ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
Download
Report
Transcript ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
เป็ นทวีปที่รวมแผ่ นดินใหญ่ ของประเทศออสเตรเลีย นิวกินี แทสมาเนีย
และเกาะต่ างๆทีอ่ ยู่บนไหล่ ทวีปเดียวกัน ในทางธรณีวทิ ยาแล้ วไหล่ ทวีปถือ
เป็ นส่ วนหนึ่งของทวีป สาหรับประเทศนิวซีแลนด์ น้ันไม่ ได้ อยู่บนไหล่ ทวีป
เดียวกัน แต่ เป็ นส่ วนหนึ่งของภูมิภาคทีใ่ หญ่ กว่ าทีเ่ รียกว่ าออสตราเลเชีย
สาหรับทวีปออสเตรเลียนีป้ ระกอบไปด้ วย 1 ประเทศ กับ 3 ดินแดน คือ
ประเทศออสเตรเลีย
เครือรัฐออสเตรเลีย (อังกฤษ: Commonwealth of Australia) เป็ นประเทศซึ่ง
ประกอบด้ วยแผ่ นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย เกาะแทสเมเนีย และเกาะอืน่ ๆใน
มหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ ประเทศเพือ่ นบ้ านของออสเตรเลีย
ประกอบด้ วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินี และติมอร์ ตะวันออกทางเหนือ หมู่เกาะ
โซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ ทาง
ตะวันออกเฉียงใต้ ชื่อออสเตรเลีย มาจากคาในภาษาละติน ว่ า australis ซึ่งหมายถึง
ทิศใต้ โดยมีตานานถึง "ดินแดนทางใต้ ทไี่ ม่ รู้จัก" (terra australis incognita) ชาว
ยุโรปเริ่มสารวจค้ นพบออสเตรเลียในพุทธศตวรรษที่ 22 และต่ อมาจึงกลายเป็ น
ดินแดนอาณานิคมของบริเตน โดยเริ่มต้ นเป็ นอาณานิคมนักโทษในนิวเซาท์ เวลส์
และจึงมีการตั้งอาณานิคมขึน้ อีกห้ าแห่ ง อาณานิคมทั้งหกรวมตัวเป็ นสหพันธรัฐในปี
พ.ศ. 2444 ออสเตรเลียมีชนพืน้ เมืองซึ่งอาศัยตั้งแต่ ก่อนชาวยุโรปเข้ ามา เรียกว่ า
ชาวอะบอริจิน
ชนพืน้ เมืองในออสเตรเลียก่อนการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป คือชาวอะบอริจิน และ
ชาวเกาะทอร์ เรสสเทรต ซึ่งชนเหล่านีม้ ีภาษาแตกต่ างกันนับร้ อยภาษา[2] ประมาณ
การว่ า มีชาวอะบอริจินมากกว่ า 780,000 คนอยู่ในออสเตรเลียในปี พ.ศ. 2331[3]การ
ค้ นพบออสเตรเลียของชาวยุโรปครั้งแรกทีม่ กี ารบันทึกไว้ เกิดขึน้ ในปี พ.ศ. 2149 เป็ น
เรือของชาวดัตช์ โดยกัปตัน Willem Janszoon ทาแผนทีช่ ายฝั่งส่ วนหนึ่งของ
ออสเตรเลีย ระหว่ างปี พ.ศ. 2149 และ 2313 มีเรือของชาวยุโรปประมาณ 54 ลาจาก
หลายชาติเดินทางมาทีอ่ อสเตรเลีย ซึ่งรู้จักในขณะนั้นว่ านิวฮอลแลนด์ [4] ในปี พ.ศ.
2313 เจมส์ คุก เดินทางมาสารวจออสเตรเลียและทาแผนทีช่ ายฝั่งตะวันออกของ
ออสเตรเลีย และได้ ประกาศให้ เป็ นส่ วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร ให้ ชื่อว่ านิวเซาท์
เวลส์ ต่ อมาสหราชอาณาจักรใช้ ออสเตรเลียเป็ นอาณานิคมสาหรับนักโทษ (penal
colony)[4] ฝูงเรือแรกเดินทางมาถึงออสเตรเลียทีอ่ ่าวซิดนีย์ในปี พ.ศ. 2330 ในวันที่
26 มกราคม (ค.ศ. 1788) ซึ่งต่ อมาเป็ นวันออสเตรเลีย ผู้ต้งั ถิ่นฐานยุคแรกส่ วนใหญ่
เป็ นนักโทษและครอบครัวของทหาร โดยมีผู้อพยพเสรีเริ่มเข้ ามาในปี พ.ศ. 2336 มี
การตั้งถิ่นฐานบนเกาะแทสเมเนีย หรือชื่อในขณะนั้นคือฟานไดเมนส์ แลนด์ ในปี
ตะวันตกในปี พ.ศ. 2372 และเริ่มมีการตั้งอาณานิคมแยกขึน้ มาอีกหลายแห่ ง ได้ แก่ เซาท์
ออสเตรเลีย วิกตอเรีย และควีนส์ แลนด์ โดยแยกออกมาจากนิวเซาท์ เวลส์ เซาท์ ออสเตรเลียไม่
เคยเป็ นอาณานิคมนักโทษ ในขณะที่วกิ ตอเรียและเวสเทิร์นออสเตรเลียยอมรับการขนส่ ง
นักโทษภายหลัง เรือนักโทษลาสุ ดท้ ายมาถึงนิวเซาท์ เวลส์ ในปี พ.ศ. 2391 หลังจากการรณรงค์
ยกเลิกโดยกลุ่มผู้ต้งั ถิ่นฐาน การขนส่ งนักโทษยุติอย่ างเป็ นทางการในปี พ.ศ. 2396 ในนิวเซาท์
เวลส์ และแทสเมเนีย และปี พ.ศ. 2411 ในเวสเทิร์นออสเตรเลียปี พ.ศ. 2394 เอดเวิร์ด ฮาร์
กรีฟส์ ค้ นพบสายแร่ ทอง ในที่ๆเขาตั้งชื่อว่ าโอฟี ร์ (Ophir) ในนิวเซาท์ เวลส์ ทาให้ เกิดยุคตื่น
ทอง นาคนจานวนมากเดินทางมาออสเตรเลีย ในปี พ.ศ. 2444 หกอาณานิคมในออสเตรเลีย
รวมตัวกันเป็ นสหพันธรัฐ ในชื่อเครือรัฐออสเตรเลีย (Commonwealth of Australia)
ประกอบด้ วยรัฐนิวเซาท์ เวลส์ รัฐวิกตอเรีย รัฐควีนส์ แลนด์ รัฐเซาท์ ออสเตรเลีย รัฐเวสเทิร์
นออสเตรเลีย และรัฐแทสเมเนีย รวมหกรัฐเข้ าอยู่ภายใต้ รัฐธรรมนูญหนึ่งเดียว เฟเดอรัล
แคพิทัลเทร์ ริทอรีก่อตั้งขึน้ ในปี พ.ศ. 2454 เป็ นเมืองหลวงของสหพันธรัฐ จากส่ วนหนึ่งของ
รัฐนิวเซาท์ เวลส์ บริเวณแยส-แคนเบอร์ รา และเริ่มดาเนินงานรัฐสภาในแคนเบอร์ ราในปี พ.ศ.
2470ในปี พ.ศ. 2454 นอร์ เทิร์นเทร์ ริทอรี แยกตัวออกมาจากเซาท์ ออสเตรเลีย และเข้ าเป็ น
ดินแดนในกากับของสหพันธ์ ออสเตรเลียสมัครใจเข้ าร่ วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยมี
ออสเตรเลียประกาศใช้ บทกฎหมายเวสต์ มินสเตอร์ คริสต์ ศักราช 1931 (พ.ศ. 2474)
ในปี พ.ศ. 2485 โดยมีผลบังคับใช้ ย้อนไปตั้งแต่ 3 กันยายน พ.ศ. 2482[10] ซึ่งเป็ นการ
ยุติบทบาทนิติบัญญัติของสหราชอาณาจักรในออสเตรเลียเกือบทั้งหมด ใน
สงครามโลกครั้งทีส่ อง ออสเตรเลียประกาศสงครามกับเยอรมนีพร้ อมกับสหราช
อาณาจักรและฝรั่งเศส หลังจากเยอรมนีบุกโปแลนด์ [11] ออสเตรเลียส่ งทหารเข้ า
ร่ วมสมรภูมิในยุโรป เมดิเตอร์ เรเนียน และแอฟริกาเหนือ แผ่ นดินออสเตรเลียโดน
โจมตีโดยตรงครั้งแรกจากการเข้ าตีโฉบฉวยทางอากาศของญีป่ ุ่ นทีด่ าร์ วนิ [12]
ออสเตรเลียยุตินโยบายออสเตรเลียขาว โดยดาเนินการขั้นสุ ดท้ ายในปี พ.ศ. 2516[13]
พระราชบัญญัติออสเตรเลีย คริสต์ ศักราช 1986 (พ.ศ. 2529) ยกเลิกบทบาทของส
หราชอาณาจักรในอานาจนิติบัญญัติและตุลาการของออสเตรเลียโดยสิ้นเชิง ในปี
พ.ศ. 2542 ออสเตรเลียจัดการลงประชามติ ว่ าจะให้ ประเทศเป็ นสาธารณรัฐ มี
ประธานาธิบดีแต่ งตั้งจากรัฐสภาหรือไม่ ซึ่งคะแนนเสี ยงเกือบ 55% ลงคะแนน
ปฏิเสธ[14]
อาคารรัฐสภาในแคนเบอร์ รา เปิ ดใช้ แทนอาคารหลังเดิมในปี พ.ศ. 2531ออสเตรเลียมีการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีรูปแบบรัฐบาลเป็ นสหพันธรัฐ และ
ระบอบราชาธิปไตยภายใต้ รัฐธรรมนูญ ประมุขแห่ งรัฐของออสเตรเลียคือสมเด็จพระ
ราชินีนาถแห่ งออสเตรเลีย ซึ่งพระองค์ ปัจจุบนั คือสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 พระ
อิสริยยศในออสเตรเลียคือ Elizabeth the Second, by the Grace of God Queen of
Australia and Her other Realms and Territories, Head of the Commonwealth
ตาแหน่ งผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ (อังกฤษ: governor-general) เป็ นผู้แทนพระองค์
ในออสเตรเลียของพระประมุขซึ่งประทับอยู่ในสหราชอาณาจักร รัฐธรรมนูญของ
ออสเตรเลียระบุว่า "อานาจบริหารเป็ นของสมเด็จพระราชินี และทรงใช้ อานาจนั้นผ่ าน
ผู้สาเร็จราชการในฐานะผู้แทนพระองค์ ของสมเด็จพระราชินี"[16] อานาจของผู้สาเร็จ
ราชการนั้นรวมถึงการแต่ งตั้งรัฐมนตรีและผู้พพิ ากษา การยุบสภา และการลงนามบังคับใช้
กฎหมาย ผู้สาเร็จราชการคนปัจจุบนั คือพลตรีไมเคิล เจฟเฟอรี ผู้สาเร็จราชการยังดารง
ตาแหน่ งผู้บญ
ั ชาการทหารสู งสุ ดด้ วย[16] ในทางธรรมเนียมปฏิบตั นิ ้ัน ผู้สาเร็จราชการจะ
ใช้ อานาจตามคาแนะนาของรัฐมนตรี[17] สภาบริหารสหพันธรัฐ (อังกฤษ: Federal
Executive Council) เป็ นองค์ กรทีท่ าหน้ าทีใ่ ห้ คาแนะนาแก่ ผู้สาเร็จราชการ
โดยมีผู้สาเร็จราชการเป็ นประธานการประชุ ม และรัฐมนตรีทุกคนมีสมาชิกภาพตลอดชีพ
แต่ ในทางปฏิบตั จิ ะเรียกประชุ มเฉพาะรัฐมนตรีคณะปัจจุบนั [18] รัฐบาลจะมาจากพรรคที่
ได้ เสี ยงข้ างมากในสภาผู้แทนราษฎร ออสเตรเลียมีรัฐสภาเก้ าแห่ ง หนึ่งสภาของสหพันธ์
หกสภาของแต่ ละรัฐ และสองสภาของแต่ ละดินแดน รัฐสภาของสหพันธ์ ใช้ ระบบสภาคู่
ประกอบด้ วยสภาผู้แทนราษฎร (House of Representative) และวุฒสิ ภา (Senate) สภา
ผู้แทนราษฎรประกอบด้ วยสมาชิก 150 คน มาจากการเลือกตั้ง โดยแบ่ งเป็ นเขตเลือกตั้ง มี
ผู้แทนเขตละหนึ่งคน วุฒสิ ภามีสมาชิก 76 คน มาจากแต่ ละรัฐ รัฐละ 12 คน และจาก
ดินแดน (เขตเมืองหลวงและนอร์ เทิร์นเทร์ ริทอรี) ละสองคน[19] ทั้งสองสภาจัดการ
เลือกตั้งทุกสามปี สมาชิกวุฒสิ ภามีวาระ 6 ปี โดยการเลือกตั้งแต่ ละครั้งจะเป็ นเพียง
ครึ่งหนึ่งของสมาชิกทั้งหมด ออสเตรเลียมีพรรคการเมืองหลักสามพรรค ได้ แก่ พรรค
แรงงานออสเตรเลีย พรรคเสรีนิยม และพรรคชาติ ตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2465 รัฐบาลของสหพันธ์
มาจากพรรคแรงงานหรือเป็ นรัฐบาลผสมของพรรคเสรีนิยมและพรรคชาติ[20] ปัจจุบนั
นายกรัฐมนตรีเควิน รัดด์ มาจากพรรคแรงงาน พรรคอืน่ ๆที่มีบทบาทได้ แก่ ออสเตรเลียน
เดโมแครต และออสเตรเลียนกรีนส์ โดยมักได้ ทนี่ ั่งในวุฒสิ ภา
รัฐและดินแดน
แผนทีร่ ัฐและดินแดนของออสเตรเลีย ออสเตรเลียแบ่ งออกเป็ นหกรัฐ ได้ แก่ รัฐนิว
เซาท์ เวลส์ รัฐควีนส์ แลนด์ รัฐเซาท์ ออสเตรเลีย รัฐแทสเมเนีย รัฐวิกตอเรีย และ
รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย นอกจากนีย้ งั มีดินแดนหลักๆบนแผ่ นดินใหญ่ สองแห่ ง ได้ แก่
นอร์ เทิร์นเทร์ ริทอรี และออสเตรเลียนแคพิทอลเทร์ ริทอรี (เขตเมืองหลวง) และ
ดินแดนเล็กน้ อยอืน่ ๆ โดยส่ วนใหญ่ แล้ว ดินแดนนั้นมีลกั ษณะเดียวกับรัฐ แต่ รัฐสภา
กลางสามารถค้ านกฎหมายใดก็ได้ จากสภาของดินแดน ในขณะทีใ่ นระดับรัฐ
กฎหมายสหพันธ์ จะค้ านกับกฎหมายรัฐได้ เพียงในบางด้ านตามมาตรา 51 ของ
รัฐธรรมนูญ อานาจนิติบัญญัติอนื่ ๆนั้นเป็ นของรัฐสภาของแต่ ละรัฐ แต่ ละรัฐและ
ดินแดนมีสภานิติบัญญัติของตัวเอง โดยในควีนสแลนด์ และดินแดนทั้งสองแห่ งเป็ น
ลักษณะสภาเดี่ยว ในขณะทีใ่ นรัฐทีเ่ หลือเป็ นแบบสภาคู่ สมเด็จพระราชินีมีผู้แทน
พระองค์ ในแต่ ละรัฐ เรียกว่ า governor และในนอร์ เทิร์นเทอร์ ริทอรี administrator
ส่ วนในเขตเมืองหลวง ใช้ ผู้แทนพระองค์ ของเครือรัฐ (governor-general)
ภูมิศาสตร์
ออสเตรเลียมีลกั ษณะภูมิประเทศโดยทัว่ ไปร้ อยละ 65 เป็ นทีร่ าบสู ง และตั้งอยู่ทาง
ทิศตะวันตก พืน้ ทีส่ ่ วนใหญ่ เป็ นทะเลทรายทีแ่ ห้ งแล้งและทุรกันดาร และมีขนาด
ทะเลทรายรวมกันใหญ่ เป็ นอันดับ 2 ของโลกรองจากทะเลทรายสะฮาราในทวีป
แอฟริกา ชาวออสเตรเลียเรียกดินแดนทีแ่ ห้ งแล้งและทุรกันดารนีว้ ่ า "เอาต์ แบ็ก"
ประชากรออสเตรเลียส่ วนใหญ่ อาศัยอยู่ในบริเวณชายฝั่งด้ านตะวันออกหลัง
เทือกเขาเกรตดิไวดิง ซึ่งแบ่ งแยกชายฝั่งตะวันออกกับเขตเอาต์ แบ็ก มีแม่ นา้ สาย
สาคัญ ๆ อยู่ทางภูมิภาคตะวันออก ได้ แก่ แม่ นา้ ดาร์ ลงิ แม่ นา้ เมอร์ เรย์ ส่ วน
ตอนกลางของประเทศที่เรียกว่ า "เขตเซนทรัลโลว์ แลนด์ " เป็ นเขตแห้ งแล้ งทีส่ ุ ด
แม่ นา้ ลาธารต่ าง ๆ อาจแห้ งสนิทเป็ นเวลาหลายปี เนื่องจาก ทวีป ออสเตรเลียมี
สภาพเป็ นเกาะทาให้ มีสิ่งมีชวิตทีแ่ ตกต่ างจากที่อนื่ มาก เนื่องจากว่ า ไม่ ได้ เกิดการ
อพยพย้ ายถิ่น ของสิ่ งมีชีวติ บนแผ่นดิน อืน่ ๆมา ยกตัวอย่ างเช่ น จิงโจ้ โคอาลาเป็ น
ต้ น
ประชากร
ประเทศออสเตรเลียมีประชากรประมาณ 21 ล้ านคนส่ วนใหญ่ สืบเชื้อสายมาจากชาวยุโรป
ทีม่ าตั้งรกรากในช่ วงคริสต์ ศตวรรษที่ 19 และ 20 หลังจากสงครามโลกครั้งที่สองจนถึงปี พ.ศ.
2543 มีผ้ อู พยพใหม่ เข้ ามาถึง 5.9 ล้านคนทาให้ ประชากรเกือบสองในเจ็ดของออสเตรเลียเกิดใน
ต่ างประเทศหลังจากการเลิกนโยบายออสเตรเลียขาวในปี พ.ศ. 2516 รัฐบาลออสเตรเลียได้
พยายามส่ งเสริมความสามัคคีระหว่ างเชื้อสายต่ าง ๆบนพืน้ ฐานของพหุวฒ
ั นธรรม ในช่ วงปี พ.ศ.
2548 ถึง 2549 มีผ้ อู พยพเข้ ามากกว่ า 131,000 คน ส่ วนใหญ่ มาจากทวีปเอเชียและโอเชียเนีย
ประชากรพืน้ เมืองของออสเตรเลีย ได้ แก่ ชาวอะบอริจินบนแผ่นดินหลักและชาวเกาะช่ อง
แคบทอร์ เรสซึ่งมีท้งั หมด 410,003 คนในปี พ.ศ. 2544 (ร้ อยละ 2.2 ของประชากร) ออสเตรเลียไม่
มีศาสนาประจาชาติ จากการสารวจสามะโนครัวในปี พ.ศ. 2549 ประชากรประมาณ 12.6 ล้านคน
(64%) ประกาศตัวเป็ นคริสเตียน ในจานวนนี้ 5.1 ล้านคน (26%) เป็ นโรมันคาทอลิก และ 3.7
ล้านคน (19%) เป็ นแองกลิกนั ประชากร 3.7 ล้ านคนถูกจัดอยู่ในกลุ่มไม่ นับถือศาสนา ซึ่งรวมถึง
แนวความเชื่อแบบมนุษยนิยม อเทวนิยม agnosticism (ลัทธิไม่ เชื่อศาสนา) และ rationalism
(ลัทธิถือเหตุผล) ประชากรเกือบหนึ่งล้านคน (5%) นับถือศาสนาอืน่ ๆ รวมถึงพุทธศาสนา
ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู และศาสนาเชน[26] อย่างไรก็ตาม มีประชากรเพียง 1.5 ล้านคน
(7.5%) ทีเ่ ข้ าโบสถ์ เป็ นประจาทุกสั ปดาห์
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมของออสเตรเลียมีลกั ษณะเป็ นวัฒนธรรมตะวันตก โดยเฉพาะแบบ
อังกฤษหรือแองโกล-เคลติก แต่ กย็ งั มีเอกลักษณ์ เฉพาะซึ่งพัฒนามาจาก
สภาพแวดล้อมและชนพืน้ เมือง ในระยะหลัง วัฒนธรรมของออสเตรเลียยังได้ รับ
อิทธิพลจากวัฒนธรรมอเมริกนั
รัฐแทสเมเนีย
เกาะแทสเมเนีย เป็ นรัฐหนึ่งของประเทศออสเตรเลีย ตั้งอยู่ห่างออกไปราว 240 กม.
(150 ไมล์) ทางตอนใต้ ของส่ วนตะวันออกของทวีปออสเตรเลีย โดยถูกกั้นด้ วยช่ อง
แคบบาสส์ แทสเมเนียมีประชากรราว 456,652 คน (จากการสารวจสามะโน
ประชากรในปี ค.ศ. 2001) และมีพนื้ ที่ 68,332 กม.² (26,383 ตารางไมล์) จากการ
สารวจเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 2003 พบว่ าแทสเมเนียมีประชากรทีอ่ ยู่อาศัยจริง
ราว 476,199 คน ชื่อเล่นของแทสเมเนียคือ เกาะแอปเปิ ล เนื่องจากมีการปลูกแอปเปิ ล
มาก และรูปร่ างของเกาะทีเ่ หมือนผลแอปเปิ ล
เมืองหลวงและเมืองขนาดใหญ่ ทสี่ ุ ดของเกาะคือเมืองโฮบาร์ ต ซึ่งรวมถึงชุ มชน
โฮบาร์ ต เกลนอร์ ชี และ แคลเรนซ์ เมืองใหญ่ ที่มีประชากรจานวนมากอีกแห่ งได้ แก่
เมืองลอนเซสตัน ทางตอนเหนือ และเดวอนพอร์ ต กับเบอร์ นีทางตะวันตกเฉียง
เหนือของเกาะ
เกาะแมกควารี ซึ่งเป็ นเกาะเล็กของทวีปแอนตาร์ กติก ก็อยู่ในความปกครองของ
รัฐแทสเมเนีย แทสเมเนียยังเป็ นทีร่ ู้จักในเรื่องของธรรมชาติทงี่ ดงาม มีสัตว์ หายากที่
พบได้ บนเกาะนีท้ ี่เดียว ได้ แก่แทสเมเนียนเดวิล
ประเทศปาปัวนิวกินี
ปาปัวนิวกินี (Papua New Guinea) เป็ นประเทศในแถบโอเชียเนีย เป็ นพืน้ ที่
ตะวันออกของเกาะนิวกินี (พืน้ ทีท่ างตะวันตกเป็ นของจังหวัดปาปัวของประเทศ
อินโดนีเซีย) ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ ของมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางเหนือของ
ประเทศออสเตรเลีย และอยู่ทางตะวันตกของหมู่เกาะโซโลมอน ปัจจุบนั ปาปัวนิวกินี
เป็ นประเทศสั งเกตการณ์ ในสมาคมประชาชาติแห่ งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน)
ประวัติศาสตร์
มีชาวพืน้ เมืองชื่อว่ า ชาวปาปวน ประเทศปาปัวนิวกินีเป็ นประเทศทีเ่ ปลี่ยนเจ้ าของอยู่
บ่ อย ๆ เช่ น ประเทศอังกฤษ ประเทศเยอรมนี ประเทศออสเตรเลีย
การเมือง
ปกครองแบบสภาเดียว
ภูมิศาสตร์
มีลกั ษณะเป็ นภูเขาและชายฝั่งทะเลเป็ นเกาะทีใ่ หญ่ เป็ นอันดับที3่ ของโลก (รองจาก
เกาะกรีนแลนด์ และเกาะบอร์ เนียว) ตั้งอยู่ทศิ เหนือของประเทศออสเตรเลีย ทิศตะวันตก
ติดกับอินโดนีเซีย
เศรษฐกิจ
ปาปัวนิวกินีเป็ นประเทศทีอ่ ุดมสมบูรณ์ ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ เช่ น ป่ าไม้ ทรัพยากรทางทะเล
ทองคา ทองแดง นา้ มันดิบ แก๊ สธรรมชาติ รายได้ หลักของประเทศขึน้ อยู่กบั อุตสาหกรรมการ
ประมง เหมืองทองแดง เหมืองทองคา และการท่ องเทีย่ ว ส่ วนด้ านเกษตรกรรม ส่ วนใหญ่ เป็ นการ
เพาะปลูกกาแฟ โกโก้ และมะพร้ าว ประเทศคู่ค้าทีส่ าคัญ ได้ แก่ ประเทศออสเตรเลีย ประเทศ
สิ งคโปร์ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศนิวซีแลนด์ สิ นค้ าส่ งออกทีส่ าคัญ ได้ แก่ ทองคา นา้ มันดิบ กาแฟ
ทองแดง ซุ ง กาแฟ และสั ตว์ ทะเล ส่ วนสิ นค้ านาเข้ าทีส่ าคัญ ได้ แก่ นา้ มัน เครื่องจักรและอุปกรณ์
การขนส่ ง ส่ วนประกอบรถยนต์ อาหาร และเชื้อเพลิง
รัฐบาลควบคุมสถานะการคลังได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ อัตราเงินเฟ้อตา่ อัตราแลกเปลีย่ นมี
เสถียรภาพ เศรษฐกิจได้ รับผลดีจากผลผลิตเหมืองแร่ ทเี่ พิม่ ขึน้ และราคาสิ นค้ าส่ งออกเพิม่ สู งขึน้
ได้ แก่ ทอง นา้ มันดิบ ทองแท่ ง เป็ นผลให้ การส่ งออกในช่ วงไตรมาสของปขยายตัวร้ อยละ 14 เมือ่
เทียบกับปี ก่ อน และคาดว่ าในปี นีด้ ุลบัญชีเดินสะพัดจะเกินดุลและเศรษฐกิจโดยรวมจะเติบโตใน
ทิศทางทีด่ ี อย่างไรก็ตาม ในเดือน มี.ค. 2549 UN ได้ เสนอปรับสถานะการพัฒนาของปาปัว
นิวกินีจากประเทศกาลังพัฒนาเป็ นประเทศพัฒนาน้ อยทีส่ ุ ด (LDCs) ซึ่ง นรม. Sir Michael
ปฏิเสธข้ อเสนอดังกล่าว
รัฐบาลพยายามดึงดูดการลงทุนจากต่ างประเทศ ขยายการส่ งออก (Export-led
economy) แสวงหาความร่ วมมือกับประเทศในเอเชีย (look north) และมีบทบาทนา
ในกลุ่มประเทศหมู่เกาะแปซิฟิก (Work Pacific) การลงนามความตกลงทางการค้ า
กับนิวซีแลนด์ เมื่อเดือนมิ.ย. 2549 ทาให้ ปาปัวนิวกินีส่งออกสิ นค้ าเกษตร เช่ น
มะพร้ าว เผือก ขิง ไปยังตลาดนิวซีแลนด์ นอกจากนี้ ปาปัวนิวกินียงั ได้ รับโควตาการ
ส่ งออกปลาทูน่าไปยังตลาด EU เพิม่ ขึน้ ในการประชุ มรัฐมนตรีการค้าของเอเปคค
รั้งที่ 12 ปาปัวนิวกินีตอบรับทีจ่ ะยกเลิกการอุดหนุนสิ นค้ าส่ งออกทั้งหมดภายในปี
2556
ประชากร
ปาปัวนิวกินี ประกอบด้ วยชนหลายเผ่ าพันธุ์ เช่ น ชาวเมลานีเชียน ปาปัว เนกริด ไม
โครนีเซียน และโปลินีเซียน มีภาษาราชการเป็ นภาษาอังกฤษ เนื่องจากเคยเป็ น
เมืองขึน้ ของสหราชอาณาจักร แต่ มีคนพูดได้ น้อย ส่ วนมากจะพูดภาษา ครีโอล แต่
อย่ างไรก็ตาม ประชากรประเทศนีม้ ีประมาณ 5 ล้านคน และมีภาษามากกว่ า 800
ชนิด ศาสนา คริสต์ นิกายโรมันคาทอลิกเป็ นหลัก แต่ กม็ ีลทั ธิศาสนาตามความเชื่ออืน่
ๆ อีกมากมาย
วัฒนธรรม
ประเทศปาปัวนิวกินีประกอบไปด้ วยชนเผ่ าเป็ นจานวนมาก มีภาษากว่ า 800 ภาษา
ทาให้ มีสังคมแบบชนเผ่ าอย่ างมากในประเทศ ทาให้ มีประเพณีทแี่ ตกต่ างกันถึง 200
ประเพณี
ประเทศนิวซีแลนด์
นิวซีแลนด์ (อังกฤษ: New Zealand ; เมารีนิวซีแลนด์ : Aotearoa [เอาเตอารัว]
หมายถึง "ดินแดนแห่ งเมฆยาวสี ขาว" หรือ Niu Tireni [นิวทิเรนี] ซึ่งเป็ นการทับ
ศัพท์ จากภาษาอังกฤษ) เป็ นประเทศที่ประกอบด้ วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก
ๆ จานวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ นิวซีแลนด์ เป็ นประเทศ
ทีห่ ่ างไกลจากประเทศอืน่ ๆ มากทีส่ ุ ด ประเทศทีอ่ ยู่ใกล้ทสี่ ุ ดคือประเทศออสเตรเลีย
ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยทีม่ ี ทะเลแทสมัน
กั้นกลาง ดินแดนเดียวทีอ่ ยู่ทางใต้ คอื ทวีปแอนตาร์ กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโด
เนีย ฟิ จิ และตองกา นิวซีแลนด์ ได้ กลายเป็ นอาณานิคมของอังกฤษด้ วยสนธิสัญญา
ไวทังกิ (Treaty of Waitangi)
เมื่อปี พ.ศ. 2383 ซึ่งได้ สัญญาไว้ ว่าจะให้ "complete chieftainship" (tino
rangatiratanga) แก่ชนเผ่ าเมารีของนิวซีแลนด์ ในปัจจุบัน ความหมายทีแ่ น่ นอนของ
สนธิสัญญานีย้ งั คงเป็ นข้ อพิพาท และยังคงเป็ นเรื่องทีก่ ่อให้ เกิดการแบ่ งแยกและ
ความไม่ พอใจ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2383 นิวซีแลนด์ ได้ พฒ
ั นาอย่ างต่ อเนื่อง จนเป็ น
ประเทศอิสระทีม่ ีรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตย และอยู่ภายใต้ พระมหากษัตริย์ของ
กษัตริย์แห่ งนิวซีแลนด์ ซึ่งเป็ นพระมหากษัตริย์พระองค์ เดียวกับประเทศอืน่ ใน
เครือจักรภพ นิวซีแลนด์ รับผิดชอบการต่ างประเทศของหมู่เกาะคุกและนีอูเอซึ่ง
ปกครองตนเอง และปกครองโตเกเลาเป็ นเมืองขึน้ พืน้ ทีส่ ่ วนใหญ่ ของนิวซีแลนด์ มี
ภูมิอากาศเขตอบอุ่น และภูมิประเทศทีม่ ีความหลากหลายและสวยงาม เศรษฐกิจ
ของนิวซีแลนด์ เน้ นการค้ าโดยมีฐานจากการเกษตร ชาวนิวซีแลนด์ โดยทัว่ ไปเดินทาง
มาก และสนับสนุนการร่ วมมือกันระหว่ างประเทศและสิ่ งแวดล้อม กิจกรรม
ภายนอกเป็ นกิจกรรมที่นิยมกันโดยเฉพาะกีฬาต่ าง ๆ คือ รักบี้ คริกเกต และ เนตบอล
รวมถึง กีฬาเอกซ์ ตรีมสปอร์ ตและการเดินไกล
ประวัติศาสตร์
นิวซีแลนด์ น้ันเดิมถูกปกครองโดยชาวเมารี แต่ มีนักล่องเรือชาวดัตช์ ชื่อ อเบล
แอนชุ น ทัสแมน ได้ ล่องเรือเลียบมาทางออสเตรเลียและได้ พบเกาะนิวซีแลนด์ เข้ า
และได้ พบกับชาวเมารีที่ส่วนใหญ่ น้ันเป็ นมิตรจึงได้ ต้งั ชื่อเกาะนี้ว่าNieuw Zeeland
หรือ New Zealand จากนั้นชื่อเสี ยงของนิวซีแลนด์ กเ็ ป็ นทีร่ ู้จักกันในยุโรป เพราะมี
ธรรมชาติทสี่ วยงามเหมาะกับการเพาะปลูกพืชและเลีย้ งสั ตว์ มาก ต่ อมากัปตันเจมส์
คุก ได้ ล่องเรือมาบ้ าง แต่ โชคดีทมี่ ีคนบนเรือสามารถพูดภาษาไวทิงกิได้ บ้าง จึงเจรจา
กับชาวเมารีได้ และพบว่ าชาวเมารีเป็ นชนเผ่ าสายเลือดนับรบ จึงได้ ตกลงแลกพืช
พันธุ์กบั อาวุธจากทางยุโรป และต่ อมาเมื่อชาวเมารีมีอาวุธมากจึงสู้ รบกันจนชนเผ่ า
เมารีลดลง ทางอังกฤษจึงได้ ส่งคนมาทาสั ญญา ที่มีชื่อว่ า สนธิสัญญาไวทังกิ ขึน้ และ
ส่ งคนมาสาเร็จราชการแทนชื่อ วิลเลียม ฮอบสั น
การเมืองการปกครอง
นิวซีแลนด์ มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา และราชาธิปไตยภายใต้
รัฐธรรมนูญ ประมุขแห่ งรัฐคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และมีตาแหน่ งผู้สาเร็จ
ราชการแทนพระองค์ เป็ นผู้แทนพระองค์ ในนิวซีแลนด์
รัฐธรรมนูญของนิวซีแลนด์ เป็ นแบบไม่ เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร คือไม่ มีกฎหมายฉบับใดฉบับ
หนึ่งทีบ่ ัญญัติถงึ ระบบการเมืองการปกครอง แต่ จะมีกฎหมายอืน่ ๆ หลายฉบับมาประกอบ
กัน เช่ น Constitution ACT1986 ซึ่งเป็ นพระราชบัญญัตทิ ไี่ ด้ รวบรวมเอาหลักกฎหมาย
รัฐธรรมนูญทีก่ ระจัดกระจายอยู่มาบัญญัตไิ ว้ ด้วยกัน และพระราชบัญญัตเิ ลือกตั้ง เป็ นต้ น
แต่ พระราชบัญญัตเิ หล่ านีไ้ ม่ มีบทบัญญัติที่ว่า บทบัญญัติของกฎหมายใดทีข่ ดั แย้ งกับ
พระราชบัญญัตฉิ บับนีใ้ ช้ บงั คับมิได้ นอกจากนี้ กฎหมายรัฐธรรมนูญของนิวซีแลนด์ ยงั
รวมเอากฎหมายของอังกฤษบางฉบับทีบ่ ังคับใช้ ในนิวซีแลนด์ ด้วย เช่ น Act of
Settlement 1701 ซึ่งเกีย่ วกับการสื บราชสั นตติวงศ์ ของกษัตริย์องั กฤษ คาพิพากษาของ
ศาลในคดีทเี่ กีย่ วกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ และธรรมเนียมปฏิบัตทิ างรัฐธรรมนูญ เป็ นต้ น
รัฐสภาของนิวซีแลนด์ เป็ นระบบสภาเดีย่ ว โดยทัว่ ไปประกอบด้ วยสมาชิก 120 คน30
การแบ่ งเขตการปกครอง
ตอนทีเ่ ริ่มตั้งถิ่นฐาน นิวซีแลนด์ ได้ แบ่ งเป็ นจังหวัดต่ าง ๆ (provinces) ซึ่งได้ ยกเลิก
ไปใน พ.ศ. 2419 เพือ่ ให้ จัดการปกครองแบบศูนย์ กลาง เนื่องด้ วยเหตุผลทาง
เศรษฐกิจ ทาให้ นิวซีแลนด์ ไม่ มีการแบ่ งการปกครองเป็ นระดับรัฐ จังหวัด หรือเขต
นอกจากรัฐบาลท้ องถิ่น อย่ างไรก็ดี ความภูมิใจในระดับจังหวัด ยังคงมีอยู่ และมีการ
แข่ งขันอย่ างรุนแรงในทั้งด้ านกีฬาและวัฒนธรรม ตั้งแต่ พ.ศ. 2419 รัฐบาลท้ องถิ่น
ได้ ปกครองภูมิภาคต่ าง ๆ ของนิวซีแลนด์ เนื่องจากแต่ เดิมเป็ นอาณานิคมของอังกฤษ
รัฐบาลท้ องถิ่นของนิวซีแลนด์ จึงได้ ออกแบบตามโครงสร้ างรัฐบาลท้ องถิ่นของ
อังกฤษ โดยมีสภาท้ องถิ่นระดับเมือง โบโร (borough) และเคาน์ ตี (county) ตาม
เวลาทีเ่ ปลีย่ นไป บางสภาได้ รวมกัน หรือเปลีย่ นอาณาเขตตามข้ อตกลงร่ วมกัน และ
มีการสร้ างสภาแห่ งใหม่ บางแห่ ง ใน พ.ศ. 2532 รัฐบาลได้ จัดรัฐบาลท้ องถิ่นใหม่
ทั้งหมด เป็ นแบบ 2 ระดับ ในปัจจุบัน คือ สภาภูมิภาค (regional councils) และ
สภาดินแดน (territorial authorities)
ปัจจุบัน นิวซีแลนด์ มีสภาภูมิภาค 12 แห่ ง สาหรับการปกครองเกีย่ วกับเรื่องของ
สิ่ งแวดล้อมและการขนส่ ง และสภาดินแดน 74 แห่ ง ทีด่ ูแลด้ านสาธารณูปโภค การ
สร้ างถนน การระบายนา้ เสี ย การอนุญาตการก่อสร้ าง และเรื่องอืน่ ๆ ภายในท้ องถิ่น
สภาดินแดนมี 74 แห่ ง แบ่ งออกเป็ นสภานคร (city council) 16 แห่ ง สภาเขต
(district council) 57 แห่ ง และสภาหมู่เกาะแชแทม (Chatham Islands Council)
สภาดินแดน 4 แห่ ง (1 นครและ 3 เขต) และสภาหมู่เกาะแชแทมทาหน้ าที่
เช่ นเดียวกับสภาภูมิภาค จึงเรียกว่ า unitary authorities เขตของดินแดนไม่ จดั เป็ น
เขตย่ อยของเขตของสภาภูมิภาค และบางดินแดนมีการคร่ อมเขตของสภาภูมิภาค
ประชากร
นิวซีแลนด์ ส่วนใหญ่ มีเชื้อสายมาจากชาวอังกฤษ ส่ วนชนเผ่ าพืน้ เมืองเรียกว่ า ชาว
เมารี (Maori) ซึ่งมีผวิ สี เหลืองมีอยู่ประมาณ 151,100 คน ซึ่งมีสิทธิทางสั งคม
เทียบเท่ ากับชาวผิวขาวทุกอย่ าง โดยรัฐบาลกลางอังกฤษให้ ความคุมครองทัว่ ถึงทุก
คน ชาวนิวซีแลนด์ ส่วนใหญ่ นับถือศาสนาคริสต์ นิกายโปรแตสแตนส์
วัฒนธรรม
ชาวนิวซีแลนด์ ส่ วนใหญ่ ได้ รับอารยธรรมอังกฤษแทบทั้งสิ้นการแต่ งกายจะดูคล้าย
ชาวอังกฤษทางตอนเหนือ มีภาษาอังกฤษเป็ นภาษาประจาชาติ
สถานที่ท่องเที่ยว
ประเทศนิวซีแลนด์ เป็ นประเทศหนึ่งทีม่ ีการส่ งเสริมด้ านการท่ องเทีย่ ว แหล่ง
ท่ องเทีย่ วมักเป็ นการเที่ยวชมธรรมชาติทหี่ ลากหลาย ได้ แก่ ถา้ นา้ ตก ธารนา้ แข็ง
นา้ พุร้อน ฟาร์ ม เป็ นต้ น แบ่ งตามสภาพภูมปิ ระเทศทีเ่ ป็ นเกาะใหญ่ 2 เกาะดังนี้
เกาะเหนือ - มีสถานที่ท่องเที่ยว ได้ แก่ เมือง Auckland, ถ้ า Waitomo ซึ่งมีหนอน
เรืองแสง, เมืองนา้ พุร้อน Rotorua, หุบเขา Paradise Valley, ฟาร์ ม Agrodome,
ศูนย์ หัตถกรรมชาวเมารี (Maori Arts&Crafts), พืน้ ทีอ่ นุรักษ์ นา้ พุร้อนและโคลน
เดือด Whakarewarewa Thermal Reserve
เกาะใต้ - มีสถานที่ท่องเทีย่ ว ได้ แก่ เมือง Christchurch, ภูเขาทีม่ ีสภาพอากาศเย็น
ตลอดปี ชื่อ Mt Cook, เมือง Queentown, ทะเลสาบ Te Anau, ร่ องเรือที่ Milford
Sound, ธารนา้ แข็ง Fox Glacier, ทางรถไฟสาย Tranz Alpine ซึ่งเชื่อมเมือง
Hokitika, Greymouth และ Christchurch
ไกด์ บรรยาย
อยู่หน้ าธาร
นา้ แข็ง Fox
Glacier
ทุ่งหญ้ า
ดอกไม้
บริเวณ
เมาท์ คุก
ประติมาก
รรมรูปน
กกีวที ี่
เมืองควีน
ทาวน์
เส้ นทางเดิน
ศึกษา
ธรรมชาติของ
โคลนเดือด ที่
เขตอนุรักษ์
Whakarewar
ewa
ไกด์ ของ
การแสดง
ศิลปวัฒน
ธรรมชาว
เมารีที่
Whakare
warewa
ลักษณะ
ของการ
สั ก
ลวดลาย
บนหน้ า
ของชาว
เมารี
ป้ายหน้ า
ถา้ ไวโต
โม ซึ่งมี
หนอน
เรืองแสง
ภายในถา้
แผนที่
เส้ นทาง
ท่ องเที่ยว
ด้ วยเรือ
ภายในถา้
ไวโตโม
โอเชียเนีย
โอเชียเนีย (Oceania) เป็ นชื่อทีใ่ ช้ เรียกกลุ่มของหมู่เกาะต่ าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก
การใช้ ในวงแคบ หมายถึง หมู่เกาะโพลินีเซีย (รวมนิวซีแลนด์ ) หมู่เกาะเมลานีเซีย
(รวมนิวกินี) และหมู่เกาะไมโครนีเซีย การใช้ ในวงกว้ างจะรวมออสเตรเลียเข้ าไปด้ วย
และอาจรวมถึงกลุ่มเกาะมลายู บางทีนาไปใช้ ในความหมายทีร่ วมเอาเกาะอืน่ ๆ เข้ าไว้
เช่ น ญีป่ ุ่ นและหมู่เกาะอาลิวเชียน แต่ พบน้ อยมาก
"โอเชียเนีย Oceania" หมายถึง กลุ่มประเทศและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก รวมทวีป
ออสเตรเลียซึ่งเป็ นทวีปทีม่ ีขนาดเล็กทีส่ ุ ด เนือ้ ทีร่ าว 7.7 ล้ านตารางกิโลเมตร เล็กกว่ าทวีป
เอเชียถึง 6 เท่ า ประกอบด้ วย ผืนแผ่ นดินทีเ่ ป็ นทีต่ ้งั ของประเทศออสเตรเลีย ประเทศ
นิวซีแลนด์ และหมู่เกาะโพลินีเซีย หมู่เกาะไมโครนีเซีย หมู่เกาะเมลานีเซีย ทวีป
ออสเตรเลีย-โอเชียเนีย เป็ นกลุ่มของหมู่เกาะจานวนมากนับพันเกาะ อย่ างไมโครนีเซียมีใน
ครอบครองกว่ า 600 เกาะ ประกอบด้ วย 14 ประเทศ เมืองหลวงอยู่ในวงเล็บ ได้ แก่
1. คิริบาส (ตาระวา)
2. ซามัว (อาปี อา)
3.ตองกา (นูกูอะโลฟา)
5.ตูวาลู (ฟูนะฟูต)ี
6.นาอูรู (นาอูรู)
7.นิวซีแลนด์ (เวลลิงตัน)
8.ปาปัวนิวกินี (พอร์ ตมอร์ สบี)
9.ปาเลา (เมเลเคอ็อก)
10.ฟิ จิ (ซูวา)
11.ไมโครนีเซีย (ปาลิเกอร์ )
12.วานูอาตู (พอร์ ตวิลา) 13.หมู่เกาะโซโลมอน (โฮนีอารา)
14.หมู่เกาะมาร์ แชลล์ (มาจูโร) 15.ออสเตรเลีย (แคนเบอร์ รา)
และ 13 ดินแดน (เจ้ าของดินแดนอยู่ในวงเล็บและข้ างหลังของ | คือเมืองหลวง) ได้ แก่
1. กวม ( สหรัฐอเมริกา) | อากาญา
2. หมู่เกาะนอร์ เทิร์นมาเรียนา ( สหรัฐอเมริกา) | ไซปัน
3. อเมริกนั ซามัว ( สหรัฐอเมริกา) | ปาโกปาโก
4. หมู่เกาะคุก ( นิวซีแลนด์ ) | อะวารัว
5. เฟรนช์ โปลินีเซีย ( ฝรั่งเศส) | ปาปี ติ
6. นีอูเอ ( นิวซีแลนด์ ) | อะโลฟี
7. หมู่เกาะพิตแคร์ น ( สหราชอาณาจักร) | แอดัมส์ ทาวน์
8. โตเกเลา ( นิวซีแลนด์ ) | ไม่ มี, แต่ ละอะทอลล์ มศี ูนย์ กลางการ
บริหาร
9. วาลลิสและฟุตูนา ( ฝรั่งเศส) | มาตา-อูตู
10. นิวแคลิโดเนีย ( ฝรั่งเศส) | นูเมอา
11. เกาะนอร์ ฟอล์ ก ( ออสเตรเลีย) | คิงส์ ตัน
12. หมู่เกาะโคโคส ( ออสเตรเลีย) | เวสต์ ไอแลนด์
13. เกาะคริสต์ มาส ( ออสเตรเลีย) | ฟลายอิงฟิ ชโคฟ
ภูมิประเทศของโอเชียเนียส่ วนใหญ่ เป็ นเกาะและพืดหินปะการัง กระทั่งแผ่ นดินเกิด
การยกตัว นอกจากนี้ ยังมีทเี่ ป็ นภูเขาไฟ เทือกเขาขรุขระทุรกันดาร ทีร่ าบแคบๆ ป่ า
ทึบ และทุกประเทศลอยอยู่ท่ามกลางมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก
ภูมิอากาศร้ อนชื้น ยกเว้ นนิวซีแลนด์ ทเี่ ป็ นแบบภาคพืน้ สมุทร ฝนตกสม่าเสมอตลอด
ปี ชุ กมากแถบฝั่งตะวันตกของเกาะใต้ และออสเตรเลียทีแ่ บ่ งออกได้ เป็ น 7 เขต
ภูมิอากาศ คือ ร้ อนชื้น ร้ อนสลับแห้ ง ทุ่งหญ้ าเขตร้ อน ทุ่งหญ้ ากึง่ ทะเลทราย เมดิ
เตอร์ เรเนียน อบอุ่นชื้นแบบภาคพืน้ สมุทร และแบบทะเลทราย
ในทวีปโอเชียเนียนั้นมีประวัติศาสตร์ ที่ค่อนข้ างจะเกีย่ วเนื่องกันของประเทศแต่ ละ
ประเทศ จักรวรรดิและอาณาจักรต่ าง ๆ ทีส่ าคัญในโอเชียเนีย เช่ น อาณาจักรของชาว
เมารี จักรวรรดิตูอติ องกา หมู่เกาะโซโลมอน จักรวรรดิตูอปิ ูโลตูและจักรวรรดิตูอิ
มานูอา เป็ นต้ น
เกือบทั้งหมดเคยตกเป็ นเมืองขึน้ ของเจ้ าอาณานิคมจากโลกตะวันตกมีท้ังประเทศ
อังกฤษ ประเทศฝรั่งเศส ประเทศเยอรมนี และสหรัฐอเมริกา
บางประเทศก่อกาเนิดจากผลพวงของสงคราม ทั้งสงครามระหว่ างคนพืน้ เมืองด้ วย
กันเองอย่ างตองกา หรือการรวมประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ของหมู่เกาะ
โซโลมอน เฉพาะอย่ างยิง่ การก่อเกิดของประเทศสาคัญคือออสเตรเลีย ก็เป็ นผลมา
จากหลังสงครามประกาศอิสรภาพในสหรัฐอเมริกายุติลง และอังกฤษมองหาแผ่ นดิน
ใหม่ สาหรับการตั้งถิ่นฐานของผู้กระทาผิดแทนทีอ่ าณานิคมในเขตแอตแลนติกเหนือ
คา "โอเชียเนีย" ได้ มาจากชื่อของ "
เปลือกโลกมหาสมุทร-Oceanic plate" ทั้งนี้ เปลือกโลกประกอบด้ วยแผ่ นขนาดใหญ่
6-10 แผ่ น และมีแผ่ นเล็กๆ ทีป่ ระกอบกันขึน้ หลายๆ แผ่ นต่ อกันเหมือนแผ่ นกระเบือ้ ง
แผ่ นเปลือกโลกเหล่านีเ้ รียกว่ าเพลต(Plate) แบ่ งเป็ นเปลือกโลกทวีป-คอนติเนนเติล
เพลต(Continental plate) และเปลือกโลกมหาสมุทร-โอเชียนิก เพลต(Oceanic
plate)
ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic
of Indonesia) เป็ นหมู่เกาะทีใ่ หญ่ ทสี่ ุ ดในโลก ตั้งอยู่ระหว่ างคาบสมุทรเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปออสเตรเลีย และระหว่ างมหาสมุทรอินเดีย และแปซิฟิก
มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์ เนียว (อินโดนีเซีย: กาลิมันตัน),
ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินี (อินโดนีเซีย: อิเรียน) และ ประเทศติมอร์
ตะวันออกบนเกาะติมอร์
ประวัติศาสตร์
อินโดนีเซียประกอบด้ วยหมู่เกาะทีม่ ีความเจริญรุ่งเรืองมาช้ านาน แต่ ต่อมาต้ อง
ตกอยู่ภายใต้ การปกครองของเนเธอร์ แลนด์ อยู่นานประมาณ 300 ปี ในเดือนมกราคม
พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็ นช่ วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ญีป่ ุ่ นบุกอินโดนีเซีย และทาการขับไล่
เนเธอร์ แลนด์ เจ้ าอาณานิคมของอินโดนีเซียออกไปได้ สาเร็จ จึงทาให้ ผู้นาอินโดนีเซีย
คนสาคัญ ๆ ในสมัยนั้นให้ ความร่ วมมือกับญีป่ ุ่ น แต่ ไม่ ได้ ให้ ความไว้ วางใจกับญีป่ ุ่ น
มากนัก เพราะมีเหตุเคลือบแคลง คือ เมื่อมีผู้รักชาติชาวอินโดนีเซียจัดตั้งขบวนการ
ต่ าง ๆ ขึน้ มา ญีป่ ุ่ นจะขอเข้ าร่ วมควบคุมและดาเนินงานด้ วย
เมื่อญีป่ ุ่ นแพ้สงครามและประกาศยอมจานนต่ อฝ่ ายพันธมิตร อินโดนีเซียได้ ถือ
โอกาสประกาศเอกราชในวันที่ 17 สิ งหาคม พ.ศ. 2488 แต่ เนเธอร์ แลนด์ เจ้ าอาณา
นิคมเดิมไม่ ยอมรับการประกาศเอกราชของอินโดนีเซีย จึงยกกองทัพเข้ าปราบปราม
ผลจากการสู้ รบปรากฏว่ าเนเธอร์ แลนด์ ไม่ สามารถปราบปรามกองทัพของชาว
อินโดนีเซียได้ อังกฤษซึ่งเป็ นพันธมิตรกับเนเธอร์ แลนด์ จึงเข้ ามาช่ วยไกล่เกลีย่
เพือ่ ให้ ยุติความขัดแย้ งกัน โดยให้ ท้งั สองฝ่ ายลงนามในข้ อตกลงลิงกัดยาติ
(Linggadjati Agreement) เมื่อ พ.ศ. 2489 โดยเนเธอร์ แลนด์ ยอมรับอานาจของ
รัฐบาลอินโดนีเซียในเกาะชวาและสุ มาตรา ต่ อมาภายหลัง เนเธอร์ แลนด์ ได้ ละเมิด
ข้ อตกลง โดยได้ นาทหารเข้ าโจมตีอนิ โดนีเซีย ทาให้ ประเทศอืน่ ๆ เช่ น ออสเตรเลีย
และอินเดีย ได้ ยนื่ เรื่องให้ คณะมนตรีความมัน่ คงแห่ งสหประชาชาติเข้ าจัดการ
สหประชาชาติได้ เข้ าระงับข้ อพิพาท โดยตั้งคณะกรรมการประกอบด้ วย ออสเตรเลีย
เบลเยียม และสหรัฐอเมริกา เพือ่ ทาหน้ าทีไ่ กล่เกลีย่ ประนีประนอม และได้ เรียกร้ อง
ให้ มีการหยุดยิง แต่ เนเธอร์ แลนด์ ได้ เข้ าจับกุมผู้นาคนสาคัญของอินโดนีเซีย คือ ซู
การ์ โนและฮัตตาไปกักขัง ต่ อมาทหารอินโดนีเซียนาตัวผู้นาทั้งสองออกมาได้ ใน
ระยะนีท้ ุกประเทศทัว่ โลกต่ างตาหนิการกระทาของเนเธอร์ แลนด์ อย่ างยิง่ และคณะ
มนตรีความมั่นคงได้ กดดันให้ เนเธอร์ แลนด์ มอบเอกราชแก่อนิ โดนีเซีย
ในวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2492 อินโดนีเซียได้ รับเอกราช แต่ ความยุ่งยากยังคงมีอยู่
เนื่องจากเนเธอร์ แลนด์ ไม่ ยนิ ยอมให้ รวมดินแดนอิเรียนตะวันตกเข้ ากับอินโดนีเซีย
ทั้งสองฝ่ ายจึงต่ างเตรียมการจะสู้ รบกันอีก ผลทีส่ ุ ด เนเธอร์ แลนด์ กย็ อมโอนอานาจ
ให้ สหประชาชาติควบคมดูแลดินแดนอิเรียนตะวันตก และให้ ชาวอิเรียนตะวันตก
แสดงประชามติว่าจะรวมกับอินโดนีเซียหรือไม่ ผลการออกเสี ยงประชามติ ปรากฏ
ว่ าชาวอิเรียนตะวันตกส่ วนใหญ่ ต้องการรวมกับอินโดนีเซีย สหประชาชาติจึงโอนอิ
เรียนตะวันตกให้ อยู่ในความปกครองของอินโดนีเซียเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2506
การเมืองการปกครอง
ประเทศอินโดนีเซียมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ มี
ประธานาธิบดีเป็ นประมุขและทาหน้ าทีป่ กครองประเทศ
การแบ่ งเขตการปกครอง
ปัจจุบันประเทศอินโดนีเซียแบ่ งเขตการปกครองออกเป็ น 30 จังหวัด
(provinces - propinsi-propinsi) 2 เขตพิเศษ* (special regions - daerah-daerah
istimewa) และ 1 เขตนครหลวงพิเศษ** (special capital city district - daerah
khusus ibukota) ได้ แก่
เกาะสุ มาตรา
o จังหวัดอาเจะห์ *
o จังหวัดสุ มาตราเหนือ
o จังหวัดสุ มาตราใต้
o จังหวัดสุ มาตราตะวันตก
o จังหวัดรีเยา
o จังหวัดเกาะรีเยา
o จังหวัดจัมบี
o จังหวัดบังกา-เบลีตุง
o จังหวัดเบงกูลู
o จังหวัดลัมปุง
เกาะชวา
จาการ์ ตา**
จังหวัดชวากลาง
จังหวัดชวา
ตะวันออก
จังหวัดชวา
ตะวันตก
จังหวัดบันเตน
จังหวัดย็อกยา
การ์ ตา*
หมู่เกาะซุ นดาน้ อย
จังหวัดบาหลี
จังหวัดนูซาเต็งกา
ราตะวันออก
จังหวัดนูซาเต็งกา
ราตะวันตก
เกาะบอร์ เนียว
o จังหวัดกาลีมนั ตันกลาง
o จังหวัดกาลีมนั ตันใต้
o จังหวัดกาลีมนั ตันตะวันออก
o จังหวัดกาลีมนั ตันตะวันตก
เกาะซู ลาเวซี
o จังหวัดโกรอนตาโล
o จังหวัดซู ลาเวซีเหนือ
o จังหวัดซู ลาเวซีกลาง
o จังหวัดซู ลาเวซีใต้
o จังหวัดซู ลาเวซีตะวันออก
เฉียงใต้
o จังหวัดซู ลาเวซีตะวันตก
หมู่เกาะโมลุกกะ
จังหวัดมาลุกุ
จังหวัดมาลุกุ
เหนือ
เกาะปาปัว
จังหวัดปาปัว
จังหวัดอีเรียนจา
ยาตะวันตก
ภูมิศาสตร์
ภูมิประเทศ ประเทศอินโดนีเซียเป็ นประเทศทีป่ ระกอบด้ วยหมู่เกาะต่ าง ๆ มีเกาะ
ใหญ่ น้อยเกือบ 18,000 เกาะ มีภูเขาสู งอยู่ตามเกาะต่ าง ๆ โดยทัว่ ไปเทือกเขาทีม่ ีความ
สู งมาก ตามบริเวณเขามักมีภูเขาไฟและมีที่ราบรอบเทือกเขาชายเกาะมีความสู ง
ใกล้เคียงกับระดับนา้ ทะเลทาให้ มีที่ราบบางแห่ งเต็มไปด้ วยหนอง บึง ใช้ ประโยชน์
ไม่ ได้ ภูมิอากาศ ลักษณะอากาศแบบศูนย์ สูตรมีฝนตกชุ กตลอดปี แต่ อุณหภูมิไม่ สูง
มากนัก เพราะพืน้ ทีเ่ ป็ นเกาะจึงได้ รับอิทธิพลจากทะเลอย่ างเต็มที่
ทรัพยากรและเศรษฐกิจ
ป่ าไม้ พืน้ ทีส่ ่ วนใหญ่ เป็ นป่ าดงดิบ เป็ นประเทศที่มีป่าไม้ มากทีส่ ุ ด ในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ ผลิตผลจากป่ าไม้ ส่วนใหญ่ เป็ นไม้ เนือ้ แข็ง แร่ ธาตุ แร่ ธาตุทสี่ าคัญ
ได้ แก่ นา้ มันปิ โตรเลียมทารายได้ ให้ กบั ประเทศมากทีส่ ุ ด อินโดนีเซียเป็ นสมาชิกของ
องค์ การประเทศผู้ส่งนา้ มันเป็ น สิ นค้ าออก เกษตรกรรม มีการปลูกพืชแบบขั้นบันได
พืชเศรษฐกิจ ได้ แก่ข้าว ยาสู บ ข้ าวโพด เครื่องเทศ ประมง ลักษณะภูมิประเทศเป็ น
หมู่เกาะทาใหอินโดนีเซียสามารถจับสั ตว์ นา้ ได้ มาก อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมที่
สาคัญ ได้ แก่ การกลัน่ นา้ มัน การต่ อเรือ เป็ นต้ น
ประชากรและวัฒนธรรม
อินโดนีเซียมีประชากรประมาณ 206.1 ล้านคน (พ.ศ. 2544) ประชากรส่ วนใหญ่ เป็ น
กลุ่มชาติพนั ธุ์ออสโตรนีเชียน และนับถือศาสนาอิสลาม
เชื้อชาติ ชาวชวา 41.7% ชาวซุนดา 15.4% ชาวมาเลย์ 3.4% ชาวมาดูรีส 3.3% ชาว
บาตัก 3% ชาวมินังกะเบา 2.7% ชาวเบตาวี 2.5% ชาวบูกนิ 2.5% ชาวบันเทน 2.1%
ชาวบันจารี 1.7% ชาวบาหลี 1.5% ชาวซาซะก์ 1.3% ชาวมากัสซาร์ 1% ชาวเชรี
บอน 0.9% ชาวจีน 0.9% อืน่ ๆ 16.1%
ภาษา ชาวอินโดนีเซียมีภาษาทีใ่ ช้ เป็ นทางการมีรากฐานมาจากภาษามลายู เรียกว่ า
ภาษาบาฮาซาอินโดนิเซีย
ศาสนา อินโดนีเซียมีศาสนาอิสลามเป็ นศาสนา ประจาชาติ โดย ศาสนาอิสลาม 87%
ศาสนาคริสต์ 9.5% ศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู 1.8% ศาสนาพุทธ 1.3%
ลักษณะภูมิศาสตร์ ของทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
(1) ขนาด ที่ต้งั และอาณาเขต
ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย เป็ นที่ต้งั ของประเทศออสเตรเลีย ประเทศนิวซีแลนด์
ส่ วนหมู่เกาะแปซิฟิกซึ่งเป็ นทีต่ ้งั ของประเทศอืน่ ๆ ต่ อเนื่องไปถึงทวีปแอนตาร์ กติก
เรียกว่ า โอเชียเนีย
ทวีปออสเตรเลียเป็ นทวีปทีม่ ีขนาดเล็กทีส่ ุ ดในโลก มีพนื้ ที่ 7.6 ล้าน ตร.กม. มี
ประชากร 17.5 ล้านคน
ทีต่ ้งั ของทวีปออสเตรเลียอยู่ในซีกโลกใต้ ท้งั หมด ตั้งแต่ ละติจูดที่ 10 องศา 41 ลิบดา
ใต้ ถึง 43 องศา
39 ลิบดาใต้ และลองจิจูด 113 องศา 9 ลิบดาตะวันออก ถึง 153 องศา 39 ลิบดา
ตะวันออก
(2) ลักษณะภูมิประเทศของทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
มีเขตทีส่ ู งทางด้ านตะวันออก มีฝนตกชุ กทีส่ ุ ดของทวีป มีเทือกเขาเกรตดิไวดิง
อยู่ทางด้ าน
ตะวันออก มีลกั ษณะเป็ นสั นปันนา้ ทีแ่ บ่ งฝนทีต่ กลงให้ ไหลสู่ ลาธาร เขตที่ราบต่า
ตอนกลาง พืน้ ที่ราบเรียบ
มีลานา้ หลายสายไหลมาอยู่บริเวณนี้ และเขตทีร่ าบสู งทางด้ านตะวันตก
ตอนกลางของเขตนีเ้ ป็ นทะเลทราย
บริเวณทางใต้ และทางตะวันออกเฉียงเหนือใช้ เป็ นเขตปศุสัตว์ และเพาะปลูก
(3) ลักษณะภูมิอากาศของทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
ปัจจัยสาคัญทีท่ าให้ ทวีปต่ างๆ กัน คือ ตั้งอยู่อยู่ในออสเตรเลียมีภูมิอากาศโซนร้ อนใต้
และ
อบอุ่นใต้ มีลมประจาพัดผ่ าน ลักษณะภูมิประเทศ และมีกระแสนา้ อุ่นและกระแสนา้
เย็นไหลผ่ าน ซึ่งมี
ภูมิอากาศ 6 เขตแตกต่ างกันไป ตั้งแต่ เขตร้ อน อบอุ่น และเขตหนาว
(4) สภาพทางสั งคมและวัฒนธรรม
เชื้อชาติเผ่ าพันธ์ ของออสเตรเลีย เป็ นชาวพืน้ เมืองทีเ่ รียกว่ า อะบอริ จินิส ปัจจุบันมี
ชาวผิวขาว
ซึ่งส่ วนใหญเป็ นชาวอังกฤษอาศัยอยู่จานวนมาก ศาสนาทีน่ ับถือกันมากคือ ศาสนา
คริสต์ ภาษาทีใ่ ช้ มากคือภาษาอังกฤษ มีการประกอบอาชีพทางด้ านการเกษตร คือ
ปลูกพืชและเลีย้ งสั ตว์ การประมง และอุตสาหกรรม
จัดทาโดย
นาย วัชรพล ไชยสุ ข ม.6.9 เลขที4่ 1
นางสาว ชยาภรณ์ คาตุ้ย เลขที4่ 8