ขบวนการเคลื่อนไหวระดับรากหญ้าในสังคมไทย

Download Report

Transcript ขบวนการเคลื่อนไหวระดับรากหญ้าในสังคมไทย

แนวคิดเกี่ยวกับประชาสังคม
การเมืองภาคประชาชน/ภาคพลเมือง
ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในสังคมไทย
ผศ.ดร.ประภาส ปิ่ นตบแต่ง
ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คาถามสาคัญต่อประเด็นประชาสังคม/การเมืองพลเมือง
1.ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม/กลุ่มองค์กรประชาสังคม/ภาคประชา
สังคมคืออะไร เกิดขึ้นมาภายใต้บริ บทเงื่อนไขทางเศรษฐกิจอย่างไร
ทาไมจึงปรากฏตัวขึ้นมา
2. ประเภทมีลกั ษณะรู ปร่ างหน้าตา รู ปแบบ โครงสร้างองค์กร/เครื อข่าย
ชนิด/ประเภทต่างๆ ฯลฯ อย่างไร :
3.มีบทบาทในสังคมการเมือง มีปฏิสมั พันธ์การปะทะประสาน ต่อระบบ
การเมืองละสังคมอย่างไร
4.การสร้างพลัง อิทธิพล เป็ นอย่างไร สามารถสร้างผลสะเทือนได้มาก
น้อยเพียงใด โดยเฉพาะในมิติของสิ ทธิมนุษยชน
อะไรคือ ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม ประชาสังคม ขบวนการทาง
สังคมใหม่ NSM การเมืองภาคประชาชน ฯลฯ
ไม่สามารถหานิยาม ความหมาย ที่จริ งแท้แน่นอนได้
มีลกั ษณะเป็ น แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ (strategic concept)
การหานิยาม ความหมายจึงต้องพิจารณาจากเงื่อนไข/บริ บทเศรษฐกิจการเมือง ว่าเกิดและพัฒนาการขึ้นมาเพราะอะไรและอย่างไร
ประเด็นทาความเข้าใจเบื้องต้น
คา วลีพ้นื ฐานที่ควรทาความเข้าใจ
NGO
Non-Governmental Organization
 ประชาสังคม Civil Society
การเมืองภาคประชาชน /การเมืองภาคพลเมือง
ขบวนการทางสังคม/ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม
Social Movement
ประชาสังคม civil society
เวทีแห่งชีวิตสังคมที่มีการจัดตั้งขึ้นเองเป็ นเอกเทศจากรัฐ และนอกเวที
ทางการเมือง อันเป็ นที่ซ่ ึงกลุ่มและผูก้ ระทาการทางสังคม วัฒนธรรม
เศรษฐกิจที่หลากหลาย มาแสดงตนร่ วมกันเพื่อ
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและความคิด
สร้างเอกลักษณ์ความผูพ้ นั และความเชื่อร่ วม
มุ่งสู่ จุดหมายร่ วมและพิทกั ษ์หรื อเพิม่ พูนผลประโยชน์ของกลุ่ม
โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสาธารณะ และเข้าไปสัมพันธ์กบั รัฐทางใดทางหนึ่ง แต่ไม่มุ่งยึด
อานาจรัฐ
ภาครัฐ
การเมือง
ภาคธุรกิจ
ภาคประชาสังคม
/ภาคพลเมือง
Uncivil –Civil Society
ฝูงชน (Crowd)
เครื อข่ายเจ้าพ่อ
องค์กรสาธารณกุศล
ฯลฯ
ประชาสังคม
Civil Society
กลุ่มผลประโยชน์
กลุ่มผลักดัน
ขบวนการทางสังคม
เครื อข่ายทางสังคม
องค์กรชุมชน
บริ บทการเกิดขึ้นของแนวคิดประชาสังคม/การเมืองภาคพลเมือง
การล่มสลายของสังคมนิยมในยุโรปตะวันออก ขบวนการปฏิวตั ิ และ
การปรากฏตัวของขบวนการทางสังคมแบบใหม่
ความขัดแย้งใหม่ๆ ในสังคมยุคหลังอุตสาหกรรม (ค่านิยมใหม่/โลกชีวิต
ใหม่ สิ่ งแวดล้อม สงคราม/สันติภาพ เพศสภาพ ฯลฯ)
ข้อจากัดและความไม่เพียงพอของประชาธิปไตยแบบตัวแทน
หลักการพื้นฐานของประชาธิปไตย
“การปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อ
ประชาชน”
หลักการ/ปรัชญาพื้นฐาน
-อานาจอธิปไตยเป็ นของปวงชน
-หลักการเรื่ องสิ ทธิ เสรี ภาพ เสมอภาค
-หลักการปกครองโดยอาศัยกฎหมาย (rule of law)
ประชาธิปไตยทางตรง (Direct Democracy)
-ใช้รูปแบบ กลไกการมีส่วนโดยตรง รู ปแบบสภาประชาชนของกรี ก
โบราณ ฯลฯ
ประชาธิปไตยแบบตัวแทน (Representative
Democracy)
-พัฒนาขึ้นในบริ บทของสังคมทุนนิยมอุตสาหกรรม
-ใช้กระบวนการเลือกตั้งเลือกตัวแทน (ระบบรัฐสภา และระบบ
ประธานาธิบดี)
- พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ เป็ นกลไกในการรวบรวมผลประโยชน์
ของประชาชนสู่การตัดสิ นใจในระบบการเมือง
ประชาธิปไตยแบบตัวแทนกับกลไกการมีส่วนร่ วม
พรรคการเมือง
กระบวนการเลือกตั้ง
กลุ่มผลประโยชน์/กลุ่มผลักดัน
การล็อบบี้ ความสัมพันธ์กบั พรรคการเมืองและนักการเมือง
ฯลฯ
ความไม่เพียงพอของประชาธิ ปไตยแบบตัวแทนและการปรากฏตัวของ
ประชาสังคมในสังคมไทย
 เหตุใดจึงไม่ เพียงพอ ?????
-ปัญหา ความต้ องการ ความขัดแย้ งใหม่ ๆ ในสังคมการเมือง ซึ่งปชต.แบบตัวแทนมีข้อจากัด
-ความจากัดของรัฐในการจัดการชีวติ สาธารณะ การทามาหากิน ฯลฯ
 การยืดขยาย และผสมผสานระหว่างประชาธิปไตยแบบตัวแทน กับประชาธิปไตยทางตรงและการมีส่วนร่ วมในมิติ
อืน่ ๆ
-ประชามติ ประชาพิจารณ์ การเสนอร่ างกฎหมายโดยประชาชน ฯลฯ
-การถอดถอนผู้บริหาร นักการเมือง ตัวแทนหรือผู้แทน
-การจัดการชีวติ สาธารณะกันในรูปแบบประชาสังคม (ระบบงบประมาณแบบมีส่วนร่ วม สภาองค์กรชุมชน ฯลฯ)
ภาคประชาสังคม/การเมืองภาคประชาชนเกิดขึ้นในบริ บททางเศรษฐกิจ
การเมืองอย่างไรในสังคมไทย
ปรากฏการณ์ที่นามาสู่ “ประชาสังคม” “การเมืองภาคประชาชน”
“การเมืองภาคพลเมือง”
-การเดินขบวน เรี ยกร้องของชาวบ้านในชุมชนท้องถิ่นต่างๆ ช่วงครม.
สัญจรยุครัฐบาลพลเอกชาติชาย
- ปริ มาณการชุมนุมประท้วงของประชาชนในสังคมที่เพิม่ ขึ้นอย่าง
รวดเร็ ว (รัฐบาลชวนฯ ปี 2537/38 จานวน 754 ครั้ง/ปี )
-ปัญหาทุจริ ต คอรัปชัน และการเคลื่อนไหวของสังคมในการตรวจสอบ
อานาจ และกระแสการปฏิรูปการเมือง
-ฯลฯ
พัฒนาการจากมิติกระบวนการจรรโลงประชาธิปไตย
บริ บททางเศรษฐกิจ-การเมือง : ปัญหาและข้อจากัดของประชาธิปไตย
แบบตัวแทน
-สภาวะหนึ่งรัฐสองสังคม (สภาพความเหลื่อมล้ าในสังคม การเข้าถึง
ครอบครองทรัพยากร ฯลฯ)
-ปัญหาและข้อจากัดของประชาธิปไตยแบบตัวแทนหรื อการเมืองแบบ
ปกติ ปัญหาการใช้อานาจรัฐโดยขาดฉันทานุมตั ิจากประชาชน
-ปัญหาประชาธิปไตยที่ไร้ประชาธิปไตย และการปรากฏตัวของรัฐตลาด
(เสกสรร ประเสริ ฐกุล, 2547)
นิยาม ความหมายประชาสังคม (ดู Larry Diamond และบทความ อ.พฤทธิสาณ)

๑.
๒.
๓.
๔.
ตัวบ่งชี้ความเป็ นประชาสังคม
การเข้าร่ วมองค์กรประชาสังคมอย่างสมัครใจ
ต้องดาเนินการอย่าง CIVIL บนฐานของสันติวิธี
กระทาการในเวทีสาธารณะ
อยูบ่ นพื้นฐานการปกครองโดยหลักนิติธรรม
บริ บททางเศรษฐกิจ-การเมืองที่นามาสู่การปรากฏตัวของ
ประชาสังคมในสังคมไทย
 การนาเข้ าแนวคิดจากตะวันตกเพือ่ มาสร้ างแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ โดยองค์กร
พัฒนาภาคเอกชน(NGO) (การวิเคราะห์ ในบทความ อ.พฤทธิสาณ)
 -การเติบโตของNGO ทีท่ างานพัฒนาชนบท
-การขยายตัวช่ วง 2523-2528
-ช่ วงกระแสสิ่ งแวดล้อมนิยม 2529-39
-NGO ด้ านประชาธิปไตยและสิ ทธิมนุษยชนช่ วงตั้งแต่ 2529/30
แนวคิดประชาสังคมในสังคมไทย (ดูบทความ อ.พฤทธิสาณ)
๑.แบบชุมชนเข้มแข็ง เบญจภาคี ประชาคม
๒.แบบเสรี นิยม
๓.ประชาสังคมแบบขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรู ปแบบใหม่
ตัวอย่างประชาสังคมแบบเบญจภาคี ประชาคม/ประชารัฐ
ประชาสังคมด้านสาธารณสุ ข (สมัชชาสุ ขภาพ ชมรมสุ ขภาพ แพทย์
พื้นบ้าน ชมรมอาหารปลอดสารพิษ ฯลฯ)
ประชาคมเมือง CIVIC-NET (เมืองน่าอยู-่ หน้าบ้านหน้ามอง
ฯลฯ)
ชุมชนเข้มแข็ง (กลุ่ม/องค์กรชาวบ้านต่างๆ )
ฯลฯ
พื้นที่ทางการเมืองใหม่และการมีส่วนร่ วมในระดับท้องถิ่น
การปกครองท้องที่
การปกครองส่ วนท้องถิ่น
-มหาดไทย จังหวัด นายอาเภอ
-เทศบาล อบต.
ผูใ้ หญ่บา้ นกานัน
“นักเลือกตั้งระดับท้องถิ่น”
-ส่ วนราชการอื่นๆ
ชุมชน
กลุ่ม/องค์กรชาวบ้านต่างๆ
ประชาสั งคมแบบเสรีนิยม
(อเนก เหล่าธรรมทัศน์ )
- กลุ่ม/ชุ มชน ทีม่ ีกจิ กรรมหรือ
เคลือ่ นไหวอยู่ระหว่ างรัฐกับ
ปัจเจกชน
- ประกอบด้ วยกลุ่ม
ผลประโยชน์ กลุ่มผลักดัน
สมาคมวิชาชีพ ฯลฯ
-เกิดขึน้ ในเมือง
*(ต่ างจากแนววัฒนธรรมชุมชน)
ประชาสังคมแบบขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม
การรวมกลุ่มก้อนที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อปรับความสัมพันธ์ทางอานาจกับ
ภาครัฐ-ภาคธุรกิจ
 มีลกั ษณะขัดแย้ง /เคลื่อนไหวต่อสู ้ มากกว่ามิติแสวงหาความร่ วมมือ
ทางานร่ วมกันแบบภาคี
(ตัวอย่างเช่น ขวนการซาปาติสต้า สมัชชาคนจน? ฯลฯ)
ภาพรวมของขบวนการประชาชนในสังคมไทย :
ประชาสังคมแบบขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม(ใหม่)
ขบวนการเคลื่อนไหวระดับรากหญ้าในชนบท
-เกษตรกรรายย่อย ฯลฯ
-คนจน คนด้อยอานาจ ด้อยโอกาส/ คนชายขอบของสังคม
ขบวนการเคลื่อนไหวต่อต้านโลกาภิวตั น์
ขบวนการเคลื่อนไหวในเมือง
1.ขบวนการของคนจนเมือง (ขบวนการแรงงาน คนสลัม ฯลฯ)
2. ขบวนการเคลื่อนไหวในมิติประชาธิปไตย
3.ขบวนการเคลื่อนไหวด้านอัตตลักษณ์ (มิติเพศสภาพ ฯลฯ)
การสร้างอานาจ อิทธิพล ของประชาสังคม
การทาความเข้าใจต้องแยกแยะตามประเภทของประชาสังคม
ประชาสังคมแบบเบญจภาคี/ประชาคม ฯลฯ เน้นการสร้างความร่ วมมือ
ระหว่างภาคส่ วนต่างๆ การสร้างความสมานฉันท์
ประชาสังคมแบบกลุ่มผลประโยชน์/กลุ่มผลักดัน หัวใจคือการเมืองแบบ
ล้อบบี้ (ดูตารางถัดไป)
การเมืองใหม่ VS การเมืองแบบเก่า
ประเด็นหลัก
1.รากเหง้ า
ปัญหาความ
ขัดแย้งทาง
สั งคม
2.พืน้ ที่การ
ต่ อสู้ ทาง
การเมือง
3.จุดหมาย
4. รู ปแบบ
องค์ กร
การเมืองใหม่ (NSM)
/ขบวนการประชาสั งคม
-ปั ญหาสังคมหลังสมัยใหม่/
อุตสาหกรรม
(สงคราม สันติภาพ อัตลักษณ์ ฯลฯ
การเมืองเก่า
การเมืองแบบ
-ปัญหาสังคมทุน
นิยมอุตสาหกรรม
-ปัญหาสังคมท
นิยมอุตสาหก
-พื้นที่ทางการเมืองใหม่ๆที่ไม่ผา่ น
การเมืองปกติ
-กลไก
-สงครามประ
ประชาธิปไตยแบบ
ตัวแทน
-ความเป็ นธรรมทาง -ยึดอานาจรัฐ
สังคม
-กลุ่มผลประโยชน์ -พรรคคอมมิว
-มุ่งเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง
ค่านิยม
-ขบวนการเคลื่อนไหว /องค์กรแบบ
เครื อข่าย
คาขวัญสมัชชาคนจน
“เราคนจน ไม่มีเกียรติ ไม่มีศกั ดิ์ศรี
เราไม่มีคาพูดที่น่าเชื่อถือ
เราไม่มีเงิน อาวุธก็ไม่มี
เราคนจน เราจึงมีแต่ “ตีน” เท่านั้น
เราต้องมารวมกันมากๆ ใช้การชุมนุมบนท้องถนนเป็ นอาวุธ
...เป็ นโรงเรี ยนของคนจน
พี่นอ้ งคนจนทั้งผองต้องสามัคคีกนั ”
(มีนาคม ๒๕๔๐ ทาเนียบรั ฐบาล)
ยุทธวิธีการเคลื่อนไหวของประชาสังคมแบบ
ขบวนการทางสังคมใหม่
“ยุทธวิธีขดั ขวางระบบปกติ” (disruptive tactics) อันได้แก่
การกระทาการระดมมวลชนและผูส้ นับสนุน (mass
mobilization) การสร้างอัตลักษณ์ร่วม (collective
identity) ของผูค้ นในขบวนการ หรื อการสร้างเหตุการณ์การ
ชุมนุมประท้วง ฯลฯ การสร้างอานาจและอิทธิพลผ่านวิธีการดังกล่าว
นี้จึงเกิดขึ้นนอกพื้นที่และช่องทางระบบการเมืองปกติ
พรรคการเมือง
กลุ่มผลประโยชน์
ขบวนการ
ทางสังคม
สิ่อมวลชน
ระบบการเมืองการบริหาร
(MASS MEDIA)
กลไกควบคุม
สาธารณชน
(PUBLIC)
ผู้เห็นอกเห็นใจ,
ให้การสนับสนุน, เข้าร่วม
ผู้เฝามองกลางๆ
(BYSTANDERS)
ายต่อต้าน (COUNTERMOVEMENTS)
อารยะขัดขืนคืออะไร
Civil Disobedience (John Rawls) หมายถึง การกระทาทาง
การเมืองซึ่งมีลกั ษณะเป็ นสาธารณะ (Public) สันติวิธี
(nonviolent) และมีมนโนสานึกที่ขดั ต่อกฎหมาย ปกติเป็ นสิ่ งที่
ทาโดยมุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกาหมายหรื อในนโยบายของรัฐ
-มุ่งเปลี่ยนแปลงนโยบายหรื อกฎหมายที่ไม่เป็ นธรรม VS การเปลี่ยน
ระบอบการปกครอง/แย่งชิงอานาจรัฐ
-ยอมรับความผิดต่อกาหมาย แต่มุ่งใช้กระทาการเพื่อปลุกมโนสานึก
อย่างมีมโนสานึก สันติวิธี เพื่อสิ่ งที่สร้างสิ่ งที่อารยะกว่า
คุณลักษณะของอารยะขัดขืน
(John Rawls)
1.เป็ นการละเมิดต่อกฎหมาย หรื อตั้งใจจะละเมิดต่อกฎหมาย
2.ใช้สันติวิธี
3.เป็ นกระทาการสาธารณะโดยแจ้งให้ฝ่ายรัฐรับรู ้ล่วงหน้า
4.เต็มใจที่จะรับผลทางกฎหมายของการละเมิดกฎหมายที่ได้กระทา
5.มุ่งการเปลี่ยนแปลงนโยบายหรื อกฎหมาย
6.มุ่งเชื่อมโยงกับมโนสานึกของผูค้ นในสังคม
7.มุ่งเชื่อมโยงกับสานึกแห่งความยุติธรรมซึ่งโดยหลักแล้วเป็ นส่ วนหนึ่ง
ของกฎหมายและสถาบันทางสังคม
ผลสะเทือนที่เกิดขึ้นจากการขับเคลื่อนโดยภาคประชาสังคมใน 2-3
ทศวรรษที่ผา่ นมา : ข้อสังเกตเบื้องต้นเพื่ออภิปรายถกเถียง
การสร้างและจรรโลงประชาธิปไตยที่ขยายมากไปกว่าประชาธิปไตย
แบบตัวแทน (ประเด็นเรื่ องสิ ทธิชุมชน การสร้างการมีส่วนร่ วมของ
ประชาชน ให้เกิดช่องทาง กลไกมากยิง่ ขึ้น ฯลฯ
การสร้างกระบวนการนโยบายสาธารณะที่ดี ทั้งมิติเนื้อหาและ
กระบวนการเชิงนโยบาย (รัฐธรรมนูญ หมวด 5 ,มาตรา 67 (2) ฯลฯ)
การขยายพื้นที่ในการจัดการชีวิตสาธารณะของผูค้ นอย่างกว้างขวาง เกิด
การถ่ายโอนทรัพยากร งบประมาณ มาสู่ชุมชน ฯลฯ