ขอต้ อนรับเข้ าสู่ การเรียน วิชา ท ๔๒๑๐๑ ภาษาไทย เรื่อง ฉันท์ และอินทรวิเชียรฉันท์ โดย ใจ อรพิณ สุข โรงเรียนสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ.

Download Report

Transcript ขอต้ อนรับเข้ าสู่ การเรียน วิชา ท ๔๒๑๐๑ ภาษาไทย เรื่อง ฉันท์ และอินทรวิเชียรฉันท์ โดย ใจ อรพิณ สุข โรงเรียนสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ.

ขอต้ อนรับเข้ าสู่ การเรียน
วิชา ท ๔๒๑๐๑ ภาษาไทย
เรื่อง
ฉันท์ และอินทรวิเชียรฉันท์
โดย
ใจ
อรพิณ
สุข
โรงเรียนสมุทรปราการ จังหวัด
สมุทรปราการ
ฉันท์
ฉันท์ คือลักษณะถ้อยคา ทีก่ วีได้ร้อยกรองขึน้ ให้ เกิด
ความไพเราะ ซาบซึ้ง โดยกาหนดคณะ ครุ ลหุ และสั มผัสไว้
เป็ นมาตรฐาน
ฉันท์ นีไ้ ทยได้ ถ่ายแบบมาจากอินเดีย ของเดิมแต่ งเป็ น
ภาษาบาลี และสั นสกฤต โดยเฉพาะในภาษาบาลี เขามีตาราที่
กล่ าวถึง วิธีแต่ งฉันท์ ไว้ เป็ นแบบฉบับ เรียกชื่ อว่ า "คัมภีร์วตุ
โตทัย" แล้ วต่ อมาไทยเราได้ จาลองแบบ มาแต่ งในภาษาไทย
โดยเพิม่ เติม บังคับสั มผัสขึน้ เพือ่ ให้ เกิดความไพเราะ ตาม
แบบนิยมของไทย ซึ่งในภาษาเดิมของเขา หามีไม่
ฉันท์ ในภาษาบาลี แบ่ งออกเป็ น ๒ ชนิด คือ
๑. ฉันท์ วรรณพฤติ คือ ฉันท์ ที่กาหนดด้ วยตัวอักษร มีการ
วางคณะ และกาหนดเสี ยงหนักเบา ทีเ่ รียกว่ า ครุ ลหุ เป็ นสาคั
๒. ฉันท์ มาตราพฤติ คือ ฉันท์ ที่กาหนดด้ วยมาตรา มีการ
วางจังหวะสั้ นยาว ของมาตราเสี ยง เป็ นสาคั นับคาลหุเป็ น ๑
มาตรา คาครุ นับเป็ น ๒ มาตรา ไม่ กาหนดตัวอักษร เหมือนอย่ าง
วรรณพฤติ
ฉันท์ มีชื่อต่ างๆตามทีป่ รากฏในคัมภีร์วุตโตทัยมีถึง ๑๐๘
ฉันท์ แต่ ไทยเราดัดแปลง เอามาใช้ ไม่ หมด เลือกเอามาแต่ เฉพาะที่
เห็นว่ าไพเราะ มีทานองอ่ านสละสลวย และเหมาะแก่ การทีจ่ ะบรรจุ
คาในภาษาไทยได้ ดี เท่ านั้น
ฉันท์ ทนี่ ิยมแต่ งในภาษาไทย เป็ นฉันท์ วรรณพฤติเป็ นพืน้ ที่เป็ น
มาตราพฤติ ไม่ ใคร่ จะนิยมแต่ ง เพราะจังหวะ และทานองที่อ่านใน
ภาษาไทย ไม่ ส้ ู จะไพเราะ เหมือนฉันท์ วรรณพฤติ แม้ ฉันท์
วรรณพฤติ ทีท่ ่ านแปลงมาเป็ นแบบในภาษาไทยแล้ ว ก็ไม่ นิยมแต่ ง
กันทั้งหมด เท่ าทีส่ ั งเกตดู ในคาฉันท์ เก่ าๆ มักนิยมแต่ งกันอยู่เพียง ๖
ฉันท์ เท่ านั้น คือ
- อินทรวิเชียรฉันท์
- โตฎกฉันท์
- วสั นตดิลกฉันท์
- มาลินีฉันท์
- สั ททุลวิกกีฬิตฉันท์
- สั ทธราฉันท์
แต่ ท่านมักแต่ งกาพย์ ฉบัง และกาพย์ สุรางคนางค์ ปนไปกับ
ฉันท์ ด้วย และคงเรียกว่ า คาฉันท์ เหมือนกัน
เหตุทโี่ บราณนิยมแต่ งเฉพาะ ๖ ฉันท์ คงเป็ นเพราะฉันท์ ท้ัง ๖ นั้น
สามารถจะแต่ งเป็ นภาษาไทยได้ ไพเราะกว่ าฉันท์ อนื่ ๆ และท่ านมัก
นิยมเลือกฉันท์ ให้ เหมาะกับบทของท้ องเรื่อง เป็ นตอนๆ เช่ น
- บทไหว้ ครู นิยมใช้ สั ททุลวิกกีฬิตฉันท์ หรือ สั ทธราฉันท์
- บทชมหรือบทคร่าครว นิยมใช้ อินทรวิเชียรฉันท์ หรื อ
วสั นตดิลกฉันท์
- บทสาแดงอิทธิฤทธิ์หรืออัศจรรย์ นิยมใช้ โตฎกฉันท์ (แต่ คาฉันท์
เก่ าๆไม่ ใคร่ นิยมใช้ โตฎกฉันท์ )
- บทดาเนินความยาวๆ ในท้ องเรื่อง นิยมใช้ กาพย์ ฉบัง หรื อ กาพย์
สุ รางคนางค์
ในปัจจุบันนีน้ ิยมแต่ งภุชงคประยาตฉันท์ เพิม่ ขึน้ อีกฉันหนึ่ง
และมักใช้ แต่ ง ในตอนพรรณนาโวหารหรือ ข้ อความทีน่ ่ าตื่นเต้ น
การแต่ งฉันท์ ต้ องบรรจุคาให้ ครบ ตามจานวนทีบ่ ่ งไว้ จะ
บรรจุคาให้ เกินกว่ ากาหนด เหมือนการแต่ ง โคลง กลอน และกาพย์
ไม่ ได้ เว้ นไว้ แต่ อกั ษรนา อนุ าตให้ เกินได้ บ้าง แต่ บัดนี้ ไม่ ใคร่ นิยม
แล้ ว คาใดทีก่ าหนดไว้ ว่า เป็ นครุและลหุ จะต้ องเป็ น ครุ และลหุ
จริงๆ และเป็ นได้ แต่ เฉพาะ ตรงที่บ่งไว้ เท่ านั้น จะใช้ ครุ และลหุ ผิด
ที่ไม่ ได้ คา บ ก็ดี คาที่ประสมด้ วย สระอา ในแม่ ก กา ก็ดี ใช้ เป็ นลหุ
ได้ แต่ บัดนีค้ าที่ประสมด้ วยสระอา ไม่ ใคร่ นิยมใช้ เพราะถือว่ า เป็ น
เสี ยงทีม่ ีตวั สะกดแฝงอยู่ด้วย
ฉันท์ ท้งั ๒๔ ชนิด มีชื่อ และลักษณะต่ างๆ กัน ดังนี้
๑. จิตรปทาฉันท์ ๘
๒. วิชชุมาลาฉันท์ ๘
๓. มาณวกฉันท์ ๘
๔. ปมาณิกฉันท์ ๘
๕. อุปัฏฐิ ตาฉันท์ ๑๑
๖. อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
๗. อุเปนทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
๘. อุปชาติฉันท์ ๑๑
๙. สาลินีฉันท์ ๑๑
๑๐. อาขยานิกาฉันท์ ๑๑
๑๑. วังสั ฏฐฉันท์ ๑๒
๑๒. อินทวงสฉันท์ ๑๒
๑๓. โตฎกฉันท์ ๑๒
๑๔. ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒
๑๕. กมลฉันท์ ๑๒
๑๖. วสั นตดิลกฉันท์ ๑๔
๑๗. มาลินีฉันท์ ๑๕
๑๘. ประภัททกฉันท์ ๑๕
๑๙. วาณินีฉันท์ ๑๖
๒๐. กุสุมิตลดาเวลลิตาฉันท์ ๑๘
๒๑. เมฆวิปผุชชิตาฉันท์ ๑๙
๒๒. สั ททุลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙
๒๓. อีทิสฉันท์ ๒๐
๒๔. สั ทธราฉันท์ ๒๑
อินทรวิเชียรฉันท์
อินทรวิเชียรฉันท์
หมายถึง ฉันท์ ทมี่ ีลลี า อันรุ่งเรืองงดงามประดุจ
สายฟ้าซึ่งเป็ นอาวุธของพระอินทร์ นิยมแต่ งข้ อความซึ่ง
เป็ นบทชม บทคร่าครว และใช้ แต่ งเป็ นบทพากย์ โขน
ด้ วยมีลกั ษณะบังคับ มีแผนภูมิดงั นี้
แผนภูมิอนิ ทรวิเชียรฉันท์
คณะ อินทรวิเชียรฉันท์ ๑ บท มี ๒ บาท ๑ บาทมี ๒ วรรค
วรรคหน้ า มี ๕ คา วรรคหลัง มี ๖ คา มีคาครุ -ลหุ ดังนี้ คาที่ ๓
ของวรรคหน้ า และคาที่ ๑, ๒, ๔ ของวรรคหลังเป็ น ลหุ นอกนั้น
เป็ นคา ครุ
สั มผัส บาทแรก คาสุ ดท้ ายของวรรคหน้ า ส่ งสั มผัสไปคาที่
๓ ของวรรคหลัง คาสุ ดท้ ายของวรรคหลัง ส่ งสั มผัสไปคาสุดท้ าย
ของวรรคหน้ าในบาทที่ ๒ และคาสุ ดท้ ายของวรรคหลังในบาทที่ ๒
ส่ งสั มผัส ไปยังคาสุ ดท้ ายของบาทแรก วรรคหลัง ในบทต่ อไป เป็ น
สั มผัสระหว่ างบท ดูแผนภูมิ
ตัวอย่ างอินทรวิเชียรฉันท์
อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ intharawichianchan 11
ตัวอย่ างการแต่ งอินทรวิเชียรฉันท์
ของนักเรียนปี การศึกษา ๒๕๕๐
ทะเล
มองดูทะเลงาม
นภครามสิ งามตา
ยามแสงตะวันลา
ฤดิเหงาและเศร้าใจ
เดีย
๋ วนี้ทะเลหมอง
ขยะกองมิเก็บไป
ร่วมมือสิ คนไทย
อนุ รก
ั ษ์ทะเลเอย