การวิจัยในชั้นเรียน

Download Report

Transcript การวิจัยในชั้นเรียน

การวิจัยในชั้นเรียน
โดย
ณรงค์ ศักดิ์ บุณยมาลิก
[email protected]
ชื่อ
นายณรงค์ศกั ดิ์ บุณยมาลิก
คุณวุฒิ วท.บ. (ภูมิศาสตร์)
วท.ม. (การวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ )
มศว.ประสานมิตร
Ph.D.Educational Development จาก JMI.University, India
Pro. Certificate, Educational Planning, MI
คาถามสาหรับคนเป็ นครู
1. หน้าที่ของครู คืออะไร ?
2. ครู มืออาชีพคืออย่างไร ?
3. ครู เป็ นอาชีพชั้นสู ง เป็ นอย่างไร ?
คาตอบ
หน้าที่ของครู คือ
1. เป็ นผูจ้ ดั ประสบการณ์ เรี ยนรู้ให้เด็ก
2. เป็ นต้นแบบการเรี ยนรู้สาหรับเด็ก
3. เป็ นผูช้ ่วยเหลือเด็กให้เจริ ญงอกงาม
คาตอบ
ครู มืออาชีพ มีคุณสมบัติ คือ
1. สามารถวินิจฉัยเด็กได้
2. สามารถสร้างนวัตกรรมให้เด็กได้
3. สามารถประเมินความงอกงามของเด็กได้
คาตอบ
ครู เป็ นอาชีพชั้นสูงเพราะ
1. เป็ นภาระหน้าที่ของคนชั้น Top ของสังคม
2. เป็ นนักวิชาการและนักวิจยั ชั้นเรี ยน อยูต่ ลอดเวลา
3. เป็ นผูท้ รงคุณวุฒิ และมีจรรยาบรรณ
การกาหนดตาแหน่ งของครูที่ สปศ. เสนอ
1. ตาแหน่งครู ผชู้ ่วย
2. ตาแหน่งครู
2.1 ครู ปฏิบตั ิการ
2.2 ครู ชานาญการ
2.3 ครู เชี่ยวชาญ
2.4 ครู เชี่ยวชาญพิเศษ
- ครู ปฏิบตั ิการทาหน้าที่สอน
- ครู ชานาญการทาหน้าที่คิดเรื่ องและวิธีการ
สาหรับจะสอนด้วย
- ครู เชี่ยวชาญทาหน้าที่วินิจฉัยเด็กด้วย
- ครู เชี่ยวชาญพิเศษทาหน้าที่ขยายผลสิ่ งที่
ทาได้น้ นั ด้วย
การวิเคราะห์เด็ก คิดหาและ
สร้างเนื้อหาวิธีการสอนตลอดจน
ประเมินผลนี้คือขั้นตอนของ
การวิจยั สาหรับครู
การวิจยั (research)
คือ การศึกษาข้อความจริ งโดยใช้
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
การวิจยั ชั้นเรี ยน หรื อการวิจยั ใน
ชั้นเรี ยน (Classroom Research) คือ
การพัฒนาและดูแลเด็ก โดยใช้วิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์ เข้ามาช่วยพิสูจน์และ
ยืนยันผลการพัฒนาที่เกิดขึ้น
การวิจยั ชั้นเรี ยน เป็ นการวิจยั
ปฏิบตั ิการ (Action Research) ในตัว
และอาจจะเป็ นการวิจยั แบบ R & D
ด้วยก็ได้
ประโยชน์ ของการวิจัยในชั้นเรียน
1. เพื่อให้ครู เข้าใจเด็กได้
2. เพื่อให้ครู สร้างนวัตกรรมได้ตลอดเวลา
3. เพื่อให้ครู ใช้นวัตกรรมได้เหมาะสมกับเด็ก
4. เพื่อให้ครู ทราบพัฒนาการของเด็ก
5. เพื่อเผยแพร่ นวัตกรรมและผลการพัฒนาเด็ก
ขั้นตอนการวิจัยทั่วไป
1. กาหนดปั ญหา
2. ศึกษาเอกสารและตั้งสมมุติฐาน
3. รวบรวมข้อมูล
4. วิเคราะห์ขอ้ มูล
5. สรุ ปผลการศึกษา
ขั้นตอนการวิจัยในชั้นเรียน
1. ตรวจอาการและวินิจฉัยเด็กเพื่อกาหนดปั ญหา
2. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเพื่อหาวิธีแก้ปัญหานั้น
3. ทดลองแก้ปัญหา และวางแผนการรวบรวมข้อมูล
4. วิเคราะห์ขอ้ มูลและติดตามประเมินผล
5. สรุ ปผลการพัฒนาเด็ก
สรุปขั้นตอนการวิจัยชั้นเรียน
1. วินิจฉัยเด็ก
2. คิด treatment
3. ทดลองใช้ treatment
4. ประเมินผล
5. สรุ ปผล
ความแตกต่ างระหว่ างการวิจัยทั่วไปกับการวิจัยชั้ นเรียน
1. การวิจยั ทัว่ ไปมุ่งศึกษาปรากฎการณ์จริ งของธรรมชาติ แต่
การวิจยั ชั้นเรี ยนมุ่งศึกษาพัฒนาการของเด็ก
2. การวิจยั ทัว่ ไปใช้วธิ ีการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปร แต่
การวิจยั ชั้นเรี ยนมุ่งค้นหาวิธีการแก้ปัญหาเด็ก
3. การวิจยั ทัว่ ไปใช้ระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์อย่างเหนียว
แน่น แต่การวิจยั ชั้นเรี ยนใช้ระเบียบวิธีการศึกษาตามสภาพชั้นเรี ยน
4. การวิจยั ทัว่ ไปมี External Validity สูงส่ วนการวิจยั ชั้นเรี ยน
จะต้องมี Internal Validity
การตรวจอาการและวินิจฉัยเด็ก
1. ศึกษาเด็กทั้งชั้น
2. ศึกษาเด็กเป็ นกลุ่ม
3. ศึกษารายกรณี
การแก้ ปัญหาเด็ก
1. จัดทาแผนการสอนและสร้างหลักสูตรสาหรับเด็ก
2. จัดทาบันทึกการสอนหรื อบันทึกให้ treatment
3. การใช้นวัตกรรมการสอน
4. คิดวิธีการแก้ปัญหารู ปแบบอื่นๆหรื อเทคนิคต่างๆ
รูปแบบการทดลองแก้ ปัญหาเด็ก
1. การทดลองใช้แผนหรื อ Packgage การสอน
2. การทดลองใช้บนั ทึกการให้ treatment
3. การทดลองใช้นวัตกรรมการสอน
4. การให้วธิ ี การแก้ปัญหารู ปแบบอื่นๆ
การประเมินผลการทดลองกับเด็ก
1. ประเมินจาก Acheivement
2. ประเมินจากพฤติกรรม
3. ประเมินจากการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกาย
4. ประเมินจาก จิตใจ, ทัศนคติ ความคิดเห็น
5. อื่นๆ