การจัดหมวดหมู่หนังสือ (Book Classification)

Download Report

Transcript การจัดหมวดหมู่หนังสือ (Book Classification)

ื
การจ ัดหมวดหมูห
่ น ังสอ
(Book Classification)
การจ ัดทร ัพยากรสารสนเทศ
ห้ องสมุดหรือศูนย์ สารนิเทศ จะมีสารสนเทศหลาย
ชนิด ทัง้ วัสดุตพ
ี มิ พ์ Printed Materials และวัสดุไม่ ตีพมิ พ์
Non-print Materials สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ จึงจาเป็ นต้ องมีระบบ
ในการจัดหมวดหมู่ ทรัพยากรสารสนเทศ ต่ าง ๆ
ให้ เป็ นระเบียบเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการ
ค้ นหาและการจัดเก็บ
ื
การจ ัดหมวดหมูห
่ น ังสอ
• การแยกประเภทสารสนเทศตาม
สาขาวิชากว้างๆ
• เล่มที่มีเนื้อหาเหมือนกัน /
ใกล้เคียงกัน จะจัดไว้กลุ่มเดียวกัน
• เกิดความสะดวก รวดเร็ วในการ
ค้นหาและจัดเก็บ
• มีการกาหนดสัญลักษณ์ ตัวเลข
ตัวอักษร
ระบบการจัดหมวดหมู่
• ระบบการจัดหมูห่ นังสือที่สาคัญและรู้จกั กันแพร่หลายมีหลายระบบ
สาหรับประเทศไทยทีนิยมใช้ มี 2 ระบบ คือ
1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั L.C.
(Library of congress Classification)
2. ระบบทศนิยมดิวอี ้ D.D.C.หรื อ D.C.
(Dewey Decimal Classification)
ความแตกต่างระหว่างระบบดิวอีแ
้ ละ LC
ก-ฮ
• กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธนบปผฝพฟภ
มยรลวศษสหฬอฮ
• http://youtu.be/KhUTOV24BS4
• ABCDEFGHIJKLMNOPQRST
UVWXYZ
• http://youtu.be/PrWJ-rC4YQc
ระบบหอสมุดร ัฐสภาอเมริก ัน L.C.
• ใช้ สัญลักษณ์ ท่ เี ป็ นตัวอักษรและตัวเลขเป็ นสัญลักษณ์ แบบผสม
โดยใช้ อักษรโรมันตัวใหญ่ A - Z ยกเว้ น I O W X Y รวม 21 ตัวและ
เลขอารบิก 1-9999
• การแบ่ งครัง้ แรกแบ่ งหมวดใหญ่ (Main classes) ใช้ อักษรตัวเดียว
• การแบ่ งครัง้ ที่สองนาแต่ ละหมวดมาแบ่ งเป็ นหมวดรอง
(Subclasses) โดยใช้ อักษร 2-3 ตัว
• ครัง้ ที่สามเป็ นการแบ่ งหมวดรองออกไปอย่ างละเอียดเป็ นหมวด
ย่ อย (Division) โดยใช้ เลขอารบิกเรียงตามลาดับจาก 1-9999
ระบบหอสมุดร ัฐสภาอเมริก ัน L.C.
การแบ่ งครัง้ ที่ 1 แบ่ งเป็ นหมวดต่ าง ๆ 20 หมวด โดยใช้ ตัวอักษร
21 ตัว ดังนี ้
A
B
C
D
General Works เรื่องทั่วไป ความรู้ ท่ วั ไป
Philosophy. Psychology. Religion ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา
Auxiliary Science of History สาขาวิชาที่เสริมประวัตศิ าสตร์
History : General and Old World ประวัตศิ าสตร์ ท่ วั ไป ประวัตศิ าสตร์ ประเทศต่ าง
ๆ ยกเว้ นอเมริกา
E-F History : America ประวัตศิ าสตร์ อเมริกา
G Geography. Anthropology. Recreation ภูมศิ าสตร์ มนุษยวิทยา นันทนาการ
ระบบหอสมุดร ัฐสภาอเมริก ัน L.C.
H
J
K
L
M
N
P
Q
Social Sciences สังคมศาสตร์
Political Sciences รัฐศาสตร์
Law กฎหมาย
Education การศึกษา
Music and Book on Music ดนตรี
Fine Arts ศิลปะ
Philology and Linguistics ภาษาศาสตร์ และ วรรณคดี
Science วิทยาศาสตร์
ระบบหอสมุดร ัฐสภาอเมริก ัน L.C.
R
S
T
U
V
Z
Medicine การแพทย์
Agriculture การเกษตร
Technology เทคโนโลยี
Military Science การทหาร
Naval Science การทหารเรือ
Bibliography. Library and Information Science
บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์
ระบบหอสมุดร ัฐสภาอเมริก ัน L.C.
การแบ่ งครั ง้ ที่ 2
B ปรัชญา
BC
BD
BF
BH
BJ
BL
BM
ตรรกวิทยา
ปรัชญาพยากรณ์
จิตวิทยา
สุนทรียศาสตร์
จริยศาสตร์
ศาสนาต่ าง ๆ
ศาสนายิว
BP
BQ
BR
BS
BT
BV
BX
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาพุทธ
ศาสนาคริสต์
คัมภีร์ไบเบิล
เทววิทยาเชิงคริสตศาสตร์
เทววิทยาภาคปฏิบตั ิ
คริสต์ ศาสนานิกายต่ าง ๆ
ระบบหอสมุดร ัฐสภาอเมริก ัน L.C.
N ศิลปกรรม
N
NA
NB
NC
ND
NE
NK
NX
ทัศนศิลป์
สถาปั ตยกรรม
ประติมากรรม
การวาดเขียน การออกแบบ การจัดทาภาพประกอบ
จิตรกรรม
สื่อสิ่งพิมพ์
มัณฑณศิลป ประยุกต์ ศิลป
ศิลปโดยทัว่ ไป
ระบบหอสมุดร ัฐสภาอเมริก ัน L.C.
การแบ่ งครัง้ ที่ 3
Q
วิทยาศาสตร์
QA
คณิตศาสตร์
QA101-141.8 คณิตศาสตร์
QA150-271 พีชคณิต
QA273-28 ความน่ าจะเป็ น
สถิติ
QA276
สถิตศิ าสตร์
QA276.A2
QA276.14
QA276.2
QA276.25
ตารา
พจนานุกรม
แบบฝึ กหัด แบบทดสอบ
คู่มอื ตาราง
ระบบทศนิยมดิวอี้ D.C./D.D.C.
ระบบทศนิยมดิวอี ้
(Dewey Decimal Classification) D.C./D.D.C.
เมลวิล ดิวอี ้ (Melvil Dewey)
ค.ศ. 1876
ระบบทศนิยมดิวอี้ D.C./D.D.C.
• ดิวอีใ้ ช้ ตัวเลขสามหลักเป็ นสัญลักษณ์ ในการแบ่ ง
หมวดหมู่หนังสือ โดยแบ่ งหนังสือออกเป็ น 10 หมวดใหญ่
• แต่ ละหมวดใหญ่ แบ่ งออกเป็ น 10 หมวดย่ อย
• แต่ ละหมวดย่ อยแบ่ งออกเป็ น 10 หมู่ย่อย
• ในแต่ ละหมู่ย่อยแบ่ งออกเป็ นจุดทศนิยม
ระบบทศนิยมดิวอี้ D.C./D.D.C.
การแบ่ งครั ง้ ที่ 1 10 หมวดใหญ่
000 เบ็ดเตล็ด
100 ปรั ชญา
200 ศาสนา
300 สังคมศาสตร์
400 ภาษา
500 วิทยาศาสตร์
600
700
800
900
วิทยาศาสตร์ ประยุกต์
หรื อเทคโนโลยี
ศิลปกรรม/นันทนาการ
วรรณคดี
ประวัตศิ าสตร์
ระบบทศนิยมดิวอี้ D.C./D.D.C.
การแบ่ งครั ง้ ที่ 2 10 หมวดย่ อย
300
310
320
330
340
สังคมวิทยา
สถิติ
รัฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
กฎหมาย
350
360
370
380
390
รัฐประศาสนศาสตร์
สั งคมสงเคราะห์
การศึกษา
การค้ าและการคมนาคม
ขนบธรรมเนียมประเพณี
คติชนวิทยา
ระบบทศนิยมดิวอี้ D.C./D.D.C.
การแบ่ งครั ง้ ที่ 3 10 หมู่ย่อย
370 การศึกษา
371 ระบบโรงเรี ยน
372 การประถมศึกษา
373 การมัธยมศึกษา
374 การศึกษานอกระบบ
375
376
377
378
379
หลักสูตร
การศึกษาสาหรั บสตรี
โรงเรี ยนและศาสนา
การอุดมศึกษา
การศึกษากับรั ฐ
ระบบทศนิยมดิวอี้ D.C./D.D.C.
การแบ่ งครัง้ ที่ 4 จุดทศนิยม
640 คหกรรมศาสตร์
641 อาหารและเครื่ องดื่ม
641.1 โภชนาการ โปรตีน คาร์ โบไฮเดรต ไขมัน นา้ ดื่ม แร่
ธาตุ วิตามิน
641.2 เครื่ องดื่มผสมแอลกอฮอล์ สุรา ไวน์
641.3 อาหารและเครื่ องดื่มบริโภค
ระบบทศนิยมดิวอี้ D.C./D.D.C.
641.3 อาหารและเครื่ องดื่มบริโภค
641.31 ความรู้ สาหรั บผู้บริโภค
641.33 อาหารประเภทพืช ผัก
641.36 อาหารประเภทเนือ้ สัตว์
641.37 อาหารประเภท นม เนย
ระบบทศนิยมดิวอี้ D.C./D.D.C.
การแบ่ งครัง้ ที่ 4 จุดทศนิยม
790 นันทนาการ
796 กีฬากลางแจ้ ง
796.1 กีฬาเบ็ดเตล็ด
796.3 กีฬาที่ใช้ ลูกบอล
796.31
แฮนด์ บอล
796.323
บาสเกตบอล
796.325
วอลเลย์ บอล
ื (Call Number)
เลขเรียกหน ังสอ
สัญลักษณ์ ท่ หี ้ องสมุดกาหนดให้ กับหนังสือแต่ ละเล่ ม
ซึ่งประกอบด้ วยส่ วนสาคัญ ๆ 3 ส่ วน คือ
• เลขหมู่หนังสือ (class number)
• เลขผู้แต่ ง (author number)
• อักษรตัวแรกชื่อผู้แต่ ง
• เลขประจำตัวผู้แต่ ง
• อักษรชื่อเรื่อง (workmark)
ื (Call Number)
เลขเรียกหน ังสอ
1. เลขหมู่หนังสือ เป็ นสัญลักษณ์ ท่ กี าหนดขึน้ แทนเนือ้ หา
สาระของหนังสือ ซึ่งการกาหนดสัญลักษณ์ ดังกล่ าวอาจจะแตกต่ าง
กันไปตามระบบการจัดหมู่หนังสือ
2. เลขผู้แต่ ง เป็ นสัญลักษณ์ ประกอบด้ วยตัวอักษรและ
ตัวเลข ตัวอักษรตัวแรกได้ มาจากชื่อผู้แต่ งหรือชื่อที่ใช้ เป็ นรายการ
หลัก
3. อักษรชื่อเรื่อง เป็ นสัญลักษณ์ ท่ ไี ด้ มาจากพยัญชนะตัว
แรกของชื่อหนังสือ
ื (Call Number)
เลขเรียกหน ังสอ
ตัวอย่ าง
020
ร214
ส
020
ร214ส
คือ เลขหมู่หนังสือระบบทศนิยมดิวอี ้ แสดงให้ ทราบว่ าเป็ น
หนังสือที่มีเนือ้ หาเกี่ยวกับบรรณารั กษศาสตร์ และสารนิเทศ
ศาสตร์
คือ เลขผู้แต่ งของ รั ถพร
คือ พยัญชนะตัวแรกของชื่อเรื่ อง สารนิเทศและการศึกษาค้ นคว้ า
ื (Call Number)
เลขเรียกหน ังสอ
025.56
พ172ส
เลขหมู่
เลขผู้แต่ ง
DS
568
ม142ป
ั
สญล
ักษณ์อน
ื่ ๆ
น หรือ Fic
รส หรือ SC หรือ SS
อ หรือ R หรือ Ref
บ หรือ CL
ล หรือ V
ฉ หรือ C
นวนิยาย (Fiction)
เรื่องสัน้ (Short Story Collection)
อ้ างอิง (Reference)
แบบเรียน (Curriculum Laboratory)
เล่มที่ (Volume)
ฉบับที่ (Copies)
ั
สญล
ักษณ์อน
ื่ ๆ
อ
103
ก237ส
R
510.78
S619C
บ
001.4
ฉ214ร
025.56
P172S
V.1 C.5
น
ป246พ
ล.1 ฉ.2
รส
ก432ข
ล. 1 ฉ.5
เลขเรียกในบ ัตรรายการ
028
ศ173ก
ศรีรัตน์ เจิงกลิน่ จันทร์
กำรอ่ ำนและกำรสร้ ำงนิสัยรักกำรอ่ ำน / ศรีรัตน์ เจิงกลิน่ จันทร์ .-พิมพ์ครั้งที่ 4.-- กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนำพำนิช, 2542.
181 หน้ ำ ; 24 ซม.
ISBN 974-08-4664-5 : 165 บำท
1. หนังสื อและกำรอ่ ำน. 2. ชื่อเรื่อง.
เลขเรียกในระบบ OPAC
ื
การจ ัดเรียงหน ังสอ
1. เรียงตามลาดับเลขหมู่จากน้ อยไปหามาก จาก
ซ้ าย ไปขวา จากบนลงล่ าง
2. ถ้ าเลขหมู่ซา้ กันจะเรี ยงตามลาดับเลขผู้แต่ ง
3. ถ้ าเลขหมู่เหมือนกันเลขผู้แต่ งเหมือนกันให้
เรียงตามลาดับชื่อเรื่อง
ื
การจ ัดเรียงหน ังสอ
4. ถ้ าผู้แต่ งคนเดียวกันชื่อเรื่องเดียวกันให้ เรียง
ตามลาดับปี ที่พมิ พ์ โดยเอาปี ล่ าสุดเรียงไว้ ก่อน
5. ถ้ าปี พิมพ์ เหมือนกันเรียงตามลาดับเล่ มที่ (V)
6. ถ้ าเล่ มที่เหมือนกันเรียงตามลาดับฉบับที่ (C)
ื ต่อไปนีต
้ ามหล ักเกณฑ์การ
จงเรียงเลขเรียกหน ังสอ
ั้
ื บนชน
เรียงหน ังสอ
1.
2.
3.
4.
5.
495.91
ค436พ
789.95
F29A
603.98
ง325ป
239.04
L13O
106.58
Ap18Ed
495.91 495.93 495.93
ก436ด ณ593ง ถ847ช
798.98 790.78 789.78
F29C K183F K597E
603.94 603.94 603.94
ญ143ง ง328ฉ ฐ143ศ
239.04 239.04 239.04
Me489E La498W La598G
106.58 187.53 187.53
Ap19E X462Ae X462Ay
การจ ัดเรียงวารสาร
จัดเรียงตามลาดับตัวอักษรของชื่อวารสารจาก ก- ฮ หรื อ AZ เช่ น
•
•
•
•
กสิกร
การเงินการธนาคาร
กุลสตรี
ขวัญเรือน
•
•
•
คอมพิวเตอร์
คู่แข่ ง
เคหะการเกษตร
ื พิมพ์
จ ัดเรียงหน ังสอ
โดยทั่วไปห้ องสมุดจะจัดหนังสือพิมพ์ ใส่ ไม้ หนีบ
แขวนไว้ ท่ แี ท่ นวางหนังสือพิมพ์ อาจแยกเป็ นฉบับปั จจุบัน
และฉบับย้ อนหลัง 1 วัน
การจ ัดเรียงจุลสารและกฤตภาค
• จุลสารและกฤตภาค ไม่ สามารถนาไปจัดเรียงได้
เช่ นเดียวกับหนังสือ โดยทั่วไป
• ห้ องสมุดจะจัดเก็บโดยกาหนดหัวเรื่อง แล้ วจัดเรียงไว้ ใน
แฟ้มแขวน เรียงตามลาดับตัวอักษรของหัวเรื่อง เช่ น
การศึกษา
การศึกษา - - การบริหาร
การศึกษา - - การปฏิรูป
การศึกษา - - การวิจัย
การศึกษากับสังคม
การจ ัดเรียงว ัสดุไม่ตพ
ี ม
ิ พ์
วัสดุไม่ ตีพมิ พ์ มีหลายประเภท
• ห้ องสมุดโดยทั่วไปนิยมจัดเก็บโดยแยกประเภท
• แล้ วกาหนดสัญลักษณ์ แทนวัสดุแต่ ละประเภทแล้ ว
จัดเรียงตามลาดับเลขทะเบียน
• เวลาต้ องการใช้ ผู้ใช้ จะเป็ นคนเลือกรายการต่ าง ๆ
จากสมุดทะเบียนรายชื่อแล้ วเจ้ าหน้ าที่ผ้ ูให้ บริการจะ
เป็ นผู้หยิบให้
•
ั
สญล
ักษณ์ทก
ี่ าหนดแทน
ประเภททร ัพยากร
CT
PT
PD
VC
CD
MA
F
MF
SL
แถบบันทึกเสียงชนิดตลับ
แถบบันทึกเสียงชนิดม้ วน
แผ่ นเสียง
วีดทิ ศั น์
ซีดี
แผนที่
ภาพยนตร์
ไมโครฟิ ล์ ม
สไลด์
Cassette Tape
Phonotape
Phonodisc
Video Cassette Tape
Compact Disc
Map
Film
Microfilm
Slide
ต ัวอย่างการเรียงว ัสดุไม่ตพ
ี ม
ิ พ์
CT00001
CT00002
CT00003
CT00004
CT00005
CT00006
CT00007
SL00001
SL00002
SL00003
SL00004
SL00005
SL00006
SL00007
แบบฝึ กหัด 1
จงบอกตาแหน่ งที่ตัง้ ของวัสดุและการให้ บริการของสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงใหม่
1. บริ การสืบค้ นด้ วยคอมพิวเตอร์
2. บริ การจ่ายรับหนังสือทัว่ ไป
3. ติดต่อขอใช้ วารสารล่วงเวลา จุลสาร
กฤตภาค
4. บริ การหนังสือจอง
5. บริ การจองหนังสือทัว่ ไป
6. บริ การโสตทัศนวัสดุ
7. บริ การเกี่ยวกับบัตรสมาชิกห้ องสมุด
8. แจ้ งหนังสือหาย
9. วารสารฉบับปั จจุบนั
10. วารสารล่วงเวลา
11. วารสารเย็บเล่ม
12. ดรรชนีจลุ สาร
13. ยืมหนังสือนวนิยาย
14. ดรรชนีกฤตภาค
15. บัตรรายการ
16. หนังสือทัว่ ไปภาษาไทยหมวด
000-500
17. หนังสือทัว่ ไปภาษาไทยหมวด
600-900
18. หนังสืออ้ างอิงภาษาอังกฤษ
19. หนังสืออ้ างอิงภาษาไทย
20. หนังสือวิจยั วิทยานิพนธ์
21. หนังสือทัว่ ไปภาษาอังกฤษหมวด
000-900
22. หนังสือหลักสูตร แบบเรี ยน
ระดับประถม-มัธยม
23. หนังสือเด็ก
24. โสตทัศนวัสดุ เช่น สไลด์ วิดีโอ
25. หนังสือพิมพ์ฉบับปั จจุบนั
26. หนังสือพิมพ์ที่ลว่ งเวลามาแล้ ว
ตังแต่
้ 3 วัน
27. หนังสือนวนิยาย
แบบฝึ กหัด 2
• จงเดินไปหยิบหนังสือที่อยูใ่ นหมวดหมูต่ ามสาขาวิชาของตนเอง
• ซีรอกซ์ หน้ าปกใน
• และเขียนข้ อมูลลงในกระดาษ
– เลขเรียกหนังสือ
–
–
–
–
–
ชื่อหนังสือ
ชื่อผู้แต่ง
ครัง้ ที่พิมพ์
สถานที่พิมพ์
ปี ที่พิมพ์