ภาระรับผิดชอบ - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

Download Report

Transcript ภาระรับผิดชอบ - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

33711
ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหล ักการ
ร ัฐประศาสนศาสตร์
หน่วยที่ 7
ร ัฐประศาสนศาสตร์ก ับ
การตรวจสอบถ่วงดุล
ั ์ บุณยร ัตพ ันธุ ์
รศ.ดร.เทพศกดิ
รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพ ัฒนาระบบงาน
มหาวิทยาล ัยสุโขท ัยธรรมาธิราช
Accountability (หล ักภาระร ับผิดชอบ)
หมายถึง
- ความพร้อมทีจ
่ ะถูกตรวจสอบ สามารถตรวจสอบได้
ภาระร ับผิดชอบ การตรวจสอบถ่วงดุล
- สภาพของการถูกผูกม ัด หรือข้อผูกม ัดให้บค
ุ คลใดบุคคลหนึง่
ี้ จง หรือแสดงบ ัญชรี ายการแก่อก
ต้องถูกเรียกให้ชแ
ี บุคคลหนึง่
้ านาจ โดยอาศยวิ
ั ธก
- เป็นเรือ
่ งของการควบคุมการใชอ
ี ารวาง
ิ ใจ และขนตอน
กฎระเบียบ หล ักเกณฑ์ มาตรฐานการต ัดสน
ั้
การปฏิบ ัติงาน
ั ันธ์ระหว่างบุคคลอย่างน้อยสองฝ่ายซงึ่
- เป็นเรือ
่ งของความสมพ
มีสถานภาพไม่เท่าเทียมก ัน คือฝ่ายผูม
้ อบหมายอานาจหน้าที่
ของตนให้แก่อก
ี ฝ่ายหนึง่ กระทาการแทน
2
ความคิดเห็นของน ักวิชาการต่อเรือ
่ ง
หล ักภาระร ับผิดชอบ
1. James Fesler and Donald Kett
ื่ มน
- เชอ
่ ั อย่างสุจริตใจต่อการปฏิบ ัติหน้าทีต
่ ามกฎหมาย สาย
ิ ธิภาพ ประสท
ิ ธิผล
การบ ังค ับบ ัญชา และดาเนินงานให้มป
ี ระสท
ี
ไม่ละเมิดกรอบมาตรฐานของจรรยาวิชาชพ
2. Robert D. Behn
1. สามารถตอบคาถาม อธิบาย หรือให้เหตุผลประกอบ
การกระทาได้
2. จ ับผิด ลงโทษ รวมถึงย ับยงและป
ั้
้ องก ันปัญหาการกระทา
ผิดในอนาคต
้ อยูก
3. ขึน
่ ับความคาดหว ังของผูเ้ กีย
่ วข้อง อาจมุง
่ เน้นความ
3ซอ
ั สจ
ั
ื่ สตย์
ุ ริต และเสมอภาค หรือ มุง
่ เน้นผลสมฤทธิ
์
มิตม
ิ ม
ุ มองเรือ
่ งภาระร ับผิดชอบ
1. มิตเิ ชงิ ว ัตถุประสงค์ หรือจุดมุง
่ หมาย
- ต้องการผูกม ัดใครให้ร ับผิดชอบต่อเรือ
่ งใด
2. มิตเิ ชงิ สถาบ ัน
ั ันธ์ในเชงิ ภาระร ับผิดชอบ
- ใครมีความสมพ
ั ันธ์เป็นล ักษณะใด
ต่อใคร และความสมพ
4
ภาระร ับผิดชอบ มิตใิ นเชงิ ว ัตถุประสงค์
1. มุง
่ เน้นการมอบหมายและความไว้วางใจ ให้ความสาค ัญต่อการ
ปฏิบ ัติงานให้ถก
ู ต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบ ังค ับ กฎเกณฑ์ นโยบาย
คาสง่ ั (compliance-based accountability)
้ านาจร ัฐ
- ภาระร ับผิดชอบต่อการใชอ
(accountability for the use of power)
้ านาจอย่างถูกต้อง เป็นธรรมและเท่าเทียม
เน้นการใชอ
้ า่ ยเงินแผ่นดิน
- ภาระร ับผิดชอบต่อการใชจ
(accountability for finance)
ั สจ
ื่ สตย์
เน้นการปฏิบ ัติได้อย่างถูกต้อง ซอ
ุ ริต ตอบคาถามต่อร ัฐสภาและ
ประชาชน
2 . มุ่ ง เ น้ น ผ ล ส ัม ฤ ท ธิ์ ข อ ง ก า ร ด า เ นิ น ง า น (performance-based
accountability)
ิ ธิภาพ
- การบริหารงานภาคร ัฐแนวใหม่เน้นเรือ
่ งคุณภาพ ประสท
ิ ธิผล และความคุม
ประสท
้ ค่าของเงิน
5
ภาระร ับผิดชอบ: มิตเิ ชงิ สถาบ ัน
ั ันธ์ของลาด ับขนตามโครงสร้
1. ความสมพ
ั้
างสายการบ ังค ับบ ัญชาอย่างเป็นทางการ
1.1 ภาระร ับผิดชอบทางการเมือง (political accountability) - ฝ่ายบริหารต่อฝ่ายนิตบิ ัญญ ัติ
1.2 ภาระร ับผิดชอบทางราชการ (bureaucratic accountability)
- ข้าราชการประจาต่อฝ่ายการเมือง
1.3 ภาระร ับผิดชอบทางการบริหารจ ัดการ (managerial accountability)
1.4 ภาระร ับผิดชอบทางกฎหมาย (legal accountability) - การถ่วงดุลอานาจ
1.5 ภาระร ับผิดชอบทางการบริหารปกครอง (administrative accountability)
- ฝ่ายปกครองก ับองค์กรอิสระตามร ัฐธรรมนูญ
ั ันธ์ในบริบทของการบริหาร ปกครองประเทศแนวใหม่
2. ความสมพ
2.1 ภาระร ับผิดชอบต่อสาธารณะ (public accountability)
- การเปิ ดเผย การมีสว่ นร่วมของประชาชน
2.2 ภาระร ับผิดชอบต่อตลาด (market accountability) – ลดการผูกขาดของร ัฐ
แข่งข ันในการจ ัดบริการสาธารณะ (contestability)
ั ันธ์ทม
ี
3. ความสมพ
ี่ ต
ี อ
่ ตนเองและวิชาชพ
3.1 การยึดมน
่ ั ค่านิยม
ี
3.2 การยึดมน
่ ั จรรยาบรรณวิชาชพ
6 การยึดมน
ี ธรรม
3.3
่ ั หล ักศล
่ เสริมให้มก
สง
ี าร
ประเภทของ
ระบบควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน
1. ระบบการควบคุมตนเอง
ี
- ร ับผิดชอบต่อตนเองและวิชาชพ
2. ระบบการควบคุมภายใน
3. ระบบการควบคุมจากภายนอก
7
ระบบการควบคุมภายใน
> ระบบการควบคุมภายในของหน่วยงาน
ี ละการเงิน
- ควบคุมทางการบ ัญชแ
- ควบคุมทางด้านการบริหาร
> การควบคุมภายในของผูบ
้ ริหารราชการ
แผ่นดินฝ่ายการเมือง
- ร ัฐบาลร ับผิดชอบต่อร ัฐสภา
- ข้าราชการประจามีหน้าทีป
่ ฏิบ ัติตามนโยบายและคาสง่ ั ฝ่าย
การเมือง
8
ระบบการควบคุมจากภายนอก
1. โดยสถาบ ันทีเ่ ป็นทางการ
่ ง เร่งร ัด ร ัฐบาล
- สภา แต่งตงั้ สอดสอ
- ศาล ตรวจสอบถ่วงดุลให้ฝ่ายบริหารปฏิบ ัติตามกฎหมาย
- องค์กรอิสระตามร ัฐธรรมนูญ สอบสวนข้อเท็จจริง ไต่สวน
้ า่ ยเงิน
ฟ้องร้อง ตรวจสอบการใชจ
2. โดยสถาบ ันทีไ่ ม่เป็นทางการ
9
ั
ื่ มวลชน และ
- ประชาชน ชุมชน องค์กรประชาสงคม
สอ
ื่ ถอดถอน ขอให้เปิ ดเผยข้อมูล
กลุม
่ ผลประโยชน์ ร้องเรียน ลงชอ
และร่วมปรึกษาหารือ
- ระบบตลาด ปร ับเปลีย
่ นบทบาทหน้าทีแ
่ ละลดขนาดภาคร ัฐ เปิ ดให้
มีการแข่งข ันประมูลงาน
เครือ
่ งมือสม ัยใหม่ในการควบคุม
การบริหารราชการแผ่นดิน
1. การควบคุมตามโครงสร้าง
สายการบ ังค ับบ ัญชา
ั
2. การควบคุมโดยอาศยกลไกอื
น
่
10
การควบคุมตาม
โครงสร้างสายการบ ังค ับบ ัญชา
ั
1. การทาสญญาข้
อตกลงว่าด้วยผลงาน
- เน้นควบคุมก่อน (ex ante control)
- มุ่ ง เน้น ภาระร บ
ั ผิด ชอบต่ อ ผลงานและต่ อ การปร บ
ั ปรุ ง ขีด
้ ุล ยพิน จ
้ ให้อ ส
้
สมรรถนะมากขึน
ิ ระผูบ
้ ริห ารในการใช ด
ิ มากขึน
ั
โดยการระบุผลสมฤทธิ
ท
์ ต
ี่ อ
้ งการไว้ลว
่ งหน้า
2. การตรวจสอบและประเมินผลการบริหารราชการ
- เน้นควบคุมหล ัง (ex post control)
้ ระโยชน์ในสถานการณ์ท ี่
- เป็นวิธก
ี ารควบคุมสม ัยใหม่ ใชป
แตกต่างก ันตามว ัตถุประสงค์
ื สวนหาข้อเท็จจริง - ทุจริต
- การสบ
- การประเมินผลการดาเนินงาน - ผลผลิต ผลล ัพธ์
11
- การประเมินผลกระทบ - ทางบวก ทางลบ
ั
การควบคุมโดยอาศยกลไกอื
น
่
(Albert O. Hirchman)
้ ริการ
1. การเปิ ดให้มท
ี างเลือกออกไปใชบ
จากรายอืน
่ (Exit)
2. การแสดงความเห็นถึงความพอใจ – ไม่พอใจ ของ
ประชาชนผูร้ ับบริการจากภาคร ัฐ (Voice)
12
้ ริการ
การเลือกใชบ
ก ับการแสดงออกของประชาชน
ี งไม่ด ัง (low exit-low voice)
1. ออกไปยาก – เสย
่ บริการด้านการแพทย์
เชน
่ งให้รอ
(เปิ ดชอ
้ งเรียน จ ัดหน่วยบริการเคลือ
่ นที)่
ี งด ัง (low exit-strong voice)
2. ออกไปยาก - เสย
่ ไฟฟ้า ประปา
เชน
่ นร่วมต ัดสน
ิ ใจ)
(แต่งตงต
ั้ ัวแทนประชาชนเข้ามามีสว
ี งไม่ด ัง (high exit-low voice)
3. ออกไปง่าย - เสย
่ การเคหะ สถานีอนาม ัย
เชน
(เปิ ดให้มผ
ี ใู ้ ห้บริการหลายราย contract out)
ี งด ัง (high exit-high voice)
4. ออกไปง่าย - เสย
่ สายการบิน
เชน
ี ารแข่งข ัน การแปรสภาพกิจการของร ัฐให้เป็น
13(เปิ ดให้มก
เอกชน)