ กษาค้ นคว้ าความก้ าวหน้ าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อ
ปรั บปรุ งการปฏิบัติงานและแก้ ไขปัญหาที่เกิดขึน้ ในการศึ กษาด้ านทรั พยากร
ดินและการใช้ ทดี่ นิ
งานอืน่ ๆทีไ่ ด้ รับมอบหมาย
ระบบการจาแนกที่ดินเพือ่ การชลประทาน( LAND CLASSIFICATION )
ใช้ ระบบ USBR ทีด่ ดั แปลงจากระบบการจาแนกทีด่ นิ ของทบวงปรับปรุ งบารุ ง
ทีด่ นิ แห่ งสหรัฐอเมริกา (The United State Bureau of Reclamation) ให้
เหมาะสมกับสภาพการเกษตรของประเทศ
วัตถุประสงค์ เพือ่ วิเคราะห์ ประเมิน ศักยภาพความเหมาะสมของทีด่ นิ ที่จะ
ได้ รับการชลประทาน ตามหลักสากลในการศึกษาพิจารณาวางแผนโครงการ
ระบบการจาแนกที่ดินเพือ่ การชลประทาน( LAND CLASSIFICATION )
ระบบเดิม USBR
จาแนกเป็ นพืน้ ที่ที่เหมาะสมมากถึงน้ อย 4 ชั้น และพืน้ ที่ที่ไม่ เหมาะสม มี 2 ชั้น
ระบบUSBR (Pa Mong Project,1970; FAO Soil Bulletin,1979)
เป็ นระบบทีด่ ดั แปลงมาใช้ เพือ่ ให้ สอดคล้องกับสภาพการเกษตรในประเทศไทยที่
มีการใช้ ประโยชน์ ทดี่ นิ ในสองลักษณะใหญ่ ได้ แก่ การทานาทีส่ ภาพดินอยู่ใน
ลักษณะนา้ ขัง ต้ องการนา้ ชลประทานมากกว่ าการปลูกพืชไร่ พชื สวน(พืชทีด่ อน)
ซึ่งดินอยู่ในสภาพทีน่ า้ ไม่ ขัง โดยจาแนกเป็ นพืน้ ที่ที่ใช้ ปลูกพืช ได้ (Arable lands) ใน
เขตชลประทาน สาหรับปลูกพืชทีด่ อน 2 ชั้น สาหรับปลูกข้ าว 2 ชั้น และ พืน้ ที่ที่
ไม่ เหมาะสมในการปลูกพืช (Non-arable lands) มี 2 ชั้นได้ แก่ ชั้นที่ 5 และ 6
ที่ดินชั้นที่ 1 ( class 1 diversified crops – arable :1U )
เป็ นที่ดนิ ที่เหมาะสมมากในการพัฒนาเกษตรชลประทาน (highly suitable
for irrigation farming) มีสภาพพืน้ ที่ราบเรียบถึงค่ อนข้ างราบเรียบ เนือ้ ดิน
ลึกเกินกว่ า 150 ซม. เนือ้ ดินละเอียดปานกลางถึงละเอียด การระบายนา้ ดี ไม่ มี
สารที่เป็ นพิษต่ อพืชในดิน มีศักยภาพในการให้ ผลตอบแทนต่ อการลงทุนสู ง
ที่ดินชั้นที่ 2 (class 2 diversified crops-arable :2U)
ประกอบด้ วยทีด่ นิ ที่มีความเหมาะสมปานกลางสาหรับการทาการเกษตรแบบชลประทาน
(moderate to fair suitability for irrigation farming) มีความสามารถในการผลิตด้ อย
กว่ าชั้นที่ 1 และการลงทุนในการปรับปรุ งแก้ ไขสู งกว่ า มีข้อจากัดในการเลือกชนิดของ
พืชทีป่ ลูก และข้ อจากัดในการใช้ ประโยชน์ อนื่ ๆ มากกว่ าทีด่ นิ ชั้นที่ 1 แต่ อย่างไรก็ตามถ้ า
มีการจัดการที่ดนิ พอจะให้ ผลตอบแทนเท่ าๆ กับทีด่ นิ ชั้นที่ 1 ทีก่ ล่าวมาแล้ว
ที่ดินนาข้ าวชั้นที่ 1R (class 1R wetland rice-arable)
ประกอบด้ วยทีด่ นิ ทีเ่ หมาะสมแก่ การปลูกข้ าวมากภายใต้ ระบบการ
ชลประทาน ผลผลิตข้ าวสู ง ลักษณะเนือ้ ดินบนละเอียดปานกลางถึง
ละเอียด ส่ วนดินชั้นล่างจะมีช้ันทีน่ า้ ซึมผ่านได้ ช้าจนทาให้ มีนา้ ขังพียงพอ
กับการเจริญเติบโตของข้ าว ไม่ มสี ารทีเ่ ป็ นพิษต่ อต้ นข้ าวอยู่ในดิน ทีด่ นิ นา
ชั้นที่ 1 นีจ้ ะให้ ผลตอบแทนในการลงทุนปรับปรุ งสู ง
ที่ดินนาชั้นที่ 2R (class 2R wetland rice-arable)
ประกอบด้ วยทีด่ นิ ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (moderate to fair) สาหรับ
การปลูกข้ าวภายใต้ ระบบการชลประทาน ต้ องลงทุนในการปรับปรุ งแก้ ไข
ข้ อจากัดในการปลูกข้ าวสู งกว่ าดินนาชั้นที่ 1
ที่ดินชั้นที่ 5 (class 5-Nonarable)
ประกอบด้ วยดินและทีด่ นิ ทีไ่ ม่ เหมาะสมต่ อการเพาะปลูกในระบบ
ชลประทานในสภาพปัจจุบัน แต่ ถ้าได้ มกี ารศึกษาในรายละเอียดทางด้ าน
วิศวกรรม เศรษฐกิจและการเกษตรให้ มั่นใจมากขึน้ อาจนามาใช้ ประโยชน์
ทางการเกษตรในระบบชลประทานได้ เป็ นบางส่ วน หรือ อาจจาแนกเป็ น
ทีด่ นิ ชั้นที่ 6 ก็ได้
ที่ดินชั้นที่ 6 (class 6-Nonarable)
ประกอบด้ วยทีด่ นิ ทีไ่ ม่ เหมาะสมในการเกษตรภายใต้ ระบบชลประทาน
ให้ ผลตอบแทนทีไ่ ม่ คุ้มค่ าของการลงทุนพัฒนาทีด่ นิ และ ระบบ
ชลประทาน เช่ น พืน้ ทีด่ นิ ตืน้ มีหินโผล่มาก พืน้ ทีด่ นิ เค็มมาก พืน้ ที่มี
ความลาดชันสู งมาก ทีล่ ่ มุ แฉะใช้ ประโยชน์ ไม่ ได้ ถาวร เป็ นต้น
แผนทีจ่ าแนกทีด่ ินเพือ่ การชลประทาน
ผลการจาแนกทีด่ นิ เพือ่ การชลประทาน(Land class) จะแสดง ชั้นที่ดนิ เป็ นแบบ
ระบบคู่ โดยใช้ สัญลักษณ์ U แทนพืชไร่ /พืชในทีด่ อน และ R แทนข้ าว
การจาแนกชั้นที่ดนิ ระดับชั้นย่อย (subclass) ซึ่งใช้ กบั ทีด่ นิ ชั้นที่ 2 ขึน้ ไป เช่ น
ชั้นย่อย s, t, d, st, sd, เป็ นต้ น โดยใช้ อกั ษรตัวเล็ก
s แสดงปัจจัยข้ อจากัดด้ านดิน เช่ นเนือ้ ดินทรายมากไป ดินกรด ดินด่ างฯลฯ
t แสดงปัจจัยข้ อจากัดด้ านสภาพภูมปิ ระเทศ เช่ นทีล่ าดชันมากยากต่ อการส่ งนา้
d / f แสดงปัจจัยข้ อจากัดด้ านสภาพการระบายนา้ หรือที่เสี่ ยงนา้ ท่ วม
ผลการจาแนกฯจะแสดงเป็ นระบบคู่ เช่ น
2Ust/5Rst. หรือ ศักยภาพความเหมาะสมทีด่ นิ เป็ น 2U
2Ust/2Rst. หรือ ศักยภาพความเหมาะสมทีด่ นิ เป็ น 2U/2R
ระบบจาแนกการใช้ ทดี่ นิ (LANDUSE CLASSIFICATION)
ใช้ ระบบจาแนกการใช้ ทดี่ นิ ของกรมพัฒนาทีด่ นิ จาแนกเป็ น 3 ระดับ
ตามระบบสากล ใช้ อกั ษรตัวใหญ่ ในระดับที1่ และใช้ ตัวเลขต่ อท้ ายใน
ระดับที่ 2, และ ระดับที่ 3
ระบบจาแนกการใช้ ที่ดิน ใช้ ระบบสากล แบ่ งเป็ น 3 ระดับ
ระดับ /Level 1
A พื้นที่เกษตรกรรม
ระดับ /Level 2
A1 นาข้าว
ระดับ /Level 3
A0 เกษตรผสมผสาน ไร่ นาสวนผสม
A100 นาร้าง
A101 นาดา
A102 นาหว่าน
A2 พืชไร่
A200 ไร่ ร้าง
A201 พืชไร่ ผสม
A202 ข้าวโพด
A203 อ้อย
A204 มันสาปะหลัง
ระดับที่ 1 จาแนกเป็ น 5 กลุ่มหลัก ได้ แก่
พืน้ ทีช่ ุ มชนและสิ่ งปลูกสร้ าง (U)
พืน้ ที่เกษตรกรรม (A)
พืน้ ที่ป่าไม้ (F)
พืน้ ที่นา้ (W)
พืน้ ที่อนื่ ๆ (M)
ระดับที่ 2 จาแนกจากระดับที่ 1 เป็ นกลุ่มย่อย เช่ น
พืน้ ที่เกษตรกรรม จาแนกเป็ น 10 กลุ่มย่ อย ได้ แก่
A1 นาข้ าว
(3)
A2 พืชไร่
(37)
A3 ไม้ ยนื ต้ น
(22)
A6 ไร่ หมุนเวียน
(2)
( ไร่ ร้าง ไร่ หมุนเวียน )
A7 ทุ่งหญ้ าเลีย้ งสั ตว์
(4)
(ท่ งหญ้ า โรงเรือนโค/ม้ า สั ตว์ ปีก สุ กร)
A8 พืชนา้
(7)
( กก บัว กระจับ แห้ ว ผักบุ้ง ผักกะเฉด)
A4 ไม้ ผล
(28)
A9 ทีเ่ พาะเลีย้ งสั ตว์ นา้ (7)
(ปลา กุ้ง ปู/หอย จระเข้ ตะพาบนา้ )
A5 พืชสวน (11)
A0 เกษตรผสมผสาน /
ไร่ นาสวนผสม
ระดับที่ 3 จาแนกจากระดับที2่ ลงละเอียดถึงประเภทและชนิดของการใช้ ที่ดนิ เช่ น
ระดับที่ 2
A100 นาร้ าง
ระดับที่ 3
A101 นาดา
A102 นาหว่ าน
A1 นาข้ าว
(3)
A200 ไร่ ร้าง
A201 พืชไร่ ผสม
A202 ข้ าวโพด
A301 ไม้ ยนื ต้ นผสม
A302 ยางพารา
A303 ปาล์มนา้ มัน
A2 พืชไร่
(37)
A3 ไม้ ยนื ต้ น
(22)
สัก+สะเดา
ระดับที่ 2 พืน้ ทีช่ ุมชนและสิ่งปลูกสร้ าง จาแนกเป็ น 6 กลุ่มย่อย ได้แก่
U1 ตัวเมืองและย่านการค้ า ไม่แยกระดับ3
U4 สถานีคมนาคม สนามบิน สถานีรถไฟ สถานีขนส่ ง ท่าเรือ
U2 หมู่บ้าน ทีด่ ินจัดสรร หมู่บ้าน หมู่บ้านชาวเขา
U3 สถานทีร่ าชการและสถาบัน
โรงเรียน วัด
U5 ย่ านอุตสาหกรรม นิคม / โรงงาน อุตสาหกรรม
U6 อืน่ ๆ เช่ น สนามกอล์ฟ สุสาน
ระดับที่ 2 พืน้ ที่ป่าไม้ จาแนกเป็ น 4 กลุ่มย่อย ได้แก่
F1 ป่ าไม่ ผลัดใบ
(7)
(ดิบชื้น ดิบแล้ง สนเขา พรุ ชายเลน/โกงกาง ชายหาด)
F2 ป่ าผลัดใบ (3 เช่ น ป่ าเบญจพรรณ ป่ าแดง/เต็งรัง)
F3 สวนป่ า (14 เช่ น สัก ยูคาลิปตัส)
F4 วนเกษตร
ระดับที่ 2 พืน้ ที่นา้ แบ่ ง เป็ น 2 กลุ่มย่อย ได้แก่
W1 แหล่งนา้ ธรรมชาติ
W2 แหล่งนา้ ที่สร้ างขึน้
( แม่ นา้ ลาคลอง ทะเลสาบ/บึง )
(อ่างเก็บนา้ บ่ อนา้ ในไร่ นา คลองชลประทาน )
ความละเอียดของข้ อมูลในแผนที่
ตามหลักสากล ข้ อมูลในแผนที่ ทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดทีล่ งได้ มี ขนาด 0.4x0.4 ซม.
ผลผลิตมาตราส่ วนแผนที่ 1/50,000 รายละเอียดข้ อมูลทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดประมาณ 25 ไร่
ผลผลิตมาตราส่ วนแผนที่ 1/25,000 รายละเอียดข้ อมูลทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดประมาณ 6 ไร่
ผลผลิตมาตราส่ วนแผนที่ 1/10,000 รายละเอียดข้ อมูลทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดประมาณ 1 ไร่
ผลผลิตมาตราส่ วนแผนที่ 1/4,000 รายละเอียดข้ อมูลทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดประมาณ 64 ตร.วา
ภาพถ่ ายทางอากาศ และมาตราส่ วนแผนที่
(64 ตารางวา)
(1 ไร่ )
(6 ไร่ )
(25 ไร่ )
แสดงพืน้ ที่วัดขวัญสะอาด มีเนือ้ ที่ประมาณ 2.5 ไร่ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ลักษณะการใช้ ที่ดินแบบผสม จาแนกดังนี้
X-Y
พืน้ ที่การใช้ ประโยชน์ ทดี่ นิ 2 ชนิดในอัตราส่ วน 70% ต่ อ 30%
X/Y
พืน้ ทีก่ ารใช้ ประโยชน์ ทดี่ นิ 2 ชนิดในอัตราส่ วน 50% ต่ อ 50%
X/Y/Z พืน้ ทีใ่ ช้ ประโยชน์ ทดี่ นิ 3 ชนิดในอัตราส่ วน 50 % ต่ อ 30 % ต่ อ 20%
X+Y
พืน้ ทีก่ ารใช้ ประโยชน์ ทดี่ นิ 2 ครั้งต่ อปี
X+Y+Z พืน้ ที่การใช้ ประโยชน์ ทดี่ นิ 3 ครั้งต่ อปี
การสารวจจาแนกที่ดินเพือ่ การชลประทาน
ภาพถ่ ายทางอากาศ
แผนทีภ่ ูมปิ ระเทศ
เครื่อง GPS
อุปกรณ์ สนาม
เจาะดินลึก 150 ซ.ม.
ตรวจสอบคุณสมบัตทิ างสั ณฐานวิทยาดิน
ความลึกของดิน
เนือ้ ดิน สีดิน
การระบายนา้
ความเป็ นกรดด่ างของดิน ฯลฯ
ผลวิเคราะห์ ดนิ
จัดทาแผนที่และรายงาน
บันทึกข้ อมูลต่ างๆ เก็บตัวอย่ างดินส่ งวิเคราะห์
พิจารณาจาแนกประเภททีด่ นิ ฯเบือ้ งต้ น
สารวจ ตรวจสอบความถูกต้ องของสภาพการใช้ ทดี่ นิ ปัจจุบนั
อุปกรณ์ ทใี่ ช้ เจาะดิน
อุปกรณ์ ทใี่ ช้ เทียบสี ดิน
อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ตรวจสอบความเป็ นกรดเป็ นด่ างของดิน
การตรวจสอบคุณภาพนา้ เบือ้ งต้ น
เก็บตัวอย่ างดินและตัวอย่ างนา้ ส่ งวิเคราะห์
เก็บข้ อมูลการเกษตร
ปัญหาอุปสรรคในสนาม
ปัญหาอุปสรรคในสนาม
ปัญหาอุปสรรคในสนาม
ปัญหาอุปสรรคในสนาม
ประโยชน์ จากผลการดาเนินงาน
1) ทราบเนือ้ ทีแ่ ละตาแหน่ งของพืน้ ทีท่ สี่ ามารถพัฒนาเพาะปลูกพืชได้
และไม่ สามารถเพาะปลูกได้
2) ทราบเนือ้ ที่และตาแหน่ งของพืน้ ที่ที่จะได้ รับการชลประทาน
และไม่ เหมาะสมต่ อการชลประทาน
3) ทราบเนือ้ ที่และศักยภาพความเหมาะสมของชั้นที่ดินและข้ อจากัด
4) ทราบเนือ้ ทีแ่ ละตาแหน่ งของการใช้ ประโยชน์ ทดี่ นิ และพืชทีป่ ลูกปัจจุบัน
5) ใช้ ประกอบการพิจารณาวิเคราะห์ ทางด้ านเศรษฐศาสตร์ ของโครงการ
ประโยชน์ จากผลการดาเนินงาน
6) ใช้ ประกอบการศึกษาแนวโน้ มการเปลีย่ นแปลงการใช้ ทดี่ นิ และพิจารณาวาง
แผนการจัดระบบการเพาะปลูกพืช
7) ใช้ ประกอบการพิจารณาหาความต้ องการใช้ นา้ ของโครงการ
และวางแผนการบริหารจัดการนา้ ก่อน/หลัง มีการพัฒนาชลประทาน
8) เป็ นฐานข้ อมูลเชิงพืน้ ทีป่ ระกอบการศึกษาประเมินความเหมาะสม
และผลกระทบสิ่ งแวดล้อมของโครงการ
จบการนาเสนอ
ขอบคุณค่ ะ