No Slide Title

Download Report

Transcript No Slide Title

หลักสู ตร
การกาหนดหมายเลขสิ่ งอุปกรณ์ ทางทหาร
ตามระบบ NCS
หัวข้ อการบรรยาย
0. กล่าวทั่วไป (1 ชม.)
1. หลักการของระบบ NCS (1 ชม.)
2. องค์ ประกอบของระบบ NCS (1 ชม.)
3. หน้ าที่และความรับผิดชอบของหน่ วยงานในระบบ NCS (1 ชม.)
4. ระบบแคตตาล็อคของสหรัฐ (3 ชม.)
5. การกาหนดชื่อสิ่ งอุปกรณ์ (3 ชม.)
6. การกาหนดประเภทสิ่ งอุปกรณ์ (1 ชม.)
7. หลักการพิสูจน์ ทราบสิ่ งอุปกรณ์ (2 ชม.)
8. การบรรยายข้ อมูลพิสูจน์ ทราบสิ่ งอุปกรณ์ (2 ชม.)
9. การกาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์ (1 ชม.)
10. สรุ ป (3 ชม.)
“Codification” is a process which
systematically identifies, classifies and
assigns stock numbers to Items of Supply.
“Cataloging” is the means of communicating
the stock numbers in a form which includes
management information.
Item of Supply
An Item of Supply is an item which a
responsible supply management authority has
determined as being needed to be procured to
meet the logistics requirement.
An Item of Supply may be :
A Single Item of Production with a single
NATO Stock Number
 Two or more interchangeable Items of
Production from one or several manufacture
all with a single NATO Stock Number

สเกล
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า................
ประแจคอม้ า
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า..........................
ห่ วงเกีย่ วธง
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า........................
ตาลีใบโพธิ์
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า........................
ตาลีวงกลม
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า........................
ตาลีลูกบิด
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า........................
ตาลีทองเหลือง
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า.....................……
วยชีวติ สาหรับ
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า ลวดช่
…........................…...
เครื่องช่ วยหายใจ
..........................……...
อุตรีกาบมะพร้ าว
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า...............................
อุตรีลวด
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า........................
ม็อบถูเปี ยก
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า........................
ยุต
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า........................
ด้ ามสวบ , ด้ ายโท
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า...........…….……………
ด้ ายโท
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า........................
ธงไตรรงค์
พัสดุชิ้นนีช้ ื่อว่ า........................
บทที่ 1
หลักการของระบบ NCS
ระบบ NATO Codification System (NCS)
NCS คือ ระบบการกาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์
ของ NATO ซึ่งใช้ โดยประเทศในกลุ่ม NATO และหน่ วยงาน
ต่ าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้ องการด้ านบริ หารงาน
การส่ งกาลังโดยมีหน่ วยงาน “NAMSA” ดาเนินการภายใต้
การกากับดูแลของคณะกรรมการ AC/135
Allied Committee 135 : AC/135
The NATO Group of National Directors on Codification
ประกอบด้ วย ตัวแทนหรื อผู้แทนจากประเทศสมาชิกในเครื อ NATO
และ จากหน่ วยงาน NAMSA (NATO Maintenance and Supply
Agency) มีภารกิจสาคัญ
เพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพของระบบส่ งกาลังบารุงโดยรวมของเหล่ าทัพ
 เพือ
่ ให้ เกิดความสั มพันธ์ และเชื่อมโยงในการปฏิบตั ิ
ด้ านการส่ งกาลังบารุ งของประเทศต่ างๆ

“The Bridge to Facilitate Global Logistics Operation”
ระบบการกาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์ ทางทหาร
ของนาโต (NCS)
เป็ นระบบร่ วม

ในการ พิสูจน์ ทราบ (Identification)

ในการ จัดประเภท (Classification) และ
ในการ กาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์ (Stock
Number)
ทีเ่ ป็ นรูปแบบเดียวกัน (Uniform) ของประเทศในกล่ มุ NATO

ประเทศในกลุ่ม NATO
(North Atlantic Treaty Organization)
Belgium
Bulgaria
Canada
Czech Republic
Denmark
Estonia
France
Germany
Greece
Hungary
Iceland
Italy
Latvia
Lithuania
Luxembourg
Netherlands
Norway
Poland
Portugal
Romania
Slovakia
Slovenia
Spain
Turkey
United Kingdom
United States
ระบบ NCS ยึดถือ
ระบบการกาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์ ของ
รัฐบาลกลางสหรัฐฯ
(The United States Federal Catalog System)
ซึ่ง
หน่ วยงานฝ่ ายพลเรือนของประเทศในกลุ่ม NATO จานวนหนึ่ง
ได้ ใช้ เป็ นแนวทางด้ วยเช่ นกัน
วัตถุประสงค์ หลักของระบบ NCS
คือ
1. เพิม่ ประสิ ทธิผลในระบบการส่ งกาลังบารุง
2. ช่ วยให้ เกิดความง่ ายและสะดวกต่ อการดูแลข้ อมูล
3. ลดค่ าใช้ จ่ายในการส่ งกาลังบารุงของประเทศผู้ใช้ ระบบ NCS
4. เพิม่ ประสิ ทธิภาพในการปฏิบัตกิ ารด้ านการส่ งกาลังบารุง
การก่ อตั้ง การปฏิบัติการ และ
การดารงรักษาระบบ NCS ช่ วยให้ เกิด
“ภาษาในการพิสูจน์ ทราบทีเ่ ป็ นรูปแบบเดียวกัน”
(a uniform identification language)
เพือ่ ใช้ ในกิจการงานแห่ งชาติ เช่ น ในงานการบริหารพัสดุ
การจัดมาตรฐานพัสดุ ฯลฯ
และเพือ่ ใช้ ในหมู่ประเทศสมาชิกและรวมถึงประเทศทีม่ ใิ ช่ สมาชิก
กลุ่ม NATO ทีเ่ ป็ นสมาชิกในระบบ NCS ซึ่งได้ รับการอุปถัมภ์ ด้วย
การใช้ ระบบ NCS ยึดถือหลักการที่ว่า
ความรับผิดชอบในการกาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์ อยู่ที่
ประเทศทีค่ วบคุมการออกแบบสิ่ งอุปกรณ์ น้ัน
แม้ ว่า
จะมิได้ ใช้ สิ่งอุปกรณ์ น้ันในประเทศดังกล่ าว
นั่นคือ
ประเทศทีจ่ ัดซื้อจะต้ องร้ องขอการปฏิบัตเิ กีย่ วกับการกาหนด
หมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์ จากประเทศผู้ควบคุมการออกแบบนั้น
ประเทศซึ่งมิใช่ สมาชิก NATO ทีต่ ้ องการการอุปถัมภ์
จะทาคาขอเป็ นเอกสารไปยังประเทศสมาชิก NATO
หรือกองเลขาธิการของคณะกรรมการ AC/135
หลังจากนั้น
เมือ่ ได้ รับความเห็นชอบจากประเทศสมาชิก NATO ทุกประเทศ
จะมีการลงนามในข้ อตกลงระหว่ าง
ตัวแทนของประเทศผู้ขอรับการสนับสนุน
และประธาน AC/135
ประเทศนั้นจะเป็ น Non-NATO Countries Sponsored
ปัจจุบัน ประเทศไทย เป็ นประเทศหนึ่งในกลุ่ม
Non-NATO Countries Sponsored
ซึ่งปัจจุบันมี 29ประเทศ
Non - NATO Countries Sponsored
Albania
Austria
Argentina
Australia
Brazil
Chile
Croatia
Egypt
Fiji
Finland
Indonesia
Israel
Korea
Kuwait
Macedonia
Malaysia
Morocco
New Zealand
Oman
Philippines
Papua New Gunea
Russia Federation
Sweden
Saudi Arabia
Singapore
South Africa
Thailand
Tonga
Ukraine
UN
COUNTRIES USING THE NCS
Solomon Islands
ประโยชน์ ทปี่ ระเทศซึ่งได้ รับการอุปถัมภ์ จะได้ รับ คือ
ได้ ใช้ ระบบ Codification ซึ่งได้ รับการออกแบบยอมรับกันทั่วโลก
 เพิม
่ การร่ วมปฏิบัตกิ ารกับประเทศในเครือ NATO และ
ประเทศอืน่ ๆ ทั่วโลก
 ได้ ทราบรายการพัสดุทผ
ี่ ลิตโดยบริษทั ผู้ผลิตจากประเทศต่ างๆ ทั่วโลก
 ได้ รับการแลกเปลีย่ นข้ อมูลข่ าวสารผ่ านระบบ Telecommunication
ระหว่ างประเทศในเครือ NATO และผ่ านระบบ Mailbox System
 สามารถให้ การเสนอแนะการพัฒนาระบบ NCS แก่ ประเทศอืน
่

ประโยชน์ ของระบบ NCS

ผลดีด้านการปฏิบัติ (Operational Advantages)

ผลดีด้านเศรษฐกิจ (Economics Advantages)

ประโยชน์ เบ็ดเตล็ด (Miscellaneous Benefits)
ผลดีด้านการปฏิบัติ
1. เพิม่ โอกาสในการจัดมาตรฐาน
2. เกิดประสิ ทธิภาพในการบริหารพัสดุ
3. สามารถจัดหาพัสดุใช้ แทนกันได้ โดยไม่ ล่าช้ า
4. เกิดความง่ ายในการเจรจาทางเทคนิคระหว่ างประเทศทีม่ ี
ส่ วนร่ วมกับผู้ใช้ อนื่ ๆ
5. ช่ วยให้ การบันทึกข้ อมูล การดาเนินกรรมวิธีข้อมูล และการ
ส่ งผ่ านข้ อมูลการพิสูจน์ ทราบสิ่ งอุปกรณ์ และข้ อมูล สนับสนุ น
การบริหารทีเ่ กีย่ วข้ องอยู่ในฐานข้ อมูลทีส่ ามารถเข้ าถึงได้ โดยง่ าย
ผลดีด้านเศรษฐกิจ
1. สามารถค้ นหาชิ้นส่ วนที่เก็บไว้ในคลังมาใช้ งานแทนการที่จะผลิต
หรือจัดหาเข้ าใหม่ ลดค่ าใช้ จ่ายที่ไม่ จาเป็ น
2. เกิดการปรับปรุ งการกาหนดความต้ องการและการเตรียม
งบประมาณ
3. เกิดประสิ ทธิภาพในการร่ วมมือด้ านการจัดหาร่ วมกันในคราวเดียว
4. เกิดประสิ ทธิผลในการใช้ ทรัพย์ สิน
5. ลดการทาบัญชีรายการสิ่ งอุปกรณ์ ลดพืน้ ที่เก็บรักษา ลดการเก็บ
รักษาบันทึก และลดบุคลากร
6. ลดปัญหาการดาเนินการต่ อพัสดุที่เกินความต้ องการ
ประโยชน์ เบ็ดเตล็ด
1. มีความเข้ าใจและความสั มพันธ์ ระหว่ างภาครัฐบาลกับ
ภาคอุตสาหกรรม
2. ช่ วยให้ วิศ วกรผู้ ออกแบบสามารถค้ นหาสิ่ งอุ ปกรณ์ ที่
ต้ องการได้ ถูกต้ องมากกว่ าการใช้ คู่มอื อืน่ ใด
3. ช่ วยในการจัดมาตรฐานทีส่ ามารถปรับปรุงแนวทางให้ ง่ายขึน้
4. ช่ วยเสริมในการปฏิบัติในการ Recycle
NCS’s Benefit
1. Improved requirement determination
2. Coordinated procurement
3. Effective use of assets
4. Enhanced opportunities for standardization
5. Simplified technical dialogue
6. Improved government / industry relations
7. Better information management
8. Reduced equipment down time
หลักการพืน้ ฐานของระบบ NCS
(Fundamental Principles)




One “Item” - One “NATO Stock Number”
Items of Supply are classified, identified and described
using a “Standardized and uniformly applied methodology”
Codification authority rests with the country of
“initial manufacture”
Free and open exchange of codification data
NATO Codification System Provides :

A common language for logistics operations

Standard rules and procedures

Common tools

Coordinated approach

Comprehensive system of gathering and exchanging
logistics information
บทที่ 2
องค์ ประกอบของระบบ NCS
(Elements of the System)
NATO Codification system

STANAG 3150,
implemented in 1954, established the
U.S. system of supply commodity
classification for the NCS

STANAG 3151,
implemented in 1956, established the
U.S. system of item identification as
the basis of the NCS.
Common Supply Language


Unique and standardized Stock Number format
Uniformly applied rules for the selection of item
names (H6)

Uniformly applied system of item classification (H2)

Standardized system of item identification (IIGs)
Principles of the Common Supply Language
Each Item of Supply will be:
Identified under - One Name and Description
Classified under - One Supply Classification
Given only
- One Identification Stock Number
Which is unique to that item
Each item of supply
is

named and described in a uniform manner
a single name
a unique, uniform identification

Classified under and internationally understood.
องค์ ประกอบของระบบ NCS

ชื่อสิ่ งอุปกรณ์ (Item Name)
 การจัดประเภทสิ่ งอุปกรณ์ (Classification)
 การพิสูจน์ ทราบสิ่ งอุปกรณ์ (Item Identification)
 รหัสใบรั บรองด้ านการค้ าและใบรั บรองของรั ฐ
ตามมาตรฐานนาโต (NCAGE)
 หมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์ ของนาโต
(NATO Stock Number : NSN)
ชื่อสิ่ งอุปกรณ์ (Item Name)

AcodP-3
“NATO Item Name Directory”
สิ่ งอุปกรณ์ ในระบบการส่ งกาลังแต่ ละรายการ
จะได้ รับการตั้งชื่อด้ วยการเลือกใช้ ชื่อ Approved Item
Name เพือ่ ให้ เป็ นรู ปแบบเดียวกัน
การจัดประเภทสิ่ งอุปกรณ์ (Classification)

NATO Supply Classification (NSC)
(Federal Supply Classification Groups and
Classes หรือ H2)
สิ่ งอุปกรณ์ ในระบบการส่ งกาลังแต่ ละรายการที่
พิสูจน์ ทราบแล้ ว จะได้ รับการแบ่ งมอบการจัดประเภท
เป็ นตัวเลข 4 ตัว ชุดเดียวเท่ านั้น
การพิสูจน์ ทราบสิ่ งอุปกรณ์ (Item Identification)
องค์ ประกอบทีส่ าคัญทีส่ ุ ดของระบบ NCS
 ข้ อมูลทีน
่ ้ อยทีส่ ุ ดทีจ่ าเป็ นต้ องใช้ ในการกาหนดคุณลักษณะ
สาคัญของสิ่ งอุปกรณ์ ให้ ชัดเจน
 การพิสูจน์ ทราบแต่ ละชุ ดต้ องสามารถใช้ ได้ กบ
ั สิ่งอุปกรณ์
ในระบบการส่ งกาลังเพียง 1 รายการ เท่ านั้น
 สิ่ งอุปกรณ์ ในระบบการส่ งกาลังแต่ ละรายการต้ องมีการ
พิสูจน์ ทราบเพียงหนึ่งเดียวเท่ านั้น

วิธีการบรรยายข้ อมูลพิสูจน์ ทราบสิ่ งอุปกรณ์
วิธีบรรยายโดยละเอียด (Descriptive Method)
 เป็ นกระบวนการบรรยายคุณสมบัติและคุณลักษณะ
ของสิ่ งอุปกรณ์ เพือ่ ให้ แลเห็นความแตกต่ างของสิ่ งอุปกรณ์
นั้นจากสิ่ งอุปกรณ์ อนื่
 วิธีอ้างอิง (Reference Method)
 เป็ นกระบวนการพิ สู จ น์ ท ราบสิ่ ง อุ ป กรณ์ ท างอ้ อ ม
ประกอบด้ ว ยชื่ อ โรงงานผู้ ผ ลิ ต และหมายเลขอ้ า งอิ ง ที่
โรงงานผู้ผลิตมอบให้ สิ่งอุปกรณ์ น้ัน

ใบรับรองด้ านการค้ าและใบรับรองของรัฐ
ตามมาตรฐานนาโต้
(NATO Commercial and Government Entity : NCAGE)
K1567
FOREIGN
81349
DOMESTIC
NATO STOCK NUMBER
FEDERAL SUPPLY
CLASSIFICATION
NATIONAL ITEM
IDENTIFICATION
NUMBER (NIIN)
32 10 - 01 138 - 5895
FEDERAL
SUPPLY GROUP
FEDERAL
SUPPLY CLASS
NON SIGNIFICANT
SERIAL NUMBER
NATIONAL CODIFICATION
BUREAU (NCB) CODE
ประโยชน์ หลักของ NSN

เป็ นรู ปแบบเดียวกัน (Uniformity)
 สามารถปรั บใช้ ได้ (Adaptability)
 มีความเรี ยบง่ าย (Simplicity)
 มีความมัน
่ คง (Stability)
 มีความสอดคล้ องกัน (Compatibility)
นอกจากนี้ ระบบนี้ยงั สามารถรองรับอนาคต คือ สามารถขยายได้
(Expandability)
หมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์ ตามมาตรฐานของนาโต้
(NATO Standard Stock Number : NSSN)

NCB “11”

NAMSA เป็ นผู้แบ่ งมอบรหัส NSSN

แต่ ปัจจุบันได้ เลิกการปฏิบัตสิ ่ วนนีแ้ ล้ ว ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๔๔
การบริการด้ านการกาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์
และการแลกเปลีย่ นข้ อมูลการกาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์
(Codification service and exchange of Codification data)

วิธีการและขั้นตอนทีเ่ ป็ นที่ยอมรับของนานาชาติ

รวมถึงการใช้ รหัสทีใ่ ช้ ท้งั INPUT และ OUPPUT
สิ่ งพิมพ์ เกีย่ วกับการกาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์ ของนาโต้
(Publication on NATO Codification)
AC/135 Handbook
 ACodP-1
 ACodP-2
 ACodP-3
 NMCRL

AC/135 CodsP
 NSSN
 MBSN
 NCS Guide เป็ นต้ น

บทที่ 3
หน้ าที่และความรับผิดชอบ
ของหน่ วยงานในระบบ NCS
การใช้ ระบบ NCS โดยประเทศทีไ่ ม่ ใช่ สมาชิกกลุ่มนาโต้
(Use by Non-NATO Countries)

ประเทศทีไ่ ด้ รับการอุปถัมภ์ ทไี่ ม่ ใช่ สมาชิกกลุ่มนาโต้

ประเทศทีไ่ ม่ ได้ รับการอุปถัมภ์ ทไี่ ม่ ใช่ กลุ่มนาโต้
การอุปถัมภ์ ประเทศทีไ่ ม่ ใช่ กลุ่มนาโต้
(Sponsorship of Non-NATO Countries)
การอุปถัมภ์ มี 2 ระดับ
Tier 1 Sponsorship
 Tier 2 Sponsorship

ประเทศไทยได้ รับการอุปถัมภ์ ชนิด Tier 1
Sponsorship
และได้ ตกลงทวิภาคี (Bilateral Agreement)
กับสหรัฐ
Sponsorship Policy
“Provide allied and friendly nations around the world
with the possibility to take part in the NCS”
Tier 1 Sponsorship

เป็ นการอุปถัมภ์ ระดับพืน้ ฐาน
มีลกั ษณะเป็ นการแลกเปลีย่ นข้ อมูลแบบ 1 ทาง กับประเทศใน
กลุ่มนาโต
นั่นคือ
ประเทศกลุ่มนาโต อาจบริ การหรื อสนับสนุนข้ อมูล
หมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์ ของนาโต (NATO Stock Number)
ให้ แก่ ประเทศที่ได้ รับการอุปถัมภ์ ได้ แต่ ไม่ ยอมรั บ ให้ ข้อมูล
หมายเลข NSN จากประเทศที่ได้ รับการอุปถัมภ์ เข้ าไปอยู่ในระบบ
ของตน
Tier 2 Sponsorship
เป็ นการอุปถัมภ์ ทอี่ าจมีการแลกเปลีย่ นข้ อมูลแบบ 2 ทาง
กับประเทศในกลุ่มนาโต ทีจ่ ับคู่กบั ตน

นั่นคือ ประเทศในกลุ่มนาโต อาจดาเนินการทั้งการบริการหรือ
สนับสนุนข้ อมูล NCS ให้ แก่ ประเทศทีไ่ ด้ รับการอุปถัมภ์ และ
ยอมรับข้ อมูล NCS จากประเทศทีไ่ ด้ รับการอุปถัมภ์
ประโยชน์ ของการได้ รับการอุปถัมภ์
มีการใช้ ระบบการกาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์ ซึ่งได้ รับ
การออกแบบและได้ รั บ การพิสู จ น์ ท ราบแล้ ว จากประสบการณ์
หลายปี ที่ผ่านมา และเป็ นระบบที่ใช้ กนั อย่ างกว้ างขวางทั่วโลก
 ปรั บปรุ งการปฏิบัตต
ิ ่ อกันระหว่ างประเทศกลุ่มนาโต และ
ประเทศอืน่ ๆ ทั่วโลกที่ใช้ ระบบ NCS
 มีการแลกเปลี่ยนข้ อมู ลและการติดต่ อสื่ อสารโทรคมนาคมกับ
ประเทศกลุ่มนาโต และประเทศอื่นๆ ผ่ านทางระบบไปรษณีย์
นาโต้ (NATO Mailbox System-NMBS)

ความตกลงทวิภาคี
(Bilateral Agreements)
ความตกลงระหว่ างประเทศทีข่ อรับการอุปถัมภ์ กับ
ประเทศกลุ่มนาโต้ ผู้ให้ ความอุปถัมภ์
เพือ่ แลกเปลีย่ นข้ อมูลระหว่ างกัน
* สาหรับสหรัฐ “ความตกลงทวิภาคี อยู่ในรู ปแบบฟอร์ มของ
กรณีความช่ วยเหลือทางทหาร (FMS Case)”
งานของฝ่ ายเลขานุการคณะกรรมการ AC/135 ด้ านการอุปถัมภ์
(Sponsorship Task for the AC/135 Secretariat)
จัดหาเอกสารสิ่ งพิมพ์ (Codification Publication) ให้ แก่ ประเทศ
ทีไ่ ด้ รับการอุปถัมภ์
 ทาหน้ าทีเ่ ป็ นผู้ตด
ิ ต่ อประสานงานระหว่ างคณะกรรมการ AC/135
กับประเทศทีไ่ ด้ รับการอุปถัมภ์
 จัดหาวาระการประชุ ม เอกสารการตกลงใจ และข้ อมูลข่ าวสารอืน
่ ๆ
ที่เกีย่ วข้ องจากคณะกรรมการ AC/135 คณะ Panel A และ
คณะกรรมการกลุ่มย่ อยต่ าง ๆ ให้ แก่ ประเทศทีไ่ ด้ รับการอุปถัมภ์
 การแบ่ งมอบรหัส NCB Code ตามการร้ องขอ
 การแบ่ งมอบรหัส MOE Code ตามการร้ องขอ

งานของNAMSA ด้ านการอุปถัมภ์
(Sponsorship Tasks for NAMSA)
จัดเตรียมให้ บริการการบอกรับรายการอ้ างอิงไขว้ (NMCRL)
และระบบไปรษณีย์ของนาโต้

ประเมิ น ค่ า ความน่ า เชื่ อ ถื อ ของระบบของประเทศที่ ไ ด้ รั บ
การอุปถัมภ์


ริเริ่มการทดสอบระบบของประเทศทีไ่ ด้ รับการอุปถัมภ์
งานของ NAMSA ด้ านการอุปถัมภ์
(Sponsorship Tasks for NAMSA)

ถ้ าจาเป็ น ให้ จัดหารายงานโดยละเอียดเกีย่ วกับการประเมินค่ า
ความพร้ อมในการขอรับการอุปถัมภ์ ของประเทศต่ างๆ ส่ งให้ แก่
คณะกรรมการ AC/135
แบ่ งมอบรหัส NCAGE Code ในกรณีที่ประเทศได้ รับการ
อุปถัมภ์ ไม่ มีสานักงาน NCB หรือจนกว่ าจะสามารถแบ่ งมอบ
รหัส NCAGE ในนามของตนได้

บทบาทและความรับผิดชอบของคณะกรรมการ AC/135
(Role and Responsibilities of the AC/135)
คณะกรรมการ AC/135 มีความรับผิดชอบโดยรวม
ในการปฏิบัติงานด้ านการให้ คาจากัดความระบบ NCS
และติดตาม
ผลการให้ บริ การรวมทั้งนโยบายและ
ขั้นตอนที่เกีย่ วข้ อง
ประเทศกลุ่มนาโต
(NATO Countries)
อาจเผยแพร่ ข้อมูลการกาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์
ตามหลักการนาโต และข้ อมูลการบริหารของตนที่เกี่ยวข้ อง
กับ หมายเลข NSN ที่ประเทศนั้นกาหนดให้ แก่ ประเทศ
กลุ่มนาโต้ อืน่ ๆ หรือองค์ กร NAMSA

ประเทศทีไ่ ด้ รับการอุปถัมภ์ แบบ Tier 1 Sponsorship
ประสานงานระหว่ างคณะกรรมการ AC/135 กับ
ประเทศนาโต้ ที่ให้ การอุปถัมภ์ เพือ่ ขอรับทราบข้ อมูลและ
ข้ อเสนอแนะในการใช้ ระบบ NCS ตามข้ อตกลง


ไม่ เปิ ดเผยข้ อมูลทีเ่ ป็ นลิขสิ ทธิ์อนั จากัดของอีกประเทศหนึ่ง
Core business of the NCB
Liaison with AC/135
 Liaison with Armed Forces and Industry
 Codification system management
 Processing of codification requests
 Development and maintenance of national
codification publications
 Codification data management
 Information and training

Milestones
1. Policy
2. Procedures and Functional Specifications
3. Automation / Development of a Codification
Information System
4. Tests & Implementation
5. Operation
NCB’s Tasks:
Liaison with AC/135
 policy matters (AC/135 <---> national)
 relation management AC/135, NCBs and industry
 Liaison with Armed Forces and industry
 relation management
 training

NCB’s Tasks:

Codification System Management
 system management
 implementation of AC/135 approved system
changes
 processing of codification transactions
 cod. data exchange between the NCB and
AC/135 via the MBS, and between the NCB and the
logistic information systems of the Armed Forces
NCB’s Tasks:
 Codification Support
 Translation and maintenance of the System Support
Records ( H6, H4, H2, IIGs and related tables)
 Codification Data Management
 Maintenance of the national codification database
 Codification Request
 Process the requests from the Armed Forces
 Process the requests from the NATO countries
The NCS development team
1. Management
2. Policy Staff
3. Logisticians
4. Functional Specialists
5. ADP Experts
6. Codifiers
The NCS development team
1. Management
Task :- external relations; keep track of time, money
and progress.
2. Policy Staff
Task :- translate national and AC/135 codification
policy into national codification procedures.
The NCS development team
3. Logisticians
Task :- provide the logistics information requirements.
4. Functional Specialists
Task :- translate codification procedures and
logistic requirements into functional requirements
- develope national codification publication (H6,
H2, IIGs)
The NCS development team
5. ADP Experts
Task :- develope a codification information system
based on the functional requirements
6. Codifiers
บทที่ 4
ระบบแคตตาล็อคของสหรัฐฯ
(Federal Catalog System : FCS)
Cataloging means many things
to many people.
ความเป็ นมาของ FCS
ค.ศ.1914 ทร.สหรัฐฯ จัดทา Naval Depot Supply and Stock Catalog
ค.ศ.1952 เกิดแนวความคิดจะจัดให้ มี Federal Catalog System
เพือ่ ใช้ เป็ นแนวทางเดียวกันทั้งประเทศ
ค.ศ.1958 จัดตั้ง Federal Catalog System ทีส่ มบูรณ์ สาเร็จใช้ งานได้
ค.ศ.1961 จัดตั้ง DLSC (Defense Logistics Service Center) ขึน้ เพือ่
รับผิดชอบงานเกีย่ วกับ FCS ทั้งหมด
ค.ศ.1962 DLSC ตรวจตราหรือสอบทานรายการพัสดุทจี่ ะซ้าซ้ อนด้ วย
ข้ อมูล manufacturer’s part number
ความเป็ นมาของ FCS
ค.ศ.1965 เกิดแนวความคิดเรื่อง Federal Item Identification
Guides จึงจัดแผนงาน “Federal Item Identification
Guides (FIIG) Improvement Program” ขึน้ และ
พัฒนาระบบงาน Defense Integrated Data System
“DIDS” ขึน้ ติดตั้งใช้ ในปี ค.ศ.1975
ค.ศ.1990 Upgrade ระบบคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมที่ใช้ โดย
DLSC ทั้งหมดให้ ทันสมัย และได้ เกิดระบบ “Federal
Logistics Information System (FLIS)” ขึน้
“FLIS”
is an ADP Designed to provide centralized Data Bank
in Support of DoD, Federal Civil Agencies, and Foreign
Governments Participating in the Integrated Logistics
Support Program.
=> The single co-operate repository for item oriented
logistics data
- Assign NSNs
- Register manufactures with DoD
- Standard data element
จุดมุ่งหมายของระบบแคตตาล็อคของสหรัฐฯ
คือ
1. จัดให้ มีขนึ้ ซึ่งระบบอันเป็ นหนึ่งเดียวในการกาหนดรายการพัสดุ
2. ขจัดการกาหนดทีแ่ ตกต่ างกัน สาหรับพัสดุชนิดเดียวกัน
3. เผยให้ ทราบถึงความสามารถที่จะแลกเปลีย่ นกันได้ /การใช้ แทนกันได้
ระหว่ างพัสดุ
4. ช่ วยในการกาหนดมาตรฐาน
5. ส่ งเสริมการสนับสนุนด้ านการส่ งกาลัง ทั้งภายในและระหว่ างหน่ วยงาน
6. เสริมความสั มพันธ์ ระหว่ างรัฐบาลกับอุตสาหกรรม
7. พัฒนาการบริหารงานพัสดุและเพิม่ ประสิ ทธิภาพด้ านการส่ งกาลัง
Federal Item Identification Guides (FIIG)
Improvement Program
มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ :1. กาหนดแนวทางการพิสูจน์ ทราบพัสดุทุกรายการทีอ่ ยู่ในพวกเดียวกัน
หรือคล้ ายคลึงกัน ด้ วยแนวทางหนึ่งเดียวร่ วมกัน
2. ให้ มีข้อมูลคุณลักษณะเฉพาะทางเทคนิคสาหรับพัสดุแต่ ละรายการใน
ลักษณะหรือรู ปแบบทีพ่ ร้ อมจะนามาดาเนินกรรมวิธีด้วยระบบอัตโนมัติ
3. ใช้ ระบบอัตโนมัตใิ นการตรวจสอบเปรียบเทียบข้ อมูลคุณลักษณะ
เฉพาะทางเทคนิคสาหรับพัสดุใหม่ กบั รายการทีม่ ีกาหนดไว้ แล้ ว
เพือ่ ป้องกันการกาหนดรายการใหม่ ซ้ากับที่มีกาหนดไว้ แล้ ว
4. สามารถรวบรวมข้ อมูลทีเ่ กีย่ วข้ องต่ างๆ ได้ ในทันทีพร้ อมกัน
Defense Integrated Data System (DIDS)
คือ โปรแกรมระบบงานคอมพิวเตอร์
ทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ เพือ่
ใช้ ในการบริหารงานและปฏิบัตงิ านทีค่ รอบคลุมทุกงาน
ในภารกิจของ DLSC
ฐานข้ อมูลของ DIDS มี 2 ส่ วน คือ
• TIR (The Total Item Record) ประกอบด้วย :-
•
ข้ อมูลพัสดุ ซึ่งบรรยายคุณลักษณะหรือคุณสมบัตขิ องพัสดุ
แต่ ละรายการ ครบทุกรายการ รวมถึงข้ อมูลของผู้ผลิตหรือ
ข้ อมูลอ้ างอิงต่ างๆ
SSR (The System Support Report) ประกอบด้ วย :ข้ อมูลของระบบทีจ่ ะช่ วยในการเรียกใช้ TIR
FLIS USERS
GSA
NSA
FAA
ARMY
VA
DLAC
FLIS
DLA
SUPPLY
CENTERS
NAVY
MARINE
CORPS
AIR
FORCE
NATO
COUNTRIES
OTHER
FOREIGN
COUNTRIES
ON-LINE UPDATE APPLICATIONS
• NIIN ASSIGNMENT
 LNR, LNP, LNC, LNK, LNW
• NIIN REINSTATEMENT
 LBR, LBC, LBK, LBW
• PROCESS MULTIPLE DICS
 LMD
ON-LINE UPDATE APPLICATIONS
• MAINTENANCE DATA ELEMENTS
 LAD, LCD, LDD, LCC
• MAINTENANCE DATA GROUPS
 LAR, LCR, LDR, LAS, LCS, LDS, LAU, LCU,
•
LDU, LCZ, LAM, LCM, LDM
CHANGE PSCN TO NSN
 LNP
ON-LINE UPDATE APPLICATIONS
• TRANSACTIONS COMPLETED LIST
 ALLOWS REVIEW OF RESULTS
 CAPABILITY TO CORRECT KREs
ACCESS TO LOLA ON - LINE UPDATE PROGRAM
• AVAILABLE TO
• DLIS CUSTOMER
LOGRUN USERS
• FAX OR MAIL
REQUESTS FOR
ACCESS TO :
•
SERVICE
 DSN 932-7515
 FAX 961-4715
ON - LINE UPDATE
PROGRAM MGMT
OFFICE
 DSN 932-7515
 FAX 961-4715
CHARACTERISTICS SEARCH
FED LOG
LOGRUN
เมื่อไรจะดาเนินการเกีย่ วกับระบบแคตตาล็อค
• ขั้นตอนก่อนการจัดหา
• ขั้นตอนการจัดหาหรือนาพัสดุเข้าสู่ระบบส่ งกาลัง
• ตลอดอายุใช้ งานพัสดุ รวมถึงการทิง้ หรือจาหน่ายทาลายเสีย
12 FUNCTIONAL TASKS
THAT COMPRISE FEDERAL CATALOGING
 ITEM NAME ASSIGNMENT
 FEDERAL SUPPLY CLASS DETERMINATION
 ITEM IDENTIFICATION PREPARATION AND
MAINTENANCE
 ITEM ENTRY CONTROL
 TECHNICAL DATA VALIDATION
 PROVISIONING SUPPORT
 DATA RECORDATION AND MAINTENANCE
12 FUNCTIONAL TASKS
THAT COMPRISE FEDERAL CATALOGING
 CATALOGING TOOLS
 REQUEST FOR SUPPLY SUPPORT
 DATA DISSEMINATION
 CATALOGING PROCEDURES AND
 CATALOGING POLICY
SYSTEMS
ใครบ้ างที่มหี น้ าที่เกีย่ วข้ องในระบบแคตตาล็อค
• Catalogers
• Program Managers
• Classifiers
• Logistics Management
• Supply Technicians
Specialists
• Supply System Analysts • Authorized Contractor
• Equipment Specialists
Personnel
• General Supply Specialists
• Budget Analysts
• Inventory Managers
FEDERAL CATALOG SYSTEM
The Federal Catalog System is a service.
It supports various logistics functions such as :
 Design
 Provisioning
 Research
 Procurement
 Requisitioning
 Supply
Management
 Disposal
CATALOGING PROCESS
FIRST STEP
- Item Name Assignment
SECOND STEP - Classification
THIRD STEP
- Item Identification
FOURTH STEP - National Stock Number Assignment
FIFTH STEP
- Preparation of Publications
CATALOGING HANDBOOK H6
FEDERAL ITEM NAME DIRECTORY
SECTION A
BASIC NAMES
COLLOQUIAL NAMES
APPROVED ITEM NAME
CATALOGING HANDBOOK H6
FEDERAL ITEM NAME DIRECTORY
SECTION B
INC
03231
03232
03233
COND
FIIG CODE FSC
CRANE TRUCK, WAREHOUSE T340 1 3950
HEATER, SPACE ELECTRICAL A013 1 4520
HOLDER (1), CLINICAL CHART A239 1 6530
CONDITION CODES
CODE 1 :
ITEM LIMITED TO ONE FSC
CODE 2 :
ITEM IN TWO OR MORE FSCs
THE FEDERAL SUPPLY CLASSIFICATION
SYSTEM


Items subject to repetitive stockage, storage, and issue
will be assigned a National Stock Number (NSN). Such
items must be classified.
Classification supports effective and efficient Supply
Management
FEDERAL SUPPLY CLASSIFICATION
ITEM CLASSIFIED BY “WHAT IT IS”
BOLT -------GENERAL : HARDWARE
SPECIFIC : BOLTS
ELECTRON TUBE -------GENERAL : ELECTRICAL COMPONENTS
SPECIFIC : ELECTRON TUBES
FEDERAL SUPPLY CLASSIFICATION
ITEM CLASSIFIED BY “WHERE IT FITS”
TYPEWRITER PLATEN IS CLASSIFIED
WITH THE TYPEWRITER-------AGITATOR IS CLASSIFIED
WITH THE WASHING MACHINE--------
FEDERAL SUPPLY CLASSIFICATION
FEDERAL SUPPLY GROUP
BROAD COMMODITY AREA
“HARDWARE AND ABRASIVES”
FEDERAL SUPPLY CLASS
HOMOGENEOUS COMMODITY
AREA WITHIN GROUP
“SCREWS”
5305 - 01 - 894 - 7621
FSC ADVANTAGES




Simple
Logical
Can be expanded to meet future needs
Possibilities;
---------- 99 Federal Supply Groups
---------- 99 Federal Supply Classes
Within each group
INTERNATIONAL USE OF FSC

NATO adopted STANAG 3150 in 1954

NATO Supply System is same as the United States
Supply System
NATO STOCK NUMBER
FEDERAL SUPPLY
CLASSIFICATION
NATIONAL ITEM
IDENTIFICATION
NUMBER (NIIN)
32 10 - 01 138 - 5895
FEDERAL
SUPPLY GROUP
FEDERAL
SUPPLY CLASS
NON SIGNIFICANT
SERIAL NUMBER
NATIONAL CODIFICATION
BUREAU (NCB) CODE
ตามกฎเกณฑ์ ของ FCS ยกเว้ นสาหรับรายการต่ อไปนี้
มิจาเป็ นต้ องกาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์
1. รายการพั ส ดุ ที่ จั ด หาเข้ า มาครั้ ง เดี ย ว เพื่ อ ใช้ ใ นการวิจั ย พั ฒ นา
การทดลอง การก่ อสร้ าง การติดตั้ง และการซ่ อมบารุ งยุทโธปกรณ์
2. รายการพัสดุที่จัดหาเข้ ามาโดยคู่สัญญาเพือ่ ใช้ ในการซ่ อมใหญ่ หรื อ
ซ่ อมแซมกรณีพิเศษตามสั ญญา และได้ ใช้ หมดไป ในการนี้ โดย
ไม่ มีการจัดหาเข้ ามาในระบบส่ งกาลังบารุ งภายหลังอีก
ตามกฎเกณฑ์ ของ FCS ยกเว้ นสาหรับรายการต่ อไปนี้
มิจาเป็ นต้ องกาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์
3. แบบพิ ม พ์ ผั ง แบบ คู่ มื อ ตลอดจนหนั ง สื อ ต าราซึ่ ง ได้ มี
การกาหนดหมายเลขควบคุมไว้ อย่ างมีมาตรฐานแล้ ว
4. เรื อ เครื่องบิน และยุทโธปกรณ์ หลักอื่นๆ ซึ่ งได้ มีการควบคุม
และกาหนดการใช้ งานเป็ นการเฉพาะอย่ างอยู่แล้ ว
5. รายการพั ส ดุ ที่ ห น่ วยงานในต่ า งประเทศจั ด หาและใช้
ในต่ างประเทศนั้นทั้งหมด
ตามกฎเกณฑ์ ของ FCS ยกเว้ นสาหรับรายการต่ อไปนี้
มิจาเป็ นต้ องกาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์
6. รายการพัสดุทหี่ าเข้ ามาด้ วยเงินนอกงบประมาณ
7. เครื่ องจักรหรื อเครื่ องมือซึ่ งติดตั้งในโรงงานผลิ ตเพื่อใช้ ใน
กิจกรรมของโรงงานผลิตนั้น เท่ านั้น
8. รายการยาหรือผลิตภัณฑ์ ยาใหม่ ๆ ที่องค์ การอาหารและยา
ยังมิได้ ให้ การรั บรอง รายการยาที่จัดหาเข้ ามาสาหรั บคนไข้
เฉพาะรายและรายการยาที่เป็ นผลิตภัณฑ์ จากเลือดของสั ตว์
เช่ น sheep cells เป็ นต้ น
สรุป
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
ตามแนวทางของ FCS (Federal Catalog System)
ประเทศสหรัฐฯ
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
(Catalog System)
๑. ต้ องทราบไว้ ก่อนว่ า วงจรชีวติ ข้ อมูลของสิ่ งอุปกรณ์ หรือพัสดุ
ในระบบการกาลัง (Item Of Supply) นั้นประกอบด้ วย ๓ ช่ วง คือ
(๑) ช่ วงการกาหนดหมายเลขประจาพัสดุ (National Stock
Number) กล่ าวคือ เป็ นช่ วงเริ่มต้ นของวงจรชีวติ ข้ อมูลนี้
(๒) ช่ วงการบารุงรักษาข้ อมูลข่ าวสารทั้งปวงทีเ่ กีย่ วเนื่องจาก
หมายเลขประจาพัสดุ (NSN) นี้ หมายถึงเป็ นช่ วงที่จะสร้ าง เพิม่ เติม ตัดทิง้
ข้ อมูลทั้งปวง ให้ ทนั สมัย ถูกต้ องอยู่เสมอ
(๓) ช่ วงการยกเลิกข้ อมูลข่ าวสารทั้งปวงทีเ่ กีย่ วเนื่องกับ NSN
นี้ เมื่อยกเลิกรายการพัสดุนีอ้ อกจากระบบการส่ งกาลังบารุ ง
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
(Catalog System)
๒. กระบวนการพิสูจน์ ทราบพัสดุทจี่ ะต้ องดาเนินการด้ วยการ
วิจยั หรือพิจารณา (Research) อย่ างถีถ่ ้ วน เพือ่ ความถูกต้ องนั้น การ
ดาเนินการเพือ่ ให้ ได้ มาซึ่งข้ อมูลการพิสูจน์ ทราบพัสดุอย่ างถูกต้ องเพียงใด
จะขึน้ กับเอกสารทางเทคนิคในรู ปแบบต่ างๆ ซึ่งอย่ างน้ อยควรใช้ เอกสาร
ต่ อไปนีใ้ นการกาหนดข้ อมูลพิสูจน์ ทราบพัสดุ คือ
- รู ปวาดของวิศวกร (Engineering Drawing)
- แคตตาล็อคของผู้ผลิต (Manufacturers’ Catalog)
- รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะหรือมาตรฐานของรัฐหรือ
โรงงานผู้ผลิต (Industry and Government Standard Specification)
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
(Catalog System)
๓. ในช่ วงของการพิสูจน์ ทราบพัสดุ จะต้ องรวบรวมข้ อมูลทั้ง
ปวงทีจ่ าเป็ นทีจ่ ะทราบถึงความแตกต่ างของพัสดุ (IOS) รายการนีจ้ าก
รายการพัสดุอนื่ ทีบ่ รรจุไว้ แล้ วในระบบ
๔. การวิจยั หรือการพิจารณา (Research) หมายถึง การตรวจตรา
จากข้ อมูลคุณลักษณะ (Characteristics) จากระบบข้ อมูลด้ วยการใช้
LOGRUN หรือด้ วยการใช้ FED LOG ซึ่งจะทาให้ ทราบได้ ว่า มีรายการพัสดุ
นีแ้ ล้ วในระบบข้ อมูลข่ าวสารการส่ งกาลังบารุงของสหรัฐฯ (FLIS) หรือไม่
และถ้ าซ้าซ้ อนจะต้ องพิจารณาต่ อไปด้ วยว่ า จะเพิม่ หมายเลขอ้ างอิง
(Reference Number) หมายเลขใหม่ ที่แตกต่ างจากที่กาหนดอ้ างอิงไว้ แล้ ว
อีกหรือไม่
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
(Catalog System)
๕. จะต้ องดาเนินการตามขั้นตอนพืน้ ฐานในกระบวนการกาหนด
ข้ อมูลการพิสูจน์ ทราบพัสดุ ๔ ขั้น ซึ่งประกอบด้ วย
ขั้นที่ ๑ คือ การเลือกชื่อพัสดุทเี่ หมาะสม
ขั้นที่ ๒ คือ การกาหนดประเภทพัสดุทเี่ หมาะสม
ขั้นที่ ๓ คือ การบรรยายข้ อมูลพิสูจน์ ทราบพัสดุ โดยเลือก
วิธีบรรยายหรือวิธีอ้างอิง หรือใช้ ท้งั สองวิธี
ขั้นที่ ๔ ซึ่งเป็ นขั้นสุ ดท้ าย คือ การกาหนดหรือแบ่ งมอบ
หมายเลขพัสดุให้ แก่ รายการพัสดุน้ันๆ
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
(Catalog System)
๖. การเลือกชื่อพัสดุทเี่ หมาะสม (Selection of the item name)
เป็ นขั้นที่สาคัญและต้ องดาเนินการเป็ นขั้นแรก ซึ่งเป้าหมาย หรือ
จุดมุ่งหมายของการตั้งชื่อพัสดุ คือ จะต้ องอธิบายให้ เห็นถึงความคิด
พืน้ ฐานทีจ่ ะสนองความต้ องการพัสดุ (Basic Concept of the Item) โดย
จะขึน้ อยู่กบั สิ่ งเหล่ านี้
(๑) เอกสารทางวิชาการหรือทางเทคนิค เพือ่ ทีจ่ ะจากัด
ขอบเขตคุณสมบัตใิ ห้ เหลือเพียงหนึ่งเดียวได้
(๒) คู่มือ H6 (FIND) ที่จะช่ วยในการตกลงใจเลือก
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
(Catalog System)
๗. การกาหนดประเภทพัสดุ (Classification) เป็ นขั้นที่ ๒ สาหรับ
การกาหนดการพิสูจน์ ทราบพัสดุทจี่ ะช่ วยให้ เกิดประสิ ทธิภาพทางการ
บริหารงานพัสดุ เนื่องจาก
- รายการพัสดุท้งั หลายจะถูกกาหนดหมวด (Group) อย่ าง
เป็ นระบบ (Systematic Arrangement) โดยอาศัยความสั มพันธ์ คล้ ายกัน
ของคุณลักษณะพัสดุ
- ระบบการจัดประเภทหรือกลุ่มพัสดุทกี่ ล่ าวถึงคือ
Federal Supply Classification (FSC) ซึ่งต่ อไปนี้ จะปรากฏเป็ นตัวเลข ๔
ตัว ทีเ่ ป็ นกลุ่มเลขชุดแรกของ National Stock Number (NSN)
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
(Catalog System)
๘. ต้ องทราบอีกด้ วยว่ ามีคู่มือสาหรับการจัดทาแคตตาล็อคอีก ๒
เล่ ม ทีจ่ ะช่ วยในขั้นตอนการกาหนดประเภทพัสดุคอื
(๑) คู่มือ H6 “Federal Item Name Directory”
(๒) คู่มือ H2-1 “Groups and Classes” ซึ่งในคู่มือเล่ มนีจ้ ะช่ วย
เลือก FSC ที่เหมาะสมได้ เมื่อไม่ สามารถเลือก Approved Item Name
(AIN) มาตั้งชื่อพัสดุนีไ้ ด้
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
(Catalog System)
๙. การตกลงใจเลือก FSC ทีเ่ หมาะสมและถูกต้ อง ในกรณีทไี่ ด้
เลือกใช้ AIN จากคู่มือ H6 จะต้ องเลือก FSC ทีถ่ ูกต้ องจาก FSC ที่
เสนอแนะให้ มากกว่ า ๑ หมายเลข ทั้งนีจ้ ะขึน้ กับรหัส “Condition Code” ที่
ระบุให้ ดังนี้
Condition Code
“1” จะเสนอแนะ FSC ที่เหมาะสมเพียง ๑ หมายเลข
“2” เสนอแนะ FSC ที่เหมาะสมให้ มากกว่ า ๑ หมายเลข
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
(Catalog System)
๑๐. กระบวนการพิสูจน์ ทราบขั้นที่ ๓ คือ การบรรยายคุณลักษณะ
พัสดุ โดยอาจจะใช้ วธิ ีอ้างอิงข้ อมูลอืน่ ดังนี้
(๑) การบันทึกข้ อมูลชื่อโรงงานผู้ผลิต และหมายเลขชิ้นส่ วน
ทีเ่ หมือนกับรายการพัสดุนี้
(๒) การบันทึกข้ อมูลคุณลักษณะพัสดุท้งั ในด้ านสรีระและ
ด้ านการใช้ งานพัสดุรายการนี้
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
(Catalog System)
๑๑. ต้ องทราบว่ ามีวธิ ีการอธิบายคุณลักษณะหรือคุณสมบัติของ
พัสดุทจี่ ะนาเข้ าสู่ ระบบการส่ งกาลังอยู่ ๒ วิธี คือ
(๑) Reference Method of Item Identification (RM II)
(๒) Descriptive Method of Item Identification (DM II)
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
(Catalog System)
๑๒. การบรรยายข้ อมูลพิสูจน์ ทราบพัสดุโดยวิธีบรรยายจะกาหนด
ไว้ ใน Federal Item Identification Guide (FIIG) ซึ่งการใช้ FIIG จะ
อานวยความสะดวกในการบรรยาย เนื่องจาก FIIG จะเสนอแนวทางการ
บรรยาย (Descriptive Guide) สาหรับพัสดุทจี่ ะนาเข้ าสู่ ระบบการส่ งกาลัง
ทั้งนี้ แนวทางดังกล่ าวจะแสดงเป็ นคาถามและเลือกคาตอบที่จะแสดงข้ อมูล
ประกอบรหัส ซึ่งได้ กาหนดเป็ นมาตรฐานไว้ แล้ ว (Standard Coding)
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
(Catalog System)
๑๓. ทั้งกรณีทบี่ รรยายข้ อมูลพิสูจน์ ทราบโดยวิธีอ้างอิง หรือโดยวิธี
บรรยาย ข้ อมูลพิสูจน์ ทราบพัสดุทเี่ กิดขึน้ (Transaction) จะถูกนาเข้ าสู่
ระบบ Federal Logistics Information System (FLIS) ที่หน่ วยงาน
Defense Logistic Service Center (DLSC) เพือ่ แบ่ งมอบหมายเลขประจา
พัสดุ (National Stock Number : NSN) ให้ แก่ รายการพัสดุนี้
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
(Catalog System)
๑๔. NSN ประกอบด้ วยตัวเลข ๑๓ ตัว ซึ่งจะเข้ าใจร่ วมกันทุก
หน่ วยที่เกีย่ วข้ องในระบบการส่ งกาลังในกระทรวงกลาโหม ตลอดจนใน
หน่ วยงานอืน่ ๆ ของรัฐ ทั้งประเทศ และเมื่อ NSN ได้ รับการกาหนดหรือ
แบ่ งมอบให้ แก่ รายการพัสดุจะถือว่ ารายการพัสดุน้ันเป็ นสิ่ งอุปกรณ์ หรือ
พัสดุในระบบส่ ง-กาลังทันที
การจัดทาระบบรายการพัสดุ
(Catalog System)
๑๕. NSN ประกอบด้ วยตัวเลข ๒ ส่ วน คือ
(๑) ตัวเลข ๔ ตัวแรก ทีผ่ ้ ูจดั ทาแคตตาล็อคเลือกกาหนด คือ
FSC และต้ องกาหนดขึน้ ในกรณีที่ต้องการกาหนดหมายเลขประจาพัสดุใน
ครั้งแรก แต่ อาจจะเปลีย่ นแปลงได้ ในตลอดวงจรชีวติ ข้ อมูลของรายการ
พัสดุ
(๒) ตัวเลข ๙ ตัวสุ ดท้ าย คือ National Item Identification
Number (NIIN) ซึ่งจะคงอยู่กบั รายการพัสดุนีต้ ้งั แต่ เริ่มต้ นที่ได้ รับกาหนด
หมายเลขประจาพัสดุนี้ จนถึงยกเลิกรายการพัสดุนีอ้ อกจากระบบการส่ ง
บทที่ 5
การกาหนดชื่อสิ่ งอปุ กรณ์
(Item Name assignment)
FOUR BASIC STEPS
STEP 1
SELECTING THE
ITEM NAME
STEP 2
ITEM CLASSIFICATION
TECHNICAL RESEARCH
STEP 3
DEVELOPING
REF/CHAR DATA
STEP 4
NSN ASSIGNMENT
Advantages of Single Supply Language
1. Eliminates concurrent buying and selling of
the same item.
2. More effective utilization of assets.
3. Improved material / budgeting, etc.
4. More effective materiel disposal
Single Supply Language
Each Item of Supply identified by
one Item Name
Item Name
st
1 Step
Most important step in
Item Identification
Provisioning Documents Researched
• drawings
• specifications
• Government’s catalogs
• standards
• manufacturer’s catalogs
Why is Name important ?
• Single supply language
• Determines FIIG
• Determines FSC
• Eliminates duplication
• Reveals substitute items
Full Descriptive Item Identification
(DMII)
Must have
Approved Item Name
Name - establishes Basic concept
Begin by asking
“ What is it ”
The selection or development of a single name
for an item of supply provides
a common language for supply operations
and
is the first step in the identification and
differentiation of an item of supply
Selection of Item Name
Most important step
Four Types of Names : 1. Approved (AIN)
2. Basic
3. Colloquial
4. Part or Non - Approved (NAIN)
Basic Name
Establishes Basic concept of an Item - of - Supply
Example : Chair
(in H6, initial letter capitalized
remaining letters lower - case.)
May have different concepts.
Basic Name
• Single Noun
: - CHAIR
• Hyphenated Noun
: - BAYONET - KNIFE
• Noun Phrase
: - SLIDE RULE
When two or more nouns are synonymous,
the one most commonly used in commercial practice
shall be selected as the Basic Name
and the other cross referenced to the
Basic Name selected.
Approved Item Name
is constructed of
a Basic Name with or without modifier (S)
The preference priority for modifiers is :1. Shape, form, structure “ What it is ”
• knitted, woven
2. Function “What it does”
• safety, protective
3. Application “What it is used for”
• fire fighting
4. Location “Where it is used”
• kitchen, dental surgery
5. Trade, profession, occupation
• blacksmiths, man’s
Approved Item Name
(AIN)
Official designation of an Item of Supply
Most preferred type of Name
Example : DESK, TYPEWRITER
(all capital letters in H6)
CHAIR,
Basic concept
CHAIR,
ROCKING
Modifier
AUDITORIUM
SAW,
Basic
concept
HAND,
1th Modifier
CROSSCUT
2 nd Modifier
Type of saw Cutting Characteristic
(Hand actuated)
(Crosscut)
ELBOW,
PIPE TO TUBE
Basic concept
Modifying phrase
Shape of body
Type of connection
Material shall not be used as a modifier
since material is an item characteristic and
as such is included as a requirement in IIG
TUBE, BRASS is not acceptable.
TUBE, METALLIC is acceptable.
Colloquial Name
A colloquial Name is any name,
other than an Approved Item Name,
Colloquial Name
(Common everyday language name)
Used for Cross reference
To
Approved Item Name
Basic Noun (as modified)
Example
lectern See STAND, LECTURE
Part Name
• Not in H6
• Assigned by Manufacturer/Designer
• When used for cataloging
- Non - Approved Item Name (NAIN)
• All NAINs Screened by DLIS
Copyrighted or Trade marked Names
Normally Not used
in
Catalog System
Approved Item Name (AIN)
Determines FIIG and FSC
Basic Name
Establishes Basic concept of Name
Colloquial Name
Cross - Referenced to AIN
Part Name
Non - Approved Item Name (NAIN)
Not in H6
Item Name Code (INC) assignment
1. DLIS assigns Item Names a five - position numeric
Item Name Code (INC)
2. DLIS references these INCs by numeric code
to the AIN, FIIG, and FSC(s) in the Numeric
Index of Item Names, Section B of the Federal
Item Name Directory (Cataloging Handbook H6)
Each NAIN is Assigned an Item Name Code (INC)
of “ 77777 ”
The Federal Item Name Directory (FIND)
of the Federal Catalog System is divided
into two sections
(H6 - A and H6 - B)
H6 - Federal Item Name Directory (FIND)
Sections : “A” - Dictionary Of Item Names
“B” - Cross Reference Name to FIIG to FSC
H6 - A contains all Basic Names, Colloquial Names
and Approved Item Names (AINs)
with their associated
•
•
•
•
FSCs
Codition Code
FIIGs
Item Name Code (INCs)
“ H6 - A ”
Inverted Sequence
STOP
SIGN, TRAFFIC
not
TRAFFIC SIGN
H6 - B is divided into two subsections,
H6 - B Subsection 1 contains all AINs sequenced
numerically by INC referenced to their
related FIIG, FSG and Condition Code
H6 - B Subsection 2 contains an alphanumerically
sequenced listing of all FIIGs referenced to
their related INCs
บทที่ 6
การกาหนดประเภทสิ่ งอปุ กรณ์
(Item Classification)
THE FEDERAL SUPPLY CLASSIFICATION
SYSTEM
Items subject to repetitive stockage, storage, and
issue will be assigned a National Stock Number
(NSN). Such items must be classified.

Classification supports effective and efficient
Supply Management

FEDERAL/NATO SUPPLY CLASSIFICATION
(FSC /NSC)
designed to serve the functions of supply
and its sufficiently comprehensive in
scope to permit the classification of all
items of personal property.
FEDERAL/NATO SUPPLY CLASSIFICATION
(FSC /NSC)
78 groups , 646 classes
FSG identifies by titles , the commodity area
covered by classes within the group.
FEDERAL/NATO SUPPLY CLASSIFICATION
(FSC /NSC)
Each class covers a relatively homogeneous area of
commodities, in respect to their physical or
performance characteristics, or in the respect that the
items included therein are such as are usually
requisitioned or issued together, or constitute a related
grouping for supply management purpose.
The Federal Supply Classification
Cataloging Handbook, H2
presents the classification structure of FSC
showing all groups and classes listed in the arrangement
of the four-digit FSC code numbering system
FOUR BASIC STEPS
STEP 1
SELECTING THE
ITEM NAME
STEP 2
STEP 3
DEVELOPING
REF/CHAR DATA
TECHNICAL RESEARCH
ITEM
CLASSIFICATION
STEP 4
NSN ASSIGNMENT
CATALOGING PROCESS
FIRST STEP
- Item Name Assignment
SECOND STEP - Classification
THIRD STEP
- Item Identification
FOURTH STEP - National Stock Number Assignment
FIFTH STEP
- Preparation of Publications
Why is Name important ?
• Single supply language
• Determines FIIG
• Determines FSC
• Eliminates duplication
• Reveals substitute items
The Federal Item Name Directory (FIND)
of the Federal Catalog System is divided
into two sections
(H6 - A and H6 - B)
Sections : “A” - Dictionary Of Item Names
“B” - Cross Reference Name to FIIG to FSC
H6 - A contains all Basic Names, Colloquial Names
and Approved Item Names (AINs)
with their associated
•
•
•
•
FSCs
Codition Code
FIIGs
Item Name Code (INCs)
H6 - B is divided into two subsections,
Subsection 1 contains all AINs sequenced numerically
by INC referenced to their related FIIG, FSG and
Condition Code
Subsection 2 contains an alphanumerically sequenced
listing of all FIIGs referenced to their related INCs
CATALOGING HANDBOOK H6
FEDERAL ITEM NAME DIRECTORY
SECTION B
INC
03231
03232
03233
COND
FIIG CODE FSC
CRANE TRUCK, WAREHOUSE T340 1 3950
HEATER, SPACE ELECTRICAL A013 1 4520
HOLDER (1), CLINICAL CHART A239 1 6530
CONDITION CODES
CODE 1 :
ITEM LIMITED TO ONE FSC
CODE 2 :
ITEM IN TWO OR MORE FSCs
FEDERAL SUPPLY CLASSIFICATION
ITEM CLASSIFIED BY “ WHAT IT IS ”
BOLT -------GENERAL : HARDWARE
SPECIFIC : BOLTS
ELECTRON TUBE -------GENERAL : ELECTRICAL COMPONENTS
SPECIFIC : ELECTRON TUBES
FEDERAL SUPPLY CLASSIFICATION
ITEM CLASSIFIED BY “ WHERE IT FITS ”
TYPEWRITER PLATEN IS CLASSIFIED
WITH THE TYPEWRITER-------AGITATOR IS CLASSIFIED
WITH THE WASHING MACHINE--------
FEDERAL SUPPLY CLASSIFICATION
FEDERAL SUPPLY GROUP
BROAD COMMODITY AREA
“HARDWARE AND ABRASIVES”
FEDERAL SUPPLY CLASS
HOMOGENEOUS COMMODITY
AREA WITHIN GROUP
“SCREWS”
5305 - 01 - 894 - 7621
FSC USUALLY NUMBERED IN
INCREMENTS OF 5 OR 10 WITHIN FSG
FSG HARDWARE
& ABRASIVES
53 05
10
SCREWS
NUTS AND WASHERS
NAILS, KEYS AND PINS
15
NEW FSC BREAKOUT OF MAJOR HEADINGS
NUMBERED IN INCREMENTS OF 01 WITHIN FSG
SCREWS
53 05
BOLTS
06
STUDS
07
FSC ADVANTAGES




Simple
Logical
Can be expanded to meet future needs
Possibilities;
---------- 99 Federal Supply Groups
---------- 99 Federal Supply Classes
Within each group
INTERNATIONAL USE OF FSC

NATO adopted STANAG 3150 in 1954

NATO Supply System is same as the United States
Supply System
บทที่ 7
หลักการพิสูจน์ ทราบสิ่ งอปุ กรณ์
(Item Identification)
FOUR BASIC STEPS
STEP 1
SELECTING THE
ITEM NAME
STEP 3
STEP 2
ITEM CLASSIFICATION
TECHNICAL RESEARCH
DEVELOPING
REF/CHAR DATA
STEP 4
NSN ASSIGNMENT
Item-of-Supply
(IOS)
- Concept of Item-of-Supply express in and fixed by Item
Identification
- Establish essential characteristics
to differentiate from other IOS
to detect duplicate IOS
Two kinds of Characteristics
Physical
= Describe appearance of item
Performance = Describe action of item
Establishing an AIN for an IOS
is the key
to Item Identification
Two Methods of Item Identification (II)
1. Descriptive Method
- Establish identity of IOS by Characteristic Data
2. Reference Method
- Establish identity of IOS by: Item Name
 Reference Number
 CAGE Code
 Federal Supply Class
Federal Item Identification Guide
(FIIG)


Self-Contained Document which
ask questions,
set rules and
provides guidance
Provides for data collection,
Coding,
transmittal and
retrieval
FEDERAL ITEM
IDENTIFICATION GUIDE (FIIG)
PROVIDES THE
METHOD FOR
DESCRIBING
ITEMS IN A
UNIFORM MANNER
ACCEPTABLE TO
THE FLIS
FEDERAL ITEM
IDENTIFICATION GUIDE (FIIG)
 DESCRIPTIVE GUIDE FOR ITEMS-OF-SUPPLY
 REQUIREMENTS AND REPLIES
(QUESTIONS AND ANSWERS)
 STANDARDIZED CODING DATA FOR FLIS
FIIG PURPOSE
 PROVIDES STANDARDIZED INPUT TO
THE FEDERAL LOGISTICS
INFORMATION SYSTEM (FLIS)
 PROVIDES FOR
DUPLICATION/SUBSTITUTION
SCREENING
TYPES OF FIIGS
 “A” FIIGS
 “T” FIIGS
 NEW CONCEPT FIIGS
FIIG CONTENTS
 GENERAL INFORMATION SECTION
 SECTION I : ITEM CHARACTERISTICS DATA
REQUIREMENTS
 SECTION III : SUPPLEMENTARY TECHNICAL AND
SUPPLY MANAGEMENT DATA
 APPENDIX A : REPLY TABLES
 APPENDIX B : REFERENCE DRAWING GROUPS
 APPENDIX C : TECHNICAL DATA TABLES
FIIG
Master Requirement Codes (MRC)
- Item Characteristics Data Requirements
- 4 - Position alpha code which represents the
Requirement
- FIIG Designates which are mandatory for a type
1 Item Identification
FIIG A239
Master Requirement Codes (MRC)

Describes miscellaneous IOS

Item Identification Type 4 (Partial Descriptive)

Contains MRC NAME (Approved or Non-Approved)
and MRC TEXT
* Methods of Item Identification
1. Descriptive Method
2. Reference Method.
* Provide seven types of Item Identification
1, 1A, 1B, 4, 4A, 4B และ 2
บทที่ 8
การบรรยายข้ อมูลพิสูจน์ ทราบสิ่ งอุปกรณ์
(Developing Reference/Characteristic)
ITEM IDENTIFICATION
MOST IMPORTANT
ESTABLISHMENT OF UNIQUE
IDENTIFICATION FOR ITEM OF
SUPPLY -- MOST IMPORTANT
ELEMENT OF CATALOGING
SYSTEM
ITEM IDENTIFICATION DATA
DESCRIPTIVE
METHOD
REFERENCE
METHOD
MANUFACTURER’S
PART NUMBER
ITEM-OF-PRODUCTION
ITEM-OF-SUPPLY
GOVERNMENT PROCURES
AND IDENTIFIES
12347 DOL15A21
CAGE AND REFERENCE NUMBER
7 types of Item Identification (II)
* Descriptive Method (DMII)
1. Type 1 (Full Descriptive)
2. Type 1A (Full Descriptive - Reference)
3. Type 1B (Full Descriptive - Reference Descriptive)
4. Type 4 (Partial Descriptive)
5. Type 4A (Partial Descriptive - Reference)
6. Type 4B (Partial Descriptive - Reference Descriptive)
7 types of Item Identification (II)
* Reference Method (RMII)
7. Type 2 (Reference Method)
Unavailable Technical Documentation
No Known Physical / Performance Characteristics Data
must use RMII to assign an NSN
DESCRIPTIVE METHOD
ITEM IDENTIFICATION
BASED ON CHARACTERISTIC DATA AVAILABLE
FULL DESCRIPTIVE
 PARTIAL DESCRIPTIVE

PURPOSES OF DMII

ESTABLISHES IDENTITY OF IOS

FACILITATE PHYSICAL INSPECTION

PERMIT COMPARISON
DESCRIPTIVE METHOD
ITEM IDENTIFICATION
DEVELOPMENT OF DESCRIPTIVE DATA GUIDED BY:

ITEM NAME

FIIG

TECH DATA
DESCRIPTIVE METHOD
ITEM IDENTIFICATION


PHYSICAL AND PERFORMANCE
CHARACTERISTICS
REFERENCE NUMBER
FULL DESCRIPTIVE METHOD II


APPROVED ITEM NAME (AIN)
FIIG (OTHER THAN A239)
.
ADVANTAGES OF FULL DMII


MAXIMUM UTILIZATION OF:
– SCREENING FOR DUPLICATION
– ON HAND ASSETS
IMPROVED PROPERTY DISPOSAL
FULL DMII TYPES

Type 1 FULL DESCRIPTIVE

Type 1A FULL DESCRIPTIVE REFERENCE

Type 1B FULL DESCRIPTIVE REFERENCE
DESCRIPTIVE
REQUIREMENTS FOR FULL DMII




APPROVED ITEM NAME
FIIG (OTHER THAN A239)
– REPLY TO ALL MANDATORY MRCs
REFERENCE NUMBER
USER AND MANAGEMENT DATA
PARTIAL DMII


AIN or NAIN
ANY FIIG
– INCLUDING A239
– MISSING A MANDATORY MRC
FIIG A239



AIN
NAIN
UNCODED CLEAR TEXT
REPLIES
PARTIAL DMII TYPES

Type 4 PARTIAL DESCRIPTIVE

Type 4A PARTIAL DESCRIPTIVE REFERENCE

Type 4B PARTIAL DESCRIPTIVE REFERENCE
DESCRIPTIVE
REQUIREMENTS FOR PARTIAL DMII





ITEM NAME
– AIN or NAIN
MISSING MRC
ANY FIIG
REFERENCE NUMBER
USER AND MANAGEMENT DATA
FULL DESCRIPTIVE METHOD II
MOST PREFERRED


MAXIMUM UTILIZATION OF:
– SCREENING FOR DUPLICATION
– ON HAND ASSETS
IMPROVED PROPERTY DISPOSAL
REFERENCE METHOD ITEM
IDENTIFICATION (RMII)
BASED SOLELY ON REFERENCE
TO
THE MANUFACTURER’S
ITEM IDENTIFYING PART NUMBER
RMII

LEAST DESIREABLE METHOD

IDENTIFIED BY REFERENCE NUMBER

PROVIDES BASIS FOR INDIRECT COMPARISON
RMII (TYPE 2) CONSISTS OF :




ITEM NAME
– AIN OR NAIN
FEDERAL SUPPLY CLASSIFICATION
REFERENCE NUMBER
– CAGE CODE / PART NO.
– RNVC 2
USER AND MANAGEMENT DATA
RMII



SCREENING LIMITED TO REFERENCE NUMBER
IMPAIRS CATALOGERS / REQUISITIONERS IN
MANUAL SCREENING
SUPPLY FUNCTIONS MUST RELY SOLELY ON
REFERENCE NUMBERS FOR COMPARISON
REFERENCE NUMBER
12347 DOL15A21
CAGE CODE
PART NUMBER
Commercial and Government Entity (CAGE) Code





SIZE
TYPE
WOMEN OWNED
ASSOCIATED CODE
REPLACEMENT CODE
7 types of Item Identification
1. Type 1 (Full Descriptive)
2. Type 1A (Full Descriptive - Reference)
3. Type 1B (Full Descriptive - Reference Descriptive)
4. Type 4 (Partial Descriptive)
5. Type 4A (Partial Descriptive - Refereence)
6. Type 4B (Partial Descriptive - Reference Descriptive)
7. Type 2 (Reference Method)
TYPE 1
TYPE 1A
TYPE 1B
TYPE 4
TYPE 4A
TYPE 4B
TYPE 2
บทที่ 9
การกาหนดหมายเลขประจาสิ่ งอุปกรณ์
(Assignment of a National Stock Number)
FOUR BASIC STEPS
STEP 1
STEP 2
SELECTING THE
ITEM NAME
STEP 3
ITEM CLASSIFICATION
TECHNICAL RESEARCH
DEVELOPING
REF/CHAR DATA
STEP 4
NSN ASSIGNMENT
NATO STOCK NUMBER
FEDERAL SUPPLY
CLASSIFICATION
NATIONAL ITEM
IDENTIFICATION
NUMBER (NIIN)
32 10 - 01 138 - 5895
FEDERAL
SUPPLY GROUP
FEDERAL
SUPPLY CLASS
NON SIGNIFICANT
SERIAL NUMBER
NATIONAL CODIFICATION
BUREAU (NCB) CODE
NATIONAL STOCK NUMBER
NATIONAL CODIFICATION BUREAU (NCB) CODE
CODE COUNTRY
00-----U.S. (BEFORE DIDS)
01-----U.S. (AFTER DIDS)
11-----NATO STANDARD
12-----GERMANY
13-----BELGIUM
14-----FRANCE
15-----ITALY
CODE COUNTRY
16-----CZECH REPUBLIC
17-----NETHERLANDS
18-----SOUTH AFRICA
19-----BRAZIL
20,21-CANADA
22-----DENMARK
23---GREECE
NATIONAL STOCK NUMBER
NATIONAL CODIFICATION BUREAU (NCB) CODE
CODE COUNTRY
24---ICELAND
25---NORWAY
26---PORTUGAL
27---TURKEY
28---LUXEMBOURG
29---ARGENTINA
30---JAPAN
CODE COUNTRY
31-----ISRAEL
32-----SINGAPORE
33-----SPAIN
34-----MALAYSIA
35-----THAILAND
36-----EGYPT
37-----REPUBLIC OF KOREA
NATIONAL STOCK NUMBER
NATIONAL CODIFICATION BUREAU (NCB) CODE
CODE COUNTRY
CODE COUNTRY
45-----INDONEASIA
38-----ESTONIA
46-----PHILIPPINES
39-----ROMANIA
47-----LITHUANIA
40-----SLOVAKIA
48-----FIJI
41-----AUSTRIA
49-----TONGA
42-----SLOVENIA
50-----BULGARIA
43-----POLAND
51-----HUNGARY
44-----UN
NATIONAL STOCK NUMBER
NATIONAL CODIFICATION BUREAU (NCB) CODE
CODE COUNTRY
CODE COUNTRY
52-----CHILE
59-----ALBANIA
53-----CROATIA
60-----KUWAIT
54-----MACEDONIA
61-----UKRAINE
55-----LATVIA
63-----MOROCCO
56-----OMAN
64-----SWEDEN
57-----RUSSIAN FEDERATION 65-----PAPUA NEW
58-----FINLAND
GUINEA
NATIONAL STOCK NUMBER
NATIONAL CODIFICATION BUREAU (NCB) CODE
CODE COUNTRY
CODE COUNTRY
99-----UNITED KINGDOM
66-----AUSTRALIA
67-----AFGHANISTAN
68-----GEORGIA
70-----SAUDI ARABIA
71-----ARAB EMIRATES
72-----INDIA
98-----NEW ZEALAND
NATIONAL STOCK NUMBER
6210-01-123-4567
= NSN
123-4567
= NONSIGNIFICANT SERIAL
NUMBER
6210-01-123-4567
=
NSN 01-123-4567
= NATIONAL ITEM
IDENTIFICATION
(NIIN)
NIIN IS PERMANENTLY ASSIGNED TO ONLY ONE ITEM
OF SUPPLY
NATIONAL STOCK NUMBER
ADVANTAGES
ADAPTABILITY
COMPATABILITY
EXPANSIBILITY
SIMPLICITY
STABILITY
UNIFORMITY
STOCK NUMBER DESIGNATIONS
NATIONAL STOCK NUMBER - ldentifies the 13 digit
Stock number used in all United States
materiel management functions
NATO STOCK NUMBER - ldentifies the 13 digit
Stock number used in all NATO
materiel management functions
PERMANENT SYSTEM CONTROL NUMBER
(PSCN)
ALWAYS NUMERIC
ALWAYS ALPHA
5305 - 01 - PAA - 0289
FSC
NCB
STANDARDIZATION DECISION
PERMANENT SYSTEM CONTROL NUMBER
(PSCN)

Restricted to Type 1 - Full Descriptive

Assigned to items not yet in the FCS

Removed from records when NSN is assigned to the item
WHAT IS FLIS ?
“FLIS” IS AN ADP SYSTEM DESIGNED TO
PROVIDE A CENTRALIZED DATA BANK IN
SUPPORT OF DoD, FEDERAL CIVIL AGENCIES,
AND FOREIGN GOVERNMENTS PARTICIPATING
IN THE INTEGRATED LOGISTICS SUPPORT
PROGRAM
ITEM OF SUPPLY (IOS)
LIFE CYCLE
1. ESTABLISHMENT OF IOS IN FLIS
2. MAINTENANCE OF THE ITEM IN FLIS
3. CANCELLATION OF IOS
INPUT
FLIS
PROCESSING
OUTPUT
SEGMENTS
SEGMENT A IDENTIFICATION DATA
SEGMENT B MOE RULE DATA
SEGMENT C REFERENCE NUMBER DATA
SEGMENT E STANDARDIZATION DECISION DATA
SEGMENT G FREIGHT CLASSIFICATION DATA
SEGMENT M CLEAR TEXT CHARACTERISTIC
SEGMENT H CATALOG MANAGEMENT DATA
SEGMENT R DATA ELEMENT ORIENTED WITH VALUE
SEGMENT T CANCELLATION/DELETION OF MOE RULE
SEGMENT V CODED CHARACTERISTICS DATA
SEGMENT W PACKAGING DATA
บทที่ 10
สรุป
What is Codification
— Standard rules and procedures
— Common tools
— Coordinated approach
— Comprehensive system of gathering
— Logistics information.
Codification answers
Logistics questions
Characteristics?
How to store?
How to Handle?
What is it?
What kind of money?
How long to keep?
How to order?
Price?
Answer = The NSN and reference related data
Elements of Codification
— Single item name
— Uniform classification
— Item identification
— Unique NATO stock Number (NSN)
— Data dissemination / publications
Why does Codification exist?
— Lessons of history
— Growth of inventories
— Need for efficiency
— Increase interoperability
— Requirements for logistics information
Codification’s benefits
— Improved requirement determination
— Coordinated procurement
— Effective use of assets
— Enhanced opportunities for standardization
— Simplified technical dialogue
— Improved government / industry relations
— Better information management
— Reduced equipment down time
Why are NSNs assigned?
— To prevent duplicated in supply system.
• Stock Number duplication leads to the purchasing of
unneeded supplies, wasted warehouse space, and other
inefficiencies.
— To provide a common language of supply understood with
in the supply system and between nations
— NSNs are normally assigned to items for which there is a
recurring need
NATO STANDARDIZATION AGREEMENTS
(STANAG)
NATO ADOPTS FCS
NATO STOCK NUMBER ESTABLISHED
FCS & NATO CODIFICATION
OF EQUIPMENT SYSTEM
ARE VERY SIMILAR


DEFENSE LOGISTICS AGENCY (DLA)
SIX DEFENSE SUPPLY CENTERS / DEPOTS
DEFENSE LOGISTICS SERVICES CENTER
ESTABLISHED AS CONTROL POINT FOR
FEDERAL CATALOG SYSTEM
SOURCE
DEFENSE INTEGRATED DATA SYSTEM
DIDS
BEFORE DISTRIBUTION SOURCE
AFTER DISTRIBUTION
ARMY
DATA BANK
PUB : CNTR
ARMY
ARMY
NAVY
DATA BANK
PUB : CNTR
NAVY
NAVY
A.F.
DATA BANK
PUB : CNTR
A.F.
AIR FORCE
MC.
DATA BANK
PUB : CNTR
MC.
MARINE
C.A.
DATA BANK
PUB : CNTR
C.A.
CIVIL AGENCY
ARMY
DLSC
DATA-BASE
PUB. CNTR.
NAVY
AIR FORCE
MARINE
CIVIL AGENCY
SAVINGS BY ADOPTING DIDS
1. ECONOMIES OF SCALE
2. MIMINUM DUPLICATION OF EFFORT
3. EXCHANGE OF INFO BETWEEN SERVICES & AGENCIES
4. STANDARDIZATION
FEDERAL ITEM IDENTIFICATION GUIDES
THERE ARE
OVER 1000 FIIGs
AND OVER 30,000
APPROVED ITEM NAMES
USED IN THE SYSTEM
NATIONAL/NATO STOCK NUMBER (NSN)
EXAMPLE
5305 - 12 - 999 - 9999
FSC
NON SIGNIFICANT
NCB
NUMBER
5305 - 01 - 999 - 9999
NIIN
STOCK NUMBERING CRITERIA
EXCLUSIONS

Not all items used by the Government are stock numbered
— Real Estate, (Buildings/Land)
— Blood, Blood By-Products
— Services
— Printed Charts, Form for lntra-Agency Use
NATIONAL STOCK NUMBER
NATIONAL CODIFICATION BUREAU (NCB) CODE
CODE COUNTRY
00-----U.S. (BEFORE DIDS)
01-----U.S. (AFTER DIDS)
11-----NATO STANDARD
12-----GERMANY
13-----BELGIUM
14-----FRANCE
15-----ITALY
CODE COUNTRY
16-----CZECH REPUBLIC
17-----NETHERLANDS
18-----SOUTH AFRICA
19-----BRAZIL
20,21-CANADA
22-----DENMARK
23---GREECE
NATIONAL STOCK NUMBER
NATIONAL CODIFICATION BUREAU (NCB) CODE
CODE COUNTRY
24---ICELAND
25---NORWAY
26---PORTUGAL
27---TURKEY
28---LUXEMBOURG
29---ARGENTINA
30---JAPAN
CODE COUNTRY
31-----ISRAEL
32-----SINGAPORE
33-----SPAIN
34-----MALAYSIA
35-----THAILAND
36-----EGYPT
37-----REPUBLIC OF KOREA
NATIONAL STOCK NUMBER
NATIONAL CODIFICATION BUREAU (NCB) CODE
CODE COUNTRY
CODE COUNTRY
45-----INDONEASIA
38-----ESTONIA
46-----PHILIPPINES
39-----ROMANIA
47-----LITHUANIA
40-----SLOVAKIA
48-----FIJI
41-----AUSTRIA
49-----TONGA
42-----SLOVENIA
50-----BULGARIA
43-----POLAND
51-----HUNGARY
44-----UN
NATIONAL STOCK NUMBER
NATIONAL CODIFICATION BUREAU (NCB) CODE
CODE COUNTRY
CODE COUNTRY
52-----CHILE
59-----ALBANIA
53-----CROATIA
60-----KUWAIT
54-----MACEDONIA
61-----UKRAINE
55-----LATVIA
63-----MOROCCO
56-----OMAN
64-----SWEDEN
57-----RUSSIAN FEDERATION 65-----PAPUA NEW
58-----FINLAND
GUINEA
NATIONAL STOCK NUMBER
NATIONAL CODIFICATION BUREAU (NCB) CODE
CODE COUNTRY
CODE COUNTRY
99-----UNITED KINGDOM
66-----AUSTRALIA
67-----AFGHANISTAN
68-----GEORGIA
70-----SAUDI ARABIA
71-----ARAB EMIRATES
72-----INDIA
98-----NEW ZEALAND
NORTH ATLANTIC TREATY ORGANIZATION
(NATO) STOCK NUMBER
NATO ITEM IDENTIFICATION NUMBER
5305
NATO
SUPPLY
CLASSIFICATION
-12 - 999 - 9999
NATIONAL
NON SIGNIFICANT SERIAL
CODIFICATION NUMBER ASSIGNED BY
BUREAU
A NSN
CODE
NATO ITEM IDENTIFICATION NUMBER STAYS WITH
THE ITEM OF SUPPLY AS LONG AS IT REMAINS IN
THE SUPPLY SYSTEM
NSN Statistics
— Approximately 16 million NATO Stock Numbers have
been assigned.
— Approximately 8 million by the U.S. and 8 million by the
other NATO countries
— Approximately 32 million reference numbers have been
registered on these NSNs.
— Approximately 1,500,000 manufactures and other
organizations are registered.
THE
RELATIONSHIP OF
CODIFICATION
TO
LOGISTICS
CODIFICATION LINK WITH LOGISTICS
MANAGEMENT
Q: SUPPLY
“Who manufactures
this item?”
“What’s the last
recorded price?”
“Who is taking
over management?”
A:
CODIFICATION
• Records initial logistics support decisions
• Records changes to those decisions throughout life cycle
• Provides means to notify all users of changes
• Offers flexibility
• Is a single, comprehensive source of information needed to
manage items
Q:
A:
CODIFICATION LINK WITH LOGISTICS
ACQUISITION
“What’s the mean
“Repair at Depot?”
time between failure?”
“What should
we call this?”
“Are we being
“Is tech data
overcharged?”
available?”
CODIFICATION
• NATO Stock Number (NSN)
* Records key logistics support decisions made by:
– Equipment Specialist
– Item Manager
– Codifier
* Data may change often, but NSN stays with item of
supply “Cradle to Grave”
Q:
CODIFICATION LINK WITH LOGISTICS
MAINTENANCE
“Will part B work
“What is it?”
if I can’t get part A?”
“Is the right part,
in the right place
at
the
right
time?”
“Is it stocked?”
“I & S?”
A: CODIFICATION
• Takes the “wrench turner” from repair manual to the supply
system
• Provides info on alternate sources, substitutable parts,
interchangeability, and so forth
• Shows who manages the spares, how they’re managed, how
much they cost, unit of issue, and so forth
CODIFICATION LINK WITH LOGISTICS
Q: STORAGE & DISTRIBUTION
“What’s the shelf life?”
“Dimensions?”
“Is it highly pilferable?”
A: CODIFICATION
• Indicates hazardous material content, precious metals
content, physical security requirements, other characteristics
• Is flexible to meet national requirements for storage &
distribution
CODIFICATION LINK WITH LOGISTICS
Q: DISPOSAL
“What is it?”
“Is demilitarization required?”
A: CODIFICATION
• Provides Demilitarization information
• Enables Precious Metals recovery
• Helps ensure environmentally sound disposal
“THE LINK”
NAME
L
O
G
I
S
T
I
C
S
ACQUISITION
CLASSIFICATION
ITEM IDENTIFICATION
SUPPLY MANAGEMENT
USER DATA
MAINTENANCE
MANAGEMENT DATA
STORAGE & DISTRIBUTION
CHARACTERISTICS
DISPOSAL
STANDARDIZATION
CANCELLATION DATA
C
O
D
I
F
I
C
A
T
I
O
N
ITEM IDENTIFICATION
NSN
Date
5905-00-7345199
12/07/97
INC
Item Name
Characteristics Data
05311 RESISTOR, FIXED, FILM
Type
RPDMRC
IIG No. Management Data
4
9
A001A0
Reference Data
Users
NCAGE PART NUMBER
MOE Code
73168
06-250144-036
YB
96214
418295-40
ZF
81349
MILR22684-1
ZN
F1621
ROM25-330UJ
ZR
GROUP
59
GROUPS and CLASSES
CONTENTS
Electrical and electronic equipment components
Mounting hardware, included in classes of this group, includes such
specially designed items as brackets, holders retainers, etc., Excluded from
classes in this group are such hardware items as screws (class 5305), bolts
(class 5307), washers (class 5310), rivets (5320) and other common items
indexed to specific classes, other than in group 59.
CLASS
5905
includes
WORDING
Resistors
Varistors, resistive ballast tubes, rheostats, resistor networks,
resistor mounting hardware, thermistors.
EXCLUDES
Resistance Wire
ITEM NAME
ITEM NAME
INC
RESISTOR, FIXED, FILM
05311
ITEM NAME DEFINITION
IIG
A001A0
A resistor whose ohmic value cannot be adjusted or varied. The
resistance element consists of either a thin layer of conductive material,
containing neither binders or insulating materials, deposited on an insulated
form or an alloy of metal and ceramic materials, usually fused to an
insulated form. Opposition to the flow of current is an inherent property of
the materials used and is manifest by the heat disipation in the resistor.
See also ATTENUATOR, FIXED and RESISTOR, FIXED, COMPOSITION.
Excludes carbon composition type resistors.
CLASS
5905
MANUFACTURER
NCAGE STATUS
96214
A
COMPANY NAME AND ADDRESS
TEXAS INSTRUMENTS INC DEFENSE SYSTEMS AND ELECTRONICS
2501 W UNIVERSITY
801 M/S 8064
MC KINNEY
UNITED STATES
TELEPHONE
214-952-4220
FAX
INTERNET
CHARACTERISTICS DATA
NSN
DESIGN
5905 - 00 - 7345199
ABPM
ITEM NAME
ADAQ
RESISTOR, FIXED, FILM
MRC Requirement Statement
Clear Text Reply
NAME
AAPP
AAPQ
AAQF
AAQH
AAQZ
AARB
ABPM
ADAQ
AEFB
STYL
ITEM NAME
ELECTRICAL RESISTANCE
RESISTANCE TOLERANCE IN PERCENT
AMBIENT TEMP IN DEG CELSIUS AT
FULL RATED POWER
TEMP RANGE OF TEMP
COEFFICIENT IN DEG CELSIUS
INCLOSURE METHOD
TERMINAL TYPE
BODY DIAMETER
BODY LENGTH
POWER DISSIPATION RATING IN WATTS
STYLE DESIGNATOR
RESISTOR, FIXED, FILM
330.000 OHMS
-5.000 / 5.000
70.0
-55.0 / 150.0
ENCAPSULATED
WIRE LEAD
0.098 INCHES NOMINAL
0.281 INCHES NOMINAL
14 AXIAL TERMINAL
0.250 FREE AIR EACH
END
เมือ่ ต้ องการใช้ ระบบ NCS
1. สมัครเป็ นสมาชิก NCS
2. ขอรับเป็ นประเทศรับการอุปถัมภ์ Non NATO Country
Sponsorship
3. ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ของระบบ NCS และ STANAG ต่ างๆ
4. ปรึกษาหารือประเทศทีใ่ ห้ การอุปถัมภ์ และ NAMSA
5. ขอรับ/ขอซื้อข้ อมูลข่ าวสารเกีย่ วกับ NCS
เมือ่ ต้ องการใช้ ระบบ NCS
6. จัดให้ มหี รือพัฒนาฐานข้ อมูล ตลอดจนโปรแกรมในการกาหนด
หมายเลขประจาพัสดุของกองทัพ ซึ่งจะอยู่ในความรับผิดชอบ
ของหน่ วย NCB ประเทศไทย
7. กาหนดนโยบายการจัดทาระบบการกาหนดหมายเลขประจาพัสดุ
เมื่อต้ องการใช้ ระบบ NCS
8. กาหนดระเบียบวิธีปฏิบัติภายในกองทัพให้ ชัดเจนระหว่ าง NCB กับ
Codification Office ของเหล่ าทัพ ทั้งนี้ การกาหนดหลักเกณฑ์
ขั้นตอนการปฏิบัติส่วนหนึ่งจะปฏิบัติตาม Basic Step ของ NCS คือ
- Item Name Assignment - Item Classification
- Item Identification
- Stock Number Assignment
- Publication Preparation
9. บารุ งรักษาฐานข้ อมูลและวิธีการของระบบ NCS ที่พฒ
ั นาขึน้ อย่ าง
ต่ อเนื่อง
NCS