ทิศทาง obec

Download Report

Transcript ทิศทาง obec

ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ดร.ชินภัทร ภูมริ ั ตน
เลขาธิการ กพฐ.
ประเด็นที่บรรยาย
•
•
•
•
ภาพอนาคต
ผลการทดสอบ O-NET
การพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
และประชาคมโลก
ภาพลักษณ์การศึกษาขั้นพื้นฐานในอนาคต
ภาพลักษณ์เป็นสิ่งที่มีความสาคัญ เป็นเครื่องมือในการช่วยกาหนดทิศทาง
การดาเนิ น งานในอนาคตได้อย่างชัดเจน ทาให้เกิดความเข้าใจในงาน และแนวทาง
การดาเนิน งานที่ชัดเจน จากการประมวลความคิดเห็นของคณะกรรมการการศึกษา
ขั้ น พื้ น ฐาน ชุ ด ที่ ๒ พบว่ า ภาพลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานในอนาคต ควร
ประกอบด้วย
๑) ภาพลักษณ์นักเรียน
๒) ภาพลักษณ์หลักสูตรการศึกษา
๓) ภาพลักษณ์สถานศึกษา
๔) ภาพลักษณ์การบริหารจัดการของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา/สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๕) ภาพลักษณ์ครูและบุคลากรทางการศึกษา
1. ภาพลักษณ์นักเรียน
ภาพลักษณ์นักเรียน : ตั้งมั่นในคุณธรรม มุ่งมั่นพัฒนาความรู้ ใจมั่นคงเป็นสุข
ยึดมั่นความเป็นไทย ก้าวมั่นสู่อนาคต
• เก่ง : มุ่งมั่นพัฒนาความรู้ โดยมีทักษะความรู้พื้นฐานที่จาเป็นในการ
ประกอบอาชีพ และทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีนิสัย ใฝ่เรียนรู้
เรียนรู้ด้วยตัวเอง และแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มี
ความสามารถในการสื่อสาร
คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา คิดริเริ่มสร้างสรรค์
• ดี : ตั้งมั่นในคุณธรรม โดยมีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย คานึงถึง
ประโยชน์ส่วนรวม ทางานเป็นกลุ่มได้อย่างเป็นกัลยาณมิตร มี
ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม รังเกียจการทุจริตทุกระดับ
และต่อต้านการซื้อสิทธิ์ ขายเสียง
1. ภาพลักษณ์นักเรียน (ต่อ)
• มีสุข : ใจมั่นคงเป็นสุข โดยมีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่
สมบูรณ์ แข็งแรง
• ความเป็นไทย : ยึดมั่นความเป็นไทย โดยมีจิตสานึกและ
ความภูมิใจในความเป็นไทย ยึดมั่นการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
• เทคโนโลยี : ก้าวมั่นสู่อนาคต โดยใช้ภาษาอย่างน้อย
สองภาษา ใช้เทคโนโลยี
อย่างเท่าทัน พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
2. ภาพลักษณ์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
• หลักสูตรที่ตอบสนองต่อศักยภาพของนักเรียนอย่างแท้จริง
• เน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ เน้นการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม
หน้าที่พลเมือง และความเป็นไทย
• หลักสูตรมีความเหมาะสมกับท้องถิ่น และพร้อมสู่สากล
• หลักสูตรสามารถนาไปสู่อาชีพได้จริง
3. ภาพลักษณ์ของครูและบุคลากรทางการศึกษา
• เป็นผู้เอื้ออานวยให้เกิดการเรียนรู้ บริหารและจัด
การศึกษา
• เป็นคนเก่งมีความรู้ในวิชาชีพของตนเอง พร้อม
พัฒนาตนเอง
• แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง
• เป็นคนดี มีจิตสานึก มีใจพร้อมให้บริการ
3. ภาพลักษณ์ของครูและบุคลากรทางการศึกษา (ต่อ)
• ทางานด้วยความทุ่มเท เสียสละ และปฏิบัติงานตามหน้าที่
เต็มเวลา เต็มความสามารถ
• ใช้ทักษะการสื่อสารทางบวก เสริมแรง รับฟัง ตอบรับการฟัง
ให้กาลังใจ
• มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี พร้อมรับในการเปลี่ยนแปลง
• ดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภูมิใจ
ในความเป็นไทย
4. ภาพลักษณ์ของสถานศึกษา
•
•
•
•
เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพอย่างยั่งยืน
มีโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมต่อการจัดการศึกษา
มีบรรยากาศสภาพแวดล้อมให้น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน
มีนวัตกรรมและเทคโนโลยีสู่การเรียนการสอน
4. ภาพลักษณ์ของสถานศึกษา (ต่อ)
• มีทรัพยากรทางการจัดการศึกษา และการบริหารการศึกษา
อย่างเพียงพอ
• เป็นแบบอย่างในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
• ชุมชนภาคภูมิใจ และมีส่วนร่วมจัดการศึกษา
• มีจานวนครู และบุคลากรทางการศึกษาอย่างเพียงพอตามเกณฑ์
5. ภาพลักษณ์ของการบริหารจัดการของ สพท. / สพฐ.
• มีโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมในการปฏิบัติงานและให้บริการ
• มีบุคลากรพอเพียงมีความรู้ความสามารถ และเต็มใจบริการ
• มีการกระจายอานาจ และบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล (ยึดหลัก
นิติธรรม คุณธรรม โปร่งใส การมีส่วนร่วม ความรับผิดชอบ ความคุ้มค่า)
• ส่งเสริมการปฏิบัติงานเชิงบูรณาการระหว่างใน และนอกหน่วยงาน
และต่างกระทรวง
5. ภาพลักษณ์ของการบริหารจัดการของ สพท. / สพฐ. (ต่อ)
•
•
•
•
ใช้เทคโนโลยีบริหารจัดการอย่างที่มีประสิทธิภาพ
ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า และรักษ์สิ่งแวดล้อม
เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
มีการพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพ
มาตรฐาน
ผลการทดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554
สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
ผล O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ใน 3 ปีการศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ปีการศึกษา
รวม
ภาษาไทย
คณิต
วิทย์
สังคมฯ
อังกฤษ
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงาน
2552
38.58
35.88
38.67
33.90
31.75
64.76
42.49
51.69
42.22
2553
31.22
34.85
41.56
47.07
20.99
54.31
41.10
52.52
40.45
2554
49.51
51.69
40.45
51.08
37.12
58.17
46.20
54.45
48.58
ผล O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใน 3 ปีการศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ปีการศึกษา
รวม
ภาษาไทย
คณิต
วิทย์
สังคมฯ
อังกฤษ
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงาน
2552
35.35
26.05
29.16
39.70
22.54
56.70
32.95
33.86
34.54
2553
42.80
24.18
29.17
40.85
16.19
71.97
28.48
47.07
37.59
2554
48.35
32.19
32.28
42.88
30.13
51.16
43.61
47.59
41.02
ผล O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ใน 3 ปีการศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ปีการศึกษา
รวม
ภาษาไทย
คณิต
วิทย์
สังคมฯ
อังกฤษ
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงาน
2552
46.47
28.56
29.06
36.00
23.98
45.37
37.75
32.98
35.02
2553
42.61
14.99
30.90
46.51
19.22
62.86
32.62
43.69
36.68
2554
42.12
22.53
27.89
33.40
21.34
54.92
28.65
49.21
35.01
ค่าสถิติพื้นฐานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET)
ช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 6) ปีการศึกษา 2554
รายการ
ภาษาไทย
สั งคมศึกษา
ศาสนา และ
วัฒนธรรม
จานวนโรงเรียนทีส่ อบ
28,290
28,290
28,290
28,290
28,290
28,290
จานวนผู้เข้ าสอบ
543,748
543,734
543,748
543,734
543,815
543,815
คะแนนเฉลีย่ ร้ อยละ
(ระดับประเทศ)
50.04
52.22
38.37
52.40
40.82
49.36
Percentile Rank ที่ 70
53.33
55.23
40.74
58.46
43.59
53.00
ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
รวม
ผล O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ใน 3 ปีการศึกษา
50
70
การพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากล
FIVE STEPS FOR STUDENT DEVELOPMENT
PUBLIC SERVICE
EFFECTIVE COMMUNICATION
KNOWLEDGE FORMATION
KNOWLEDGE SEARCHING
HYPOTHESIS FORMULATION
Learning to serve
Learning to communicate
Learning to construct
Learning to search
Learning to question
5 จุดเน้ นผู้เรียน
1
2
3
4
5
เป็ นเลิศวิชาการ
สื่อสาร 2 ภาษา
สา้ หน้ าทางความคิด
ผลิตงานอย่ างสร้ างสรรค์
ร่ วมกันรับผิดชอบต่ อสังคมโลก
โรงเรียนมาตรฐานสากล
( World-Class Standard School )
1
เป็ นเลิศวิชาการ
5
2
ร่ วมกันรับผิดชอบ
ต่ อสังคมโลก
ผู้เรียนมีศักยภาพเป็ นพลโลก
World Citizen
4
ผลิตงาน
อย่ างสร้ างสรรค์
การจัดการเรียนการสอน
เทียบเคียงมาตรฐานสากล
World-Class Standard
ลา้ หน้ า 3
ทางความคิด
สื่อสาร 2 ภาษา
TQA OBEQA SQA
การบริหารจัดการ
ด้วยระบบคุณภาพ
Quality System Management
การใช้เครื่องมือคุณภาพ
เพื่อการเพิ่มผลผลิตสถานศึกษา
การเพิ่มผลผลิต ( Productivity )
1.จิตสานึกการเพิ่มผลผลิต
2.ความสาคัญของการเพิ่มผลผลิต
ในภาคการศึกษา
เป้า-แผน-ผล :2555-2556
เป้าหมาย
65 โรงเรียน
Intensive School
12 โรงเรียนประถมศึกษา
43 โรงเรียนมัธยมศึกษา
พัฒนาองค์กรด้วยระบบคุณภาพ
แผน
ระบบคน
SQA
ระบบงาน
ระบบคุณภาพแห่งองค์กร
2555
ผลลัพธ์
“ SQA ”
ระบบคุณภาพแห่ง สพฐ.
“ OBECQA ”
2556
ระบบคุณภาพแห่งชาติิ
2557
1
“ TQA ”
2
3
Excellence Framework:
TQM
Total Quality Management
MBNQA
Malcolm Baldrige National Quality Award
TQA
Thailand Quality Award
PMQA
Public Sector Management Quality Award
SEPA
State Enterprise Performance Appraisal
LQM
Local Quality Management
HA ( รพ )
Hospital Accredit
HPH
Health Promotion Hospital
PCA
Primary Care Accredit
สกอ.
มุมคิด… เริ่มต้น
1. การใช้เครื่องมือคุณภาพเพื่อเพิม่ ผลผลิตสถานศึกษา
ตามแนวคิดหลัก TQA
2. การพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ....
ตามแนวคิดหลัก TQA
3. ข้อกาหนด/ประเด็นพิจารณา การบริหารจัดการ
ด้วยระบบคุณภาพ
4. การประเมินตนเองตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ
SQA / OBECQA / TQA
ประเด็นน่าสนใจ : TQA
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
Management
Concept
Core Values
Key Factor
Criteria
Assessment
TQA Document
Q&A
องค์ประกอบ : TQA
1. 11 Core values
2. Organization System
3. Key Organization Factors
4. Assessment System
Organizational Excellence Model
: 11 Core values + ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1
การนาองค์กร
อย่างมีวิสัยทัศน์
2 ความรับผิดชอบ
5
การมุง่ เน้ นอนาคต
6
ต่อสังคม
3
รให้ความสาคัญกับ
ความเป็ นเลิศ
ที่มงุ่ เน้ นนักเรียน
ความคล่องตัว
7
การเรียนรู้ขององค์กร
10
8
การจัดการเพื่อ
นวัตกรรม
การจัดการโดยใช้
ข้อมูลจริง
การมุ่งเน้ นที่ผลลัพธ์
และการสร้างคุณค่า
และแต่ละบุคคล
บุคลากรและคู่ค้า
4
9
11
มุมมองเชิงระบบ
TQA …สู่...
10 Steps Improvement
32
OBECQA : Criteria
P. โครงร่างองค์กร
สภาพแวดล้อมขององค์กร และความสัมพันธ์ระดับองค์กร
การวางแผนเชิงกลยุทธ์5.การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน
2.
2.1.การพัฒนาเชิงกลยุทธ์
2.2.การนากลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ
1.การนาองค์กร
1.1. การนาองค์กร
1.2. ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบ
ต่อสังคม
3.การมุ่งเน้นนักเรียน
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3.1.การรับฟังนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3.2.ความผูกพันของนักเรียน และ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
5.1.สภาพแวดล้อมในการทางาน
5.2.การผูกใจผู้ปฏิบัติงาน
7. ผลลัพธ์
7.1 ด้านการเรียนรู้ของนักเรียน และกระบวนการ
7.2 ด้านการมุ่งเน้นนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
7.3 ด้านการมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน
7.4 ด้านภาวะผู้นาและการนาองค์กร
7.5 ด้านงบประมาณ การเงิน และการตลาด
6.การมุ่งเน้นการดาเนินการ
6.1.การออกแบบระบบงาน
6.2.กระบวนการทางาน
4. การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
4.1การวัด การวิเคราะห์ และการพัฒนาการดาเนินการของโรงเรียน
4.2.การจัดการสารสนเทศ ความรู้ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
บันได ๕ ขั้น …TQA
1
ค่านิยม
หลัก
โรงเรียน
2
สู่ ....โรงเรียน
3
4
ประเมิน
พัฒนา
วัดผล
รู้จุดยืน
ตนเอง
5
โครงร่าง
องค์กร
กระบวนการหลัก
และกระบวนการ
สนับสนุน
7 หมวด : วันนี้...โรงเรียนแข่งขันสูง
ยอดนิยมในพื้นที่ (คาถามเพื่อหาคาตอบ )
กาหนด
6หมวด :หมวด 7 เลิศวิชาการ
ความ
เป็นเลิศ
สื่อสารสองภาษา ล้าหน้าทางความคิด
ผลิตงานสร้างสรรค์ ร่วมรับผิดชอบโลก
ก้าวเดินด้วยวิสัยทัศน์ .ใช้ข้อมูลจริง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความรับผิดชอบสังคม ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้นนักเรียน
มองเชิงระบบ ..... ฐานจุดก้าวเดิน???
การขับเคลื่อน...TQA….สู่ การเพิ่มผลผลิตการศึกษา
วางทิศทาง
ออกแบบ
องค์กร
สร้าง
วัฒนธรรม
ผู้บริหาร
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
Smart
Structure
TQA 1,5
TQA 4.2
TQA 3,6
Successful
Information
Technology
TQA 2,4.1,5
Key
Success
Factors
Systematic
Performance
Measure
Supportive
Organization
Culture
Shared
Vision
TQA 1,6
การเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
และประชาคมโลก
โครงสร้างประชาคมอาเซียนและพันธกรณี
ความเป็นมาและความเกี่ยวข้องด้านการศึกษา
ประชาคม
อาเซียน
(ASEAN
Community)
ประชาคม
การเมืองและ
ความมั่นคง
APSC
พัฒนาการเมือง คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ร่วมมือ
ป้องกันทางทหาร สร้างความมั่นคงอาเซียน
เพื่อความสงบสุข เป็นเอกภาพ และแข็งแกร่ง
ประชาคม
เศรษฐกิจ
AEC
1. ตลาด-ฐานการผลิตเดียว/เสรีการค้า-การลงทุนการเลื่อนไหลของแรงงานฝีมือ
2. ภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน
3. มีการพัฒนาที่เท่าเทียม และ
4. บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ประชาคม
สังคมและ
วัฒนธรรม
ASCC
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สวัสดิการสังคม
ลดความยากจน ส่งเสริมผู้ด้อยโอกาส
สร้างอัตลักษณ์อาเซียน พัฒนาสังคม
ผ่านกรอบอนุภูมิภาค แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ข้อกาหนดสาคัญในกฎบัตรอาเซียน
ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาการทางาน
ข้อเสนอร่วมด้านการเรียนการสอน
พัฒนาการเรียนการสอนด้วย ASEAN Curriculum
ข้อตกลง AEC ด้านการเลื่อนไหลแรงงาน
แรงงานฝีมือ 7 สาขาอาชีพ (วิศวกร/สถาปนิก/ช่างสารวจ
/แพทย์/ทันตแพทย์/พยาบาล/นักการบัญชี) +32 ตาแหน่ง
ยุทธศาสตร์ สพฐ. 2556-2560
1. ยกระดับคุณภาพการเรียนตามหลักสูตรฯ
8 กลุ่มวิชา โดยเน้นวิทย์/คณิต/สังคมศึกษา
2. จัดการเรียนการสอนหลักสูตรร่วมอาเซียนโดย
บูรณาการกับหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
3. กาหนดมาตรฐานคุณภาพผู้เรียนที่สอดคล้องกับ
อาเซียนและศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะการศึกษา
ภาคบังคับ เพื่อประกอบอาชีพในตลาดแรงงาน
4. เพิ่มความเข้มแข็ง/จัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษาในร.ร.
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
1. ยกระดับผลสัมฤทธิ์
และแก้ปัญหาการ
อ่านออกเขียนได้
2. พัฒนายกระดับ
คุณภาพครูและ
บุคลากรที่เกี่ยวข้อง
3. ส่งเสริมการมีส่วน
ร่วมขององค์กร
ภาครัฐและเอกชน
1. ฝึกทักษะการสื่อสารของนร./นศ./ครู/
บุคลากรทางการศึกษา
2. พัฒนาศักยภาพครู/จัดหาครูเจ้าของภาษา
3. พัฒนาการเรียนการสอนในและนอกระบบ
ร.ร./พัฒนาสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
4. ส่งเสริมการเรียนวิชาต่างๆด้วย
ภาษาอังกฤษ
5. สร้างเครือข่ายทั้งในและตปท.
6. กาหนดให้ภาษาอังกฤษใช่ในการสาเร็จ
การศึกษา/เข้าสู่อาชีพ/เลื่อนระดับ
ภาษา ตปท. อื่นๆ
1. พัฒนาการเรียนการสอน
ภาษาจีน ญี่ปุ่น เกาหลี และ
ภาษาอาเซียน
2. พัฒนา/สร้างครูไทย./จัดหาครู
เจ้าของภาษา
3. พัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนให้
แสดงความสามารถทางภาษา
ในเวทีสาธารณะทั้งในและตปท.
1. พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21
2. พัฒนาบุคลากรให้รอบรู้และติดตามความเคลื่อนไหวของอาเซียนและสังคมโลก
3. ใช้คุณสมบัติ 1-2 ประกอบการพิจารณาให้รางวัล/เลื่อนระดับ
1. พัฒนาhardware/software/people-ware
2. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน/เชือ่ มโยงความรู้สากลด้วย ICT
3. ผลิตและส่งเสริมการใช้สื่อความรู้ระบบ digital และ e-learning
1. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันและ
หน่วยงานทั้งในและนอกอาเซียน
2. พัฒนาภาวะผู้นาสาหรับผู้บริหาร/ครู/นร.
• พัฒนางานวิจัยเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
1. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
(ระดับโรงเรียน/ พื้นที่/)
2. ประสานและจัดทาข้อมูลต่างๆเกีย่ วกับทุนวิจัยที่เกีย่ วกับอาเซียน
• จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการอาเซียน
1. จัดตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน
(ระดับสพฐ. และพื้นที่ )
2. พัฒนาวิทยากรแกนนาด้าน ASEAN /
พัฒนาบุคลากรด้านต่างๆ
6.
7.
6.
ด้วยโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ
3. ส่งเสริมกิจกรรมที่สร้างโอกาสให้ นร./ครูได้
แสดงศักยภาพในเวทีระหว่างประเทศ
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์รองรับประชาคมอาเซียน
3. สร้างเครือข่ายการเรียนรู้
4. ประสานและจัดทาข้อมูลต่างๆ
5. ASEAN Watch – กากับติดตาม วิจัย และพัฒนา
40
21th Century Learning
CONNECT
CREATE
● Digital literacy skill
● Communication skill
● Thinking skill
● Problem solving skill
● Creativity & innovation skill
COLLABORATE ● Interpersonal skill
● Teamwork
● Social responsibility
● Accountability
Reference: Partnership for 21st Century Skills
โดยซีมีโอ
● จัดทาแผนการสอนที่ให้สอดคล้องกับ
วิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียน
● สร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้
● พัฒนาและใช้แหล่งการเรียนการสอน
● พัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง
● ส่งเสริมการเรียนรู้
● ยกระดับค่านิยมคุณธรรมจริยธรรม
● พัฒนาทักษะชีวิตและวิชาชีพของผูเ้ รียน
● วัดและประเมินสรรถภาพของผู้เรียน
● มีส่วนร่วมในการพัฒนาวิชาชีพ
● สร้างเครือข่ายกับผู้มีส่วนร่วมต่างๆ
ปรับตัวได้ง่าย
กล้าได้กล้าเสีย
Risk Taker
Adapter
สื่อสารอย่างสร้างสรรค์
Communicator
ร่วมแรงร่วมใจ
Collaborator
เป็นแม่แบบ
Model
เรียนรู้ตลอดชีวิต
Learner
มีวิสัยทัศน์
Visionary
ผู้นา
Leader
Source: Andrew Churches
Communication
Assessment
Diversity
Critical
Thinking
Technology
Continuous
Planning
Improvement
Learning
Knowledge
Environment
Subject matter
Human Development
and Learning
ASEAN Curriculum
1.
2.
3.
4.
5.
Knowing ASEAN
Valuing Identity and Diversity
Connecting Global and Local
Promoting Equity and Justice
Working Together for a Sustainable Future
46