ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณคดีไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ชุมสาย สุ วรรณชมภู ความหมายของวรรณคดี คาว่า “วรรณคดี” บัญญัตใิ ช้ เป็ นครัง้ แรกในพระราช กฤษฎีกาตัง้ วรรณคดีสโมสร ปี ๒๔๕๗  พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ ความหมายว่า “หนังสือที่ได้ รับยกย่ องว่ าแต่ งดีและมีวรรณศิลป์ถึงขนาด” (๒๕๔๒

Download Report

Transcript ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณคดีไทย ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ชุมสาย สุ วรรณชมภู ความหมายของวรรณคดี คาว่า “วรรณคดี” บัญญัตใิ ช้ เป็ นครัง้ แรกในพระราช กฤษฎีกาตัง้ วรรณคดีสโมสร ปี ๒๔๕๗  พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ ความหมายว่า “หนังสือที่ได้ รับยกย่ องว่ าแต่ งดีและมีวรรณศิลป์ถึงขนาด” (๒๕๔๒

ความรู ้เบือ
้ งต ้นเกีย
่ วกับ
วรรณคดีไทย
ผู ้ชว่ ยศาสตราจารย์ชม
ุ สาย สุวรรณ
ชมภู
ความหมายของวรรณคดี
้ั
คาว่า “วรรณคดี” บัญญัตใิ ช้เป็ นครงแรก
้ั
ในพระราชกฤษฎีกาตงวรรณคดี
สโมสร ปี
๒๔๕๗

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให ้
่ ร ับยกย่องว่า
ความหมายว่า “หนังสือทีได้
แต่งดีและมีวรรณศิลป์ ถึงขนาด” (๒๕๔๒ :
๑๐๕๕)
่ นวรรณกรรม หมายถึง ข ้อเขียนทีแ
 สว
่ ต่งขึน
้
ื โดยใชภาษาเป็
้
ื่ และอาจ
เป็ นหนังสอ
นสอ
รวมทัง้ วรรณคดีมข
ุ ปาฐะหรือวรรณคดีทเี่ ล่า

ิ ป์
ความหมายของวรรณศล

ิ ป์ ” คานีม
ั ท์
“วรรณศล
้ าจากศพ
ภาษาอังกฤษว่า The art of literature
ิ ปะแห่งการแต่งหนังสอ
ื ในทีน
หมายถึง ศล
่ ี้
ิ ปะของการใชภาษาที
้
จะหมายถึงศล
จ
่ ะทา
ึ
ให ้เกิดความงาม เกิดอารมณ์และความรู ้สก
ิ ป์ และภาษา
ตัวอย่างของวรรณศล
ธรรมดา
ื่ ไม ้ดอกขนาดย่อมในสกุล
“กุหลาบเป็ นชอ
Rosa ในวงศ ์ Rosaceae ต ้นตัง้ เป็ นเถา ลา
ิ ไม่มห
ต ้นและกิง่ มีหนาม บางชด
ี นาม ใบมี
ี า่ ง ๆ กลิน
ขอบเป็ นจัก ๆ ดอกมีสต
่ หอม มี
ื่ ต่าง ๆ กัน”
มากชนิดและมากพันธุ์ เรียกชอ

(พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ.๒๕๔๒ หน ้า ๑๓๖)

ิ ป์ และภาษา
ตัวอย่างของวรรณศล
ธรรมดา
ไม ้เรียกผะกากุพ
ี รุณแสง
ชกสอ

ปานแก ้มแฉล ้มแดง
ดรุณี ณ
ยามอาย

ดอกใหญ่และเกสร
สุวคนธ
มากมาย

อยูท
่ นบ่วางวาย
มธุรสขจร
ไกล

(มัทนะพาธา – รัชกาล
ที่ ๖)

ความหมายของวรรณคดีมรดก

ื ที่
วรรณคดีมรดก หมายถึง หนังสอ
ได ้รับการยกย่องว่าแต่งดี มีความประณีต
ิ ป์ และด ้านค่านิยม
งดงามทัง้ ในด ้านวรรณศล
ื่ ของบรรพบุรษ
ื ทีแ
ความเชอ
ุ เป็ นหนังสอ
่ ต่ง
ก่อนจะได ้รับอิทธิพลจากตะวันตก มีทัง้ ร ้อย
ื ทีค
แก ้วและร ้อยกรอง และเป็ นหนังสอ
่ น
ไทยควรได ้อ่านเพือ
่ ประดับสติปัญญา และ
รักษาไว ้เป็ นสมบัตข
ิ องชาติ
องค์ประกอบของวรรณคดี
องค์ประกอบของวรรณคดี ได ้แก่ เนือ
้ หา
และ รูปแบบ

เนือ
้ หา (message) ได ้แก่ อารมณ์
สงิ่ ทีพ
่ บเห็น เหตุการณ์ ความคิด ความเห็น
(ทรรศนะ) แง่คด
ิ ฯลฯ ถ ้ามีการผูกเรือ
่ ง
ได ้แก่ แนวเรือ
่ งหรือแนวคิด (theme) โครง
เรือ
่ ง เนือ
้ เรือ
่ ง ตัวละคร เหตุการณ์ในเรือ
่ ง
ฉาก สภาพสงั คม สาระเกีย
่ วกับความคิด
ความเห็น (ทรรศนะ) แง่คด
ิ
เป็ นต ้น



ื่ และวิธก
รูปแบบ (form) ได ้แก่ สงิ่ ทีส
่ อ
ี าร
แสดงออกด ้วยภาษา รูปแบบของวรรณคดี
ไทยแบ่งอย่างกว ้าง ๆ เป็ น ร ้อยแก ้ว (prose)
และร ้อยกรอง (verse) ซงึ่ ได ้แก่ คาประพันธ์
ชนิดต่าง ๆ คือ ร่าย โคลง กลอน ฉั นท์ กาพย์
คาประพันธ์พเิ ศษบางชนิด
วรรณคดีในยุคสมัยต่างๆ
วรรณคดีในสมัยสุโขทัย
๑. ผู ้แต่ง
ศิลา
ศิลาจารึก ศิลาจารึก
่
จารึก
หลักที่ ๒ หลักอืนๆ
หลักที่ ๑
กษั ตริย ์
พระบรม
วงศานุวงศ ์



ไตรภู ม ิ
พระร่วง
สุภาษิต
พระร่วง


๒. รูปแบบ
วรรณคดี
รู ปแบบ
ร ้อยแก ้ว
ร ้อยกรอง
ศิลา
จารึก
หลักที่ ๑

ศิลา
ศิลา
จารึก
จารึก
่
หลักที่ ๒ หลักอืนๆ


ไตรภู ม ิ
พระร่วง
สุภาษิต
พระร่วง


๓. เนือ
้ หา
วรรณคดี
้
เนื อหา
ศิลา
จารึก
หลักที่
๑
ศิลาจารึก ศิลาจารึก ไตรภู ม ิ สุภาษิ
่
หลักที่ ๒ หลักอืนๆ
พระร่วง ตพระ
ร่วง
บันทึกเหตุการณ์



สดุดแ
ี ละยอพระ
เกียรติ



คาสอน


วรรณคดีในสมัยกรุงศรีอยุธยา
 ๑. วรรณคดีในสมัยอยุธยาตอนต ้น
 ๒. วรรณคดีในสมัยอยุธยาตอนกลาง
 ๓. วรรณคดีในสมัยอยุธยาตอนปลาย
วรรณคดีในสมัยอยุธยาตอนต ้น

๑. ผู ้แต่ง
วรรณค
ดี
ผู แ
้ ต่ง
ลิลต
ิ
โองก
าร
แช่ง
น้ า
กษั ตริย ์
และบรม
วงศานุ
วงศ ์
นักปราช
ญ์ใน
ราช
สานัก
พระภิก
มหา ลิลต
ิ ลิลต
ิ
ชาติ ยวน พระ
คา
พ่าย ลอ
หลว
ง


กาพ
ย์
มหา
ชาติ
กาสร ทวา
วล
ทศ
โคลง มาส
้ั
ดน


อนิ
รุทธ
คา
ฉันท ์





สมุทร
โฆษ
คา
ฉันท ์


๒. รูปแบบ
วรรณค
ดี
รู ปแบบ
ลิลต
ิ
โองก
าร
แช่ง
น้ า
มหา
ชาติ
คา
หลวง
กาพย์
ลิลต
ิ
ลิลต
ิ
กาพย ์ กาสรว ทวา
ยวน พระล มหา ลโคลง ทศ
้
พ่าย อ
ชาติ ดัน
มาส

บาท
โคลงดัน
้ บาท กุญชร
กุญชร วิวธิ
มาลี
โคลง
สุภาพ
ฉันท์
ร่าย
โบราณ





วิวธิ มาลี
สมุทร
โฆษ
คา
ฉันท ์
อนิ
รุทธ
คา
ฉันท ์




บาท
กุญชร
โคลง
สอง
โคลง
สาม
โคลงส ี่
๓. เนือ
้ หา
ลิลต
ิ
วรรณคดี โองก
าร
ผู แ
้ ต่ง
แช่ง
น้ า
วรรณคดี
พิธก
ี รรม
มหา ลิลต
ิ ลิลต
ิ
ชาติ ยวน พระ
คา
พ่าย ลอ
หลว
ง
วรรณคดี
บันเทิง
วรรณคดี
กาสร ทวา
วล
ทศ
โคลง มาส
้ั
ดน
สมุทร
โฆษ
คา
ฉันท ์
อนิ
รุทธ
คา
ฉันท ์



วรรณคดี
ยอพระ
เกียรติ
วรรณคดี
ศาสนา
กาพ
ย์
มหา
ชาติ






 ๑.
ผู ้แต่ง
วรรณคดี
ผู แ
้ ต่ง
กษัตริย ์
้ั ง
ขุนนางชนสู
๑. เสือโคคาฉันท ์
๒. จินดามณี
๓.
โคลงเฉลิมพระ
เกียรติ ฯ
๔. โคลงอ ักษรสามหมู ่
๕. กาพย ์ห่อโคลง


๖. นิ ราศนครสวรรค ์
๗. คาฉันท ์ดุษฎีสงั เวย
กล่อมช้าง
๘. ราชาพิลาปคาฉันท ์
๙. พระราชพงศาวดาร
ฯ
๑๐. โคลงนิ ราศหริภุญ

่ ้
ไม่ปรากฏชือผู
แต่ง







วรรณคดี
รู ปแบบ
ร ้อยแก้ว
กาพย ์
โคลง
ฉันท ์
ี่ ภ
สส
ุ าพ


๑. เสือโคคาฉันท ์
๒. จินดามณี


๓.
โคลงเฉลิมพระ
เกียรติ ฯ
๔. โคลงอ ักษรสามหมู ่
ี่ ภ
สส
ุ าพ
ี่ ภ
สส
ุ าพ
๕. กาพย ์ห่อโคลง
ยานี
๖. นิ ราศนครสวรรค ์
ี่ ภ
สส
ุ าพ
ี่ ภ
สส
ุ าพ
๗. คาฉันท ์ดุษฎีสงั เวย
กล่อมช้าง
๘. ราชาพิลาปคาฉันท ์
๙. พระราชพงศาวดาร
ฯ
๑๐. โคลงนิ ราศหริภุญ
ร่าย
สุภาพ



ี่ ภ
สส
ุ าพ
้
เนื อหา
วรรณคดี
๑. เสือโคคาฉันท ์
วรรณค วรรณค วรรณค วรรณค
วรรณ วรรณค
ดีเฉลิม
ดี
ดี
ดี
คดี
ดีแสดง
พระ
พิธก
ี รร แบบเรีย พงศาว
บันเทิง อารมณ์
เกียรติ
ม
น
ดาร

๒. จินดามณี
๓. โคลงเฉลิมพระ
เกียรติ ฯ
๔. โคลงอ ักษรสาม
หมู ่
๕. กาพย ์ห่อโคลง
๖. นิ ราศนครสวรรค ์
๗. คาฉันท ์ดุษฎี
สังเวยกล่อมช้าง
๘.
ราชาพิลาปคา
ฉันท ์
๙.
พระราช








ผู แ
้ ต่ง
วรรณคดี
กษัตริย ์ พระบรม
วงศานุ
วงศ ์
้ั ง
ชนสู
๑. โคลงชะลอพระพุทธ
ไสยาสน์
๒. โคลงนิ ราศเจ้าฟ้า
อภัย
๓. นันโทปนันทสู ตรคา
หลวง
๔. พระมาลัยคาหลวง

๕. บทเห่ ๓ บท

๖. กาพย ์ห่อโคลงนิ ราศ
ธารทองแดง
๗. กาพย ์ห่อโคลงนิ ราศ




ขุนนาง
้ั ง
ชนสู
พระภิกษุ ไม่ปรากฏ
่ แ
ชือผู
้ ต่ง
วรรณคดี
ผู แ
้ ต่ง
กษัตริย ์
พระบรม
วงศานุ
วงศ ์
้ั ง
ชนสู
ขุนนาง
้ั ง
ชนสู
พระภิกษุ ไม่ปรากฏ
่ แ
ชือผู
้ ต่ง
๙. บุณโณวาทคาฉันท ์

๑๐.
โคลงนิ ราศพระ
พุทธบาท
๑๑. ศิรวิ บ
ิ ุลกิตติ ์
่
๑๒. บทละครเรือง
อิเหนาใหญ่-อิเหนา
เล็ก
่
๑๓. บทละครนอกเรือง
มโนราห ์และสังข ์ทอง
๑๔. จินดามณี ฉบับ
พระเจ้าอยู ่หวั บรมโกศ
๑๕. โคลงภาษิต ๓
่
เรือง






วรรณคดี
รู ปแบบ
ร ้อย
แก้ว
กาพย ์
๑. โคลงชะลอพระพุทธ
ไสยาสน์
ร่าย
ส ี่
สุภา
พ
ส ี่
สุภา
พ
๒. โคลงนิ ราศเจ้าฟ้า
อภัย
๓. นันโทปนันทสู ตรคา
หลวง
๔. พระมาลัยคาหลวง
๕. บทเห่ ๓ บท
กลอน โคลง ฉันท ์
กระทู ้
ยานี
ส ี่
สุภา
พ
ส ี่
สุภา
ร่าย
ยาว
ร่าย
สุภาพ
รู ปแบบ
วรรณคดี
๙.
บุณโณวาทคา
ฉันท ์
ร ้อย
แก้ว
กาพย ์
กลอน โคลง ฉันท ์
ฉบัง
สุรางคน
างค์
๑๐. โคลงนิ ราศพระ
พุทธบาท
๑๑. ศิรวิ บ
ิ ุลกิตติ ์
่
๑๒. บทละครเรือง
อิเหนาใหญ่-อิเหนา
เล็ก
่
๑๓. บทละครนอกเรือง
มโนราห ์และสังข ์ทอง
๑๔. จินดามณี ฉบับ
กลบท
กลอน
บท
ละคร
กลอน
บท
ละคร
ส ี่
สุภา
พ
๑๑,๑๒
๑๔,
๑๙,
๒๑
ร่าย
วรรณคดี
้
เนื อหา
วรรณ วรรณ วรรณ วรรณ วรรณ วรรณ วรรณ
คดีคา
คดี
คดี
คดี
คดี
คดี
คดี
สอน บันเทิ แสดง ศาสน บันทึก พิธก
ี ร ตารา
ง
อารม
า
เหตุกา
รม
ณ์
รณ์
๑. โคลงชะลอพระ
พุทธไสยาสน์
๒. โคลงนิ ราศเจ้า
ฟ้าอภัย
๓. นันโทปนันท
สู ตรคาหลวง
๔. พระมาลัยคา
หลวง
๕. บทเห่ ๓ บท
๖. กาพย ์ห่อโคลง
นิ ราศธารทองแดง






วรรณคดี
้
เนื อหา
๘. เพลงยาวเจ้าฟ้า
ธรรมาธิเบศร
๙. บุณโณวาทคา
ฉันท ์
๑๐. โคลงนิ ราศ
พระพุทธบาท
๑๑. ศิรวิ บ
ิ ุลกิตติ ์
่
๑๒. บทละครเรือง
อิเหนาใหญ่อิเหนาเล็ก
๑๓. บทละครนอก
่
เรืองมโนราห
์และ
วรรณ วรรณ วรรณ วรรณ วรรณ วรรณ วรรณ
คดีคา
คดี
คดี
คดี
คดี
คดี
คดี
สอน บันเทิ แสดง ศาสน บันทึก พิธก
ี ร ตารา
ง
อารม
า
เหตุกา
รม
ณ์
รณ์







่
ชือวรรณคดี
สมัยกรุงธนบุร ี
๑. รามเกียรติ ์ ๔
ตอน
๒. อิเหนาคาฉันท ์
ผู แ
้ ต่ง
รู ปแบบ
้
เนื อหา
ิ
พระเจ ้าตากสน
กลอนบท
ละคร
ฉั นท์
บันเทิง+การ
แสดง
แสดงอารมณ์
โคลง+ร่าย
สุภาพ
กลอนนิราศ
บันเทิง
๓. ลิลต
ิ เพชรมงกุฎ
ิ
หลวงสรวิชต
ิ
หลวงสรวิชต
๔. นิ ราศพระยามหานุ
ภาพไปเมืองจีน
พระยามหานุ
ภาพ
๕. โคลงยอพระเกียรติ
พระเจ้ากรุงธนบุร ี
นายสวน
๖. กฤษณาสอนน้อง
คาฉันท ์
บันทึก
เหตุการณ์
ี่ ภ
โคลงสส
ุ าพ ยอพระเกียรติ
พระยาราชสุภา ฉั นท์+กาพย์
วดี+พระภิกษุ อน
ิ
คาสอน
่
ชือวรรณคดี
สมัยร ัตนโกสินทร ์
ตอนต ้น
ร ัชกาลที่ ๑
๑.รามเกียรติ ์
๒. อุณรุท
๓.อิเหนา
๔.ดาหลัง
่ า
๕.นิ ราศรบพม่าทีท่
ดินแดง
๖.นิ ทานอิหร่าน
ราชธรรม
๗.นิ ราศกรม
พระราชวังบวร
มหาสุรสิงหนาท
ไปปราบพม่าฯ
๘.เพลงยาวนิ ราศ
กรมพระ
ราชวังบวรมหาสุรสิง
ผู แ
้ ต่ง
รู ปแบบ
้
เนื อหา
ร ัชกาลที่ ๑
กลอนบทละคร
บันเทิง+การแสดง
ร ัชกาลที่ ๑
ร ัชกาลที่ ๑
ร ัชกาลที่ ๑
ร ัชกาลที่ ๑
กลอนบทละคร
กลอนบทละคร
กลอนบทละคร
กลอนนิ ราศ
บันเทิง+การแสดง
บันเทิง+การแสดง
บันเทิง+การแสดง
แสดงอารมณ์
ร ัชกาลที่ ๑
ร ้อยแก ้ว
คาสอน
กรมพระราชวังบวรฯ
กลอนนิ ราศ
แสดงอารมณ์
กรมพระราชวังบวรฯ
กลอนนิ ราศ
แสดงอารมณ์
่
ชือวรรณคดี
่
๑๐.ไซฮัน
ผู แ
้ ต่ง
กรมพระราชวังหลัง
รู ปแบบ
ร ้อยแก ้ว
๑๑.นิ พพานวังน่ า
พระองค ์เจ ้าหญิง
กัมพุชฉัตร
โคลงสุภาพ กลอน
สุภาพ กาพย ์ยานี
และร่ายสุภาพ
ร ้อยแก ้ว
๑๒.สามก๊ก
๑๓.ราชาธิราช
๑๔.โคลงพยุหยาตรา
เพชรพวง
๑๕.ลิลต
ิ ศรีวช
ิ ัย
ชาดก
๑๖.กากีคากลอน
๑๗.สมบัตอ
ิ มรินทร ์
คากลอน
๑๘.ร่ายยาวมหาชาติ
กัณฑ ์กุมาร
เจ ้าพระยาพระคลัง
(หน)
เจ ้าพระยาพระคลัง
(หน)
เจ ้าพระยาพระคลัง
(หน)
เจ ้าพระยาพระคลัง
(หน)
เจ ้าพระยาพระคลัง
(หน)
เจ ้าพระยาพระคลัง
(หน)
เจ ้าพระยาพระคลัง
(หน)
้
เนื อหา
บันเทิง+ตาราพิช ัย
สงคราม
บันทึกเหตุการณ์
ร่ายสุภาพ+โคลงสี่
สุภาพ
ลิลต
ิ สุภาพ
บันเทิง+ตาราพิช ัย
สงคราม
บันเทิง+ตาราพิช ัย
สงคราม
ขนบธรรมเนี ยม
ประเพณี
บันเทิง+ศาสนา
กลอนสุภาพ
บันเทิง
กลอนสุภาพ
บันเทิง
ร่ายยาว
ศาสนา
ร ้อยแก ้ว
่
ชือวรรณคดี
๒๓.มหาวงส ์
รู ปแบบ
ร ้อยแก ้ว
้
เนื อหา
ศาสนา
ร่ายยาว
ศาสนา
ศาสนา
พงศาวดาร
๒๔.ร่ายยาวกัณฑ์
มหาพน
๒๕.สงั คีตย
ิ วงส ์
ผู แ
้ ต่ง
พระยาธรรมปรีชา
(แก ้ว)
พระเทพโมลี
(กลิน
่ )
สมเด็จพระวันรัต
๒๖.มหายุทธการวงส ์
สมเด็จพระวันรัต
ร ้อยแก ้ว
(ภาษา
บาลี)
ร ้อยแก ้ว
๒๗.จุลยุทธการวงส ์
สมเด็จพระวันรัต
ร ้อยแก ้ว
พงศาวดาร
๒๘.พงศาวดารฉบับ
จันทนุมาศ
ั
เจ ้าพระยาพิพธิ ชย
ร ้อยแก ้ว
พงศาวดาร
๒๙.โคลงสรรเสริญ
พระเกียรติ
พระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้ าฯ
พระชานิโวหาร
โคลงสุภาพ
ยอพระเกียรติ
่
ชือวรรณคดี
รัชกาลที่ ๒
๓๐.รามเกียรติบ
์ ท
ละคร
๓๑.บทพากษ์
รามเกียรติ์ ๔
ตอน
๓๒.อิเหนา
๓๓.ไชยเชษฐ์
๓๔.สงั ข์ทอง
๓๕.ไกรทอง
ั
๓๖.มณีพช
ิ ย
๓๗.คาวี
๓๘.กาพย์เห่ชม
เครือ
่ งคาวหวาน
ฯ
๓๙.โคลงยอพระ
เกียรติ
พระบาทสมเด็จ
ผู แ
้ ต่ง
รู ปแบบ
้
เนื อหา
รัชกาลที่ ๒
บทละคร
บันเทิง+การแสดง
รัชกาลที่ ๒
บทพากษ์ โขน
บันเทิง+การแสดง
รัชกาลที่ ๒
รัชกาลที่ ๒
รัชกาลที่ ๒
รัชกาลที่ ๒
รัชกาลที่ ๒
รัชกาลที่ ๒
รัชกาลที่ ๒
กลอนบทละคร
กลอนบทละคร
กลอนบทละคร
กลอนบทละคร
กลอนบทละคร
กลอนบทละคร
ี่ ภ
โคลงสส
ุ าพ+
กาพย์ยานี
บันเทิง+การแสดง
บันเทิง+การแสดง
บันเทิง+การแสดง
บันเทิง+การแสดง
บันเทิง+การแสดง
บันเทิง+การแสดง
แสดงอารมณ์
กรมหมืน
่ เจษฎา
บดินทร์
ี่ ภ
โคลงสส
ุ าพ
ยอพระเกียรติ
่
ชือวรรณคดี
ผู แ
้ ต่ง
รู ปแบบ
้
เนื อหา
๔๒.นิ ราศพระบาท
๔๓.นิ ราศภูเขาทอง
๔๔.นิ ราศสุพรรณ
สุนทรภู่
สุนทรภู่
สุนทรภู่
กลอนนิ ราศ
กลอนนิ ราศ
่ ภาพ
โคลงสีสุ
แสดงอารมณ์
แสดงอารมณ์
แสดงอารมณ์
๔๕.นิ ราศวัดเจ ้าฟ้ า
สุนทรภู่
กลอนนิ ราศ
แสดงอารมณ์
๔๖.นิ ราศอิเหนา
สุนทรภู่
กลอนนิ ราศ
แสดงอารมณ์
๔๗.นิ ราศพระประธม
สุนทรภู่
กลอนนิ ราศ
แสดงอารมณ์
๔๘.นิ ราศเมืองเพชรบุร ี
สุนทรภู่
กลอนนิ ราศ
แสดงอารมณ์
๔๙.โคบุตร
๕๐.พระอภัยมณี
๕๑.กาพย ์พระไชยสุรยิ า
๕๒.ลักษณวงศ ์
สุนทรภู่
สุนทรภู่
สุนทรภู่
สุนทรภู่
กลอนนิ ทาน
กลอนนิ ทาน
กาพย ์
กลอนนิ ทาน
บันเทิง
บันเทิง
บันเทิง+แบบเรียน
บันเทิง
๕๓.สิงหไตรภพ
สุนทรภู่
กลอนนิ ทาน
บันเทิง
๕๔.สวัสดิร ักษา
สุนทรภู่
กลอนสุภาพ
คาสอน
๕๕.เพลงยาวถวายโอวาท
สุนทรภู่
กลอนสุภาพ
คาสอน
่
ชือวรรณคดี
๕๖.อภัยนุ ราช
๕๗.เสภาพระราช
พงศาวดาร
๕๘.บทเห่กล่อม ๔
่
เรือง
๕๙.ราพันพิลาป
๖๐.นิ ราศนรินทร ์
ผู แ
้ ต่ง
สุนทรภู่
สุนทรภู่
รู ปแบบ
กลอนบทละคร
กลอนเสภา
้
เนื อหา
บันเทิง
พงศาวดาร
สุนทรภู่
บทเห่ (คล ้ายกาพย ์
ยานี )
กลอนนิ ราศ
โคลงสุภาพ+ร่าย
สุภาพ
้
โคลงดันบาท
กุญชร+วิวธิ มาลี
่ ภาพ+ร่าย
โคลงสีสุ
นา ๑ บท
้
โคลงดัน
บันเทิง
สุนทรภู่
นายนรินทรธิเบศ
๖๑.โคลงนิ ราศตาม
้ อย
เสด็จลานาน้
๖๒.โคลงนิ ราศถลาง
พระยาตร ัง
้
๖๓.โคลงดัน
สรรเสริญพระ
เกียรติ
พระบาทสมเด็จ
พระยาตร ัง
พระยาตร ัง
แสดงอารมณ์
แสดงอารมณ์
แสดงอารมณ์
แสดงอารมณ์
ยอพระเกียรติ
่
ชือวรรณคดี
ผู แ
้ ต่ง
ร ัชกาลที่ ๓
่
ร ัชกาลที่ ๓
๖๔.นิ ทานแทรกเรือง
นางนพมาศ
ร ัชกาลที่ ๓
๖๕.เพลงยาวกลบท
อักษรบางบท
๖๖.พระลอนรลักษณ์ พระบวรราชเจ ้ามหาศักดิ
พลเสพ
๖๗.พระปฐมสมโพธิ
กรมพระปรมานุ ชต
ิ
กถา
ชิโนรส
๖๘.พระธรรมเทศนา
กรมพระปรมานุ ชต
ิ
ชิโนรส
พระราช
พงศาวดารสังเขป
๖๙.พระราช
กรมพระปรมานุ ชต
ิ
ชิโนรส
พงศาวดารกรุงศรี
อยุธยา
๗๐.คาฤษฎี
กรมพระปรมานุ ชต
ิ
ชิโนรส
๗๑.คานาม
กรมพระปรมานุ ชต
ิ
พระพุทธรูป
ชิโนรส
รู ปแบบ
้
เนื อหา
ร ้อยแก ้ว
คาสอน
กลอนเพลงยาว
บันเทิง
กลอนบทละคร
บันเทิง
ร ้อยแก ้ว
ศาสนา
ร ้อยแก ้ว
พงศาวดาร
ร ้อยแก ้ว
พงศาวดาร
ร ้อยแก ้ว
ตารา
ร ้อยแก ้ว
ตารา
่
ชือวรรณคดี
ผู แ
้ ต่ง
ิ
๗๔.ลิลต
ิ กระบวนพยุหยา กรมพระปรมานุชต
ชโิ นรส
ตราพระกฐิน
สถลมารคและ
ชลมารค
ิ
๗๕.กฤษณาสอนน ้องคา กรมพระปรมานุชต
ฉั นท์
ชโิ นรส
ิ
๗๖.สมุทรโฆษคาฉั นท์
กรมพระปรมานุชต
ชโิ นรส
ิ
๗๗.ตาราฉั นท์มาตรา
กรมพระปรมานุชต
พฤติและวรรณพฤติ
ชโิ นรส
ิ
๗๘.กาพย์ขบ
ั ไม ้กล่อม
กรมพระปรมานุชต
้
ชาง
ชโิ นรส
้
ิ
๗๙.ฉั นท์กล่อมชางพั
ง
กรมพระปรมานุชต
ชโิ นรส
ิ
๘๐.จักรทีปนีตารา
กรมพระปรมานุชต
โหราศาสตร์
ชโิ นรส
๘๑.ฉั นท์สงั เวยกลอง
รู ปแบบ
ลิลต
ิ สุภาพ
(ร่าย+โคลง)
้
เนื อหา
ขนบธรรมเนียม
ประเพณี
ฉั นท์ ๘ ชนิด
คาสอน
ฉั นท์
บันเทิง
ร ้อยแก ้ว+
กาพย์+ฉั นท์
ี่ ภ
โคลงสส
ุ าพ+
กาพย์ขบ
ั ไม ้
กาพย์ฉบัง+
ฉั นท์
ร ้อยแก ้ว+
กาพย์
สุรางคนางค์+
ฉั นท์๑๑
ั ตดิลกฉั นท์
ิ วสน
กรมพระปรมานุชต
ตารา
พิธก
ี รรม
พิธก
ี รรม
ตารา
พิธก
ี รรม
่
ชือวรรณคดี
๘๓.ร่ายยาวมหาเวสสันดร
๑๑ กัณฑ ์
๘๔.ร่ายทาขวัญนาคหลวง
๘๕.โคลงโลกนิ ติ
๘๖.โคลงนิ ราศไปทัพเมือง
เวียงจันทน์
๘๗.จินดามณี
๘๘.โคลงนิ ราศพระประธม
๘๙.โคลงนิ ราศฉะเชิงเทรา
๙๐.จดหมายเหตุความทรง
จากรมหลวงนรินทรเทวี
๙๑.โคลงยอพระเกียรติ ๓
ร ัชกาล
๙๒.โคลงนิ ราศพระพิพธิ
สาลีไปชุมพรและไชยา
ผู แ
้ ต่ง
กรมพระปรมานุ ชต
ิ
ชิโนรส
กรมพระปรมานุ ชต
ิ
ชิโนรส
กรมพระยาเดชาดิศร
กรมพระยาเดชาดิศร
รู ปแบบ
ร่ายยาว
้
เนื อหา
ศาสนา
ร่าย
พิธก
ี รรม
่ ภาพ
โคลงสีสุ
่ ภาพ
โคลงสีสุ
คาสอน
แสดงอารมณ์
ตารา
กรมหลวงวงศาธิราช
สนิ ท
กรมหลวงวงศาธิราช
สนิ ท
กรมหลวงภูวเนตรนริ
นทรฤทธิ
กรมหลวงนรินทรเทวี
ร ้อยแก ้ว+ร ้อย
กรองชนิ ดต่างๆ
ร่ายสุภาพ+
่ ภาพ
โคลงสีสุ
่ ภาพ
โคลงสีสุ
แสดงอารมณ์
ร ้อยแก ้ว
บันทึกเหตุการณ์
พระยาไชยวิชต
ิ
่ ภาพ+
โคลงสีสุ
กลอนสุภาพ
่ ภาพ
โคลงสีสุ
ยอพระเกียรติ
พระพิพธิ สาลี
แสดงอารมณ์
แสดงอารมณ์
่
ชือวรรณคดี
๙๓.ระเด่นลันได
ผู แ
้ ต่ง
พระมหามนตรี
๙๔.เพลงยาวแต่งว่า
ราชามาตย์
๙๕.ปฐมมาลา
พระมหามนตรี
กลอนเพลง
บันทึกเหตุการณ์
พระเทพโมลี
ตารา
๙๖.โคลงนิราศตลาด
พระเทพโมลี
กาพย์ยานี
กาพย์
สุรางคนางค์
ฉั นท์ โคลงส ี่
สุภาพ
ี่ ภ
โคลงสส
ุ าพ
แสดงอารมณ์
กลอนสุภาพ
แสดงอารมณ์
กลอนสุภาพ
แสดงอารมณ์+
ขนบธรรมเนียม
แสดงอารมณ์
๙๗.นิราศถลาง
๙๘.นิราศเดือน
๙๙.นิราศพระแท่นดงรัง
๑๐๐.นิราศสุพรรณ
๑๐๑.พลงยาวสรรเสริญ
หมืน
่ พรหมสมพัตสร
(นายมี)
หมืน
่ พรหมสมพัตสร
(นายมี)
หมืน
่ พรหมสมพัตสร
(นายมี)
หมืน
่ พรหมสมพัตสร
(นายมี)
หมืน
่ พรหมสมพัตสร
้
รู ปแบบ
เนื อหา
กลอนบทละคร บันเทิง+ล ้อเลียน
กลอนสุภาพ
กลอนนิราศ+
โคลงกระทู ้ ๑
บท
กลอนเพลง
แสดงอารมณ์
ยอพระเกียรติ
่
ชือวรรณคดี
๑๐๓.บทสักวาต่างๆ
๑๐๔.เพลงยาวจดหมาย
่
่ ปสร
เหตุเรืองกรมหมื
นอั
สุดาเทพประชวร
่
๑๐๕.เพลงยาวเรืองหม่
อม
เป็ ดสวรรค ์
่
๑๐๖.บทละครเรืองพระมะ
เหลเถไถ
่ ณรุท
๑๐๗.บทละครเรืองอุ
่
ร ้อยเรือง
ผู แ
้ ต่ง
คุณพุ่ม
รู ปแบบ
กลอนสักวา
คุณสุวรรณ
กลอนเพลงยาว
้
เนื อหา
แสดงอารมณ์+
ปฏิภาณ
บันทึกเหตุการณ์
คุณสุวรรณ
กลอนเพลงยาว
บันทึกเหตุการณ์
คุณสุวรรณ
กลอนบทละคร
บันเทิง
คุณสุวรรณ
กลอนบทละคร
บันเทิง

๑. พระมหากษั ตริย ์
๑.๑ องค์อานวยการ
๑.๒ ผู ้ทรงพระราชนิพนธ์
๒. พระบรมวงศานุวงศ ์
๒.๑ องค์อานวยการ
๒.๒ ผู ้ทรงพระราชนิพนธ์
๓. ขุนนางข ้าราชการ
๔. พระภิกษุ สงฆ์
๕. สตรี










๑. ร ้อยแก ้ว
๑.๑ ร ้อยแก ้วอย่างเดียว
๑.๒ ร ้อยแก ้วร่วมกับร ้อยกรอง
๒. ร ้อยกรอง
๒.๑ กาพย์
๒.๒ กลอน
๒.๓ โคลง
๒.๔ ฉั นท์
๒.๕ ร่าย
๒.๖ คาประพันธ์พเิ ศษ ได ้แก่ ลิลต
ิ กาพย์เห่เรือ
และ กาพย์หอ
่ โคลง












๑. วรรณคดีเพือ
่ ความบันเทิง
๒. วรรณคดีเพือ
่ การแสดง
๓. วรรณคดีเพือ
่ การแสดงอารมณ์
๔. วรรณคดีเพือ
่ บันทึกเหตุการณ์
๕. วรรณคดีเพือ
่ ยอพระเกียรติ
๖. วรรณคดีศาสนา
๗. วรรณคดีคาสอน
๘. วรรณคดีพงศาวดาร
๙. วรรณคดีตารา
๑๐. วรรณคดีประเพณีและพิธก
ี รรม
๑๑. วรรณคดีกฎหมาย
๑๒. วรรณคดียั่วล ้อ
้ นแผน
เสภาขุนชางขุ
ทีม
่ าและความหมายของ “เสภา”
 ๑.
ประจักษ์ ประภาพิทยากร (๒๕๑๙ : ๒) ได ้ประมวล
ความหมายและทีม
่ าของคาว่า “เสภา” ไว ้ใน “ประเพณี
้ นแผน” ว่า
และไสยเวทวิทยาในขุนชางขุ

๑.๑ มาจาก คาว่า “เสวา” หรือ “เสวกากุ” ใน
ั สกฤต
ภาษาบาลีสน

๑.๒ มาจาก คาว่า “เศรไว” หรือ “หริเศรไว”
ในภาษาทมิฬ
ั ฤทธิ์ (๒๕๑๐ : ๔) สน
ั นิษฐานว่า มา
ไพโรจน์ สุขสม
จาก คาว่า “เสพงัน” ซงึ่ เป็ นภาษาถิน
่ เหนือและ
ตะวันออกเฉียงเหนือ
 ๒.
สมเด็จพระเจ ้าบรมวงศเ์ ธอ เจ ้าฟ้ ากรมพระยานริศรา
ั นิษฐานไว ้ว่า อาจจะ
นุวัดติวงศ ์ (๒๕๑๕ : ๘๑) ทรงสน
มาจากต ้นคาไหว ้ครูทส
ี่ ญ
ู หายไปแล ้ว หรืออาจจะมาจาก
คาว่าโสภา
 ๓.
์ ก
หม่อมราชวงศค
ึ ฤทธิ์ ปราโมช (๒๕๑๓ : ๕) กล่าว
ไว ้ว่า “เสภา” หมายถึง คุก
 ๔.
ั นิษฐานไว ้
ภาษิต จิตรภาษา (๒๕๔๓ : ๙๖-๙๗) สน
เป็ นสองประการ คือ

๕.๑ ตัดหรือย่อมาจาก “เสภาดนตรี”
ตามกฎมณเฑียรบาลในกฎหมายตราสามดวง
 ๕.
้
ทีม
่ าของการเล่นเสภาเรือ
่ งขุนชาง
ขุนแผน
 ๑. สมเด็จพระเจ ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ (
ั นิษฐานว่า น่าจะมาจากการเล่านิทานให ้
๒๕๓๘ : [๒] ) ทรงสน
คนฟั งในงานประเพณีตา่ งๆ เดิมคงเล่าเป็ นร ้อยแก ้ว ต่อมาจึงได ้
่ านอง
คิดประดิษฐ์เป็ นร ้อยกรองในบางตอนทีส
่ าคัญๆ และใสท
เพือ
่ ให ้คนฟั งไม่เบือ
่ หน่าย แล ้วพัฒนาเรือ
่ ยมากลายมาเป็ นการ
่ ในปั จจุบน
ขับเสภาดังเชน
ั สว่ นสาเหตุทน
ี่ ย
ิ มเล่าหรือขับเรือ
่ งขุน
้ นแผนคงเป็ นเพราะมีเนือ
ชางขุ
้ เรือ
่ งสนุกสนาน ประทับใจคนฟั ง

นอกจากนี้ สมเด็จพระเจ ้าบรมวงศเ์ ธอ เจ ้าฟ้ ากรมพระยา
นริศรานุวด
ั ติวงศ ์ (๒๕๑๕ : ๘๓) ทรงกล่าวเสริมไว ้อีกว่า เหตุท ี่
้ นแผนก็เพราะเป็ นเรือ
คนนิยมเรือ
่ งขุนชางขุ
่ งทีม
่ อ
ี รรถรส
หลากหลาย และเป็ นเรือ
่ งที่ “ขวางน้ าใจ” ไม่เป็ นไปอย่างทีค
่ าด
จึงทาให ้เรือ
่ งน่าติดตาม
้ นแผนซงึ่ เป็ นเรือ

ในสว่ นทีน
่ าเอาเรือ
่ งขุนชางขุ
่ งหยาบโลน
์ ก
 ๒. หม่อมราชวงศค
ึ ฤทธิ์
ปราโมช (๒๕๑๓ : ๕)
ั นิษฐานว่า มาจากการละเล่นของคนคุก โดยคนคุกขับ
สน
เล่นกันมาก่อนแล ้วจึงแพร่หลายออกมา ดังจะเห็นได ้ว่า มี
เนือ
้ เรือ
่ งหลายตอนทีเ่ กีย
่ วกับคุกและนักโทษ
ั นิษฐานไว ้ใน
 ๓. นั นทา ขุนภักดี (๒๕๓๖ : ๑๘๓) สน
แนวทางเดียวกับสมเด็จพระเจ ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยา
ดารงราชานุภาพ คือ เกิดจากการมีดนตรีอยูใ่ นหัวใจของ
มนุษย์ เมือ
่ เล่านิทานร ้อยแก ้วจนเบือ
่ แล ้วจึงใชร้ ้อยกรองทีม
่ ี
ี งสูงๆตา่ ๆเล่าแทน เพือ
เสย
่ ให ้ผู ้ฟั งไม่เบือ
่ หน่าย
 ๔. วีกานดา สงิ ห์ขวา (๒๕๒๖ : ๖๑) กล่าวถึงเหตุทน
ี่ ย
ิ มเล่า
่ ที่
นิทานหรือขับเสภาเล่นแต่เฉพาะชว่ งกลางคืน ดังเชน
ปรากฏในกฎหมายตราสามดวงว่า “หกทุม
่ เบิกเสภาดนตรี...”
นัน
้ เพราะเทวดาก็ชอบฟั งนิทาน แต่กลางวันเทวดาไม่วา่ ง
หากมนุษย์เล่านิทานกลางวันจะถูกสาปแชง่ จึงกลายเป็ นคติ
ทีเ่ ล่านิทานเฉพาะกลางคืน
ั นิษฐานตาม
 ๕. ภาษิต จิตรภาษา (๒๕๔๓ : ๙๖-๙๗) สน
์ ก
แนวความคิดของหม่อมราชวงศค
ึ ฤทธิ์ ปราโมช คือเป็ น
การเล่นของคนคุกมาก่อน ดังจะเห็นว่าในบทไหว ้ครูยังมีครู
เสภาทีม
่ ต
ี าแหน่งเป็ นผู ้คุมอยูด
่ ้วย
พัฒนาการของเสภา
 สมเด็จพระเจ ้าบรมวงศเ์ ธอ
กรมพระยาดารงราชานุภาพ
ั นิษฐานเรือ
้ นแผน ดังนี้
ทรงสน
่ งการแต่งขุนชางขุ
เป็ นเรือ
่ งทีเ่ กิดขึน
้ จริงในสมัยสมเด็จพระ
ั ราช ๘๔๓ – ๘๙๑) ซงึ่ พบหลักฐาน
รามาธิบดีท ี่ ๒ (ศก
จากคาให ้การของชาวกรุงเก่า
ั ราช ๑๔๗ ทีป
ตัวเลขศก
่ รากฏในคา
ประพันธ์ทวี่ า่
้
จะกล่าวถึงเรือ
่ งขุนแผนขุนชาง
ทัง้ นวลนางวันทองผ่องศรี
ั ราชร ้อยสส
ี่ บ
ิ เจ็ดปี
ศก
พ่อแม่เขาเหล่านีค
้ นครัง้ นัน
้
 วัชรี
ั นิษฐานว่า
รมยะนันทน์ สน
้ นแผนน่าจะแต่งในสมัย
เสภาเรือ
่ งขุนชางขุ
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตามหลักฐานเรือ
่ งวัด
ั มงคล ซงึ่ เป็ นวัดเดียวกับวัดเจ ้าพระยาไทย
ใหญ่ชย
ทีป
่ รากฏในคาประพันธ์วา่

ปี ขาลวันอังคารเดือนห ้า
ั ้ ฉาย
ตกฟากเวลาสามชน
กรุงจีนเอาแก ้วอันแพรวพราย
มาถวายพระเจ ้า
กรุงอยุธยา
่ ลายยอดเจดียใ์ หญ่
ให ้ใสป
สร ้างไว ้แต่
เมือ
่ ครัง้ เมืองหงษา
กวีคนสาคัญ

้ นแผน พระบาทสมเด็จพระ
บทเสภาเรือ
่ งขุนชางขุ
พุทธเลิศหล ้านภาลัยโปรดเกล ้าฯให ้กวีหลายท่าน
ชว่ ยกันแต่ง กวีแต่ละท่านก็ได ้แต่งกันอย่างสุดฝี มือ
ั นิษฐาน
สมเด็จฯกรมพระยาดารงราชานุภาพทรงสน
ว่า กวีผู ้แต่งคงมิได ้แต่งแต่เพียงคนเดียว ตัง้ แต่ต ้น
จนจบเรือ
่ ง คงจะเลือกแต่งเฉพาะตอนทีก
่ วีเห็นว่า
สาคัญและเป็ นตอนทีต
่ นชอบหรือถนัดในบทนัน
้ ๆ
สว่ นตอนทีไ่ ม่สาคัญก็เล่าเป็ นนิทานร ้อยแก ้ว ต่อมา
เมือ
่ คนเล่าเห็นว่าผู ้ฟั งชอบฟั งกลอนมากขึน
้ จึง
เลือกแต่งเป็ นตอนพอสาหรับขับได ้จบในคืนหนึง่ ๆ
ความนิยมตามลักษณะดังกล่าวมีปรากฏมาจนถึง
ิ ทร์ตอนต ้น
กรุงรัตนโกสน
่
้ ปรากฏว่ามี
ชาระหนังสือเสภาเรืองขุ
นช้างขุนแผนขึน
บทเสภาสานวนต่างๆกระจัดกระจายอยู ่จงึ ได้เลือกเอา
่ ทสุ
สานวนทีดี
ี่ ดมารวมกน
ั จนครบทุกตอน มี
รายละเอียดดังนี ้
้ บนางพิม
๑. พลายแก ้วเป็ นชูกั
พระราชนิพนธ์ใน
รัชกาลที่ 2
้
๒. ขุนชางขอนางพิ
ม
พระราชนิพนธ์ใน
รัชกาลที่ 2
้
๓. พลายแก ้วได ้เป็ นขุนแผน และขุนชาง
พระราช
นิพนธ์ในรัชกาลที่ 2
ได ้นางวันทอง
๔. กาเนิดกุมารทอง บุตรนางบัวคลี่ สานวนครูแจ ้ง
๕. ขุนแผนพานางวันทองหนี
พระราชนิพนธ์ใน
รัชกาลที่ 2
้
๖. ขุนชางตามนางวั
นทอง
พระราชนิพนธ์ใน
กาเนิดพลายงาม
สานวนสุนทรภู่
้
๑๐. เจ ้าลานชางถวายนางสร
้อยทอง
สานวน
ก่อนสมัยรัชกาลที่ 2
๑๑. ขุนแผนแก ้พระท ้ายน้ า
สานวนครูแจ ้ง
ี งใหม่
๑๒. ขุนแผนพลายงามจับพระเจ ้าเชย
สานวนครู
แจ ้ง
๑๓. ขุนแผนพลายงามยกทัพกลับ
สานวนครู
แจ ้ง
๑๔. ถวายนางสร ้อยทองสร ้อยฟ้ า
สานวนครู
แจ ้ง
๑๕. จระเข ้เถรขวาด
สานวนครูแจ ้ง
๙.
ื่
ลาดับวงศ ์สกุลของตัวละครใน
่
เรือง
ขุนช้างขุนแผน
ขุนไกรพลพ่าย
+
นางทองประศรี
(ตาบลบ ้านพลับ จังหวัดสุพรรณบุร)ี
(วัดตะไกร จังหวัด
สุพรรณบุร)ี
ขุนแผน
[พลายแก ้ว พระสุรน
ิ ทรฦาไชยมไหสูรย์ภักดี (พระกาญจนบุร)ี ]
นางพิมพิลาไลย นางสายทอง นางลาวทอง นางบัวคลี่ นาง
แก้วกิรย
ิ า
(วันทอง)
(บ ้านจอมทอง) (บ ้านถ้า)
พลายงาม
พลายณรงค ์ กุมารทอง
พลายชุมพล
(จมืน
่ ไวยวรนาถ)
(หลวงต่างใจ)
(หลวงนายฤทธิ)์
+ นางศรีมาลา +นางสร ้อยฟ้า
ขุนศรีวช
ิ ัย
+
เทพทอง
้
(นายกองกรมชางนอกบ
้านรัว้ ใหญ่
เบีย
้ เมืองสุพรรณ)
เมืองสุพรรณ)
ขุนช้าง
ทอง
นาง
ิ
(ท่าสบ
นางแก่นแก้ว
นางวัน
(ลูกหมืน
่ แผ ้ว)
(เมือ
่ นาง
พันศรโยธา
+
ประจัน
(ท่าพีเ่ ลีย
้ ง เมืองสุพรรณ)
นางศรี
นางพิมพิลาไลย + พลายแก้ว
(วันทอง)
(ขุนแผน)
พลายงาม
(จมืน
่ ไวยวรนาถ)
อาจารย ์ของพลายแก้ว
สมภารบุญ
สมภารคง
สมภารมี
้
(วัดสมใหญ่
)
(วัดแค)
เมืองกาญจนบุรี
เมืองสุพรรณบุรี
(วัดป่ าเลไลยก์)
เมืองสุพรรณบุรี
ความขัดแย้ง
มาลา
สร ้อยฟ้า
พิมพิลาไลย
ขุนช้าง
ศรี
ขุนแผน
่
จมืนไวยวรนาถ
คุณค่าด้านความรู ้
ประเพณี ในขุนช้าง
ขุนแผน
่
I ประเพณี ทเกี
ี่ ยวข้
องกับ
การเกิด
๑. การแพ้ทอ
้ ง
้
“จะกล่าวถึงนางเทพทอง
ท้องนันโต
้
ใหญ่ขนค
ึ ้ าหน้
า
 ลุกนั่งอึดอ ัดถัดไปมา
ให้อยากเหล้า
้
่ ัว
เนื อพล่
าตัวสันร
 น้ าลายไหลรีดง
ั ผีกระสือ
ร ้องไห้คราง
ฮืออ้อนวอนผัว
่ กน
 เหมือนหนึ่ งตาหลวงเข้าประจาตัว ยิงให้
ิ
่ งเป็
่ นไป
ตะละยังยิ
้
่
 ปลาไหลไก่กบตังเตาฝา
แย้บงอึ
ึ ้ งนา
๒. การคลอดบุตร
“ท้องลดทศมาสลู กถีบยัน พอใกล้ฤกษ ์ยาม
้
นันเจ็
บหนักไป
 บิดตัวเรียกผัวหาพ่อแม่
ร ้องเปื ้ อน
เชือนแชไม่เอาส่าได้
่ น
 ฝ่ายผัวพ่อแม่แลข้าไท
วิงวุ
่ ครุน
่ ไป
่
อน
ทีบนเรื
้
 บ้างก็เสกมงคลปรายข้าวสาร
เอาเบียบน
่
ลนลาเหน็ บฝาเกลือน
๓. ทาขวัญ
“แล้วเร่งร ัดจัดแจงแต่งบายศรี เงินทอง
ของดีมาผู กให้
 กล้วยน้ าแตงกวาเอามาใส่
ธู ปเทียน
ดอกไม้มห
ี ลายพรรณ
 ให้หลานใส่เสมาปะวะหล่า
กาไลทอง
งามเฉิ ดฉัน
้ สายกุดน
่ั
 บ้าหว่าทองผู กสองข้างแขนนัน
้
ทังแท่
งดังแกล้งทา
 ผู กลู กพริกเทศด้วยทองคา กาไลตีนนาก

้
ศรีศรีวน
ั นี ฤกษ
์ดีแล้ว
พลายแก้วอย่าไปไหน
 ขวัญมาอยู ่สู่กายให้สบายใจ
้ นทอง
ข้าไททังเงิ
 ขวัญเอ๋ยเจ้ามาเถิดพ่อมา
กะเกณฑ ์ตระเวนท่อง
 มาชมพวงแก้วแล้วพวงทอง
เหลือหลายสบายใจ
้ั
 ครนแล้
วจึงโห่อก
ี สามที

เชิญขวัญ
ชมช้างม้า
่
อย่าเทียวล่
า
ข้าวของ
ดับอัคคีโบก
II การโกนจุก
“ทองประศรีดใี จไล่ฤกษ ์ยาม ได้สบ
ิ สามปี
แล้วหลานแก้วกู
้ บคา
่
จะโกนจุกสุกดิบขึนสิ
แกทาน้ ายา
จีนต้มตีนหมู
่
พวกเพือนบ้
านวานมาผ่าหมากพลู บ้างปั ดปู
่
เสือสาดตลาดพรมเจี
ยม
้
้ั งข ์ใส่
ทังหม้
อเงินหม้อทองสารองตัง้
มีทงสั
น้ ามนตร ์ไว้จนเปี่ ยม

III การบวช
“อยู ่มาจนเจ้าเจริญวัย
ได้ถงึ สิบห้า
่
 ไม่วายคิดถึงพ่อทีมรณา
ตรึกตรามากว่าปี
 อยากจะเป็ นทหารชาญช ัย
่ นผี
เหมือนพ่อขุนไกรทีเป็
 จึงอ้อนวอนมารดาได้ปราณี
ใคร่รู ้วิชาการ

้ั
อายุนน
แต่นึก
ให้
้
ลู กนี จะ
้
IV ประเพณี การแต่งงาน
1. การทาบทาม
“จะขอพันธุ ์ฟั กแฟงแตงน้ าเต้า
ปลู กในไร่ขา้
้ ัตคัดขัดสนจนเงินตรา
ทังอ
ออแก้วให้ชว
่ งใช้
อยู ่รองเท้านึ กเอาว่าเกือกหนัง
จะหาประกันให้”
่
ทีออเจ้
าไป
จะมาขาย
่ งก็
ไม่เชือฟั
2. การปลู กเรือนหอ
้ งโฉมเจ้าพลายแก้ว ครงถึ
้ั งกาหนด
“ครานันถึ
แล้วจึงนัดหมาย
่
บอกแขกปลู กเรือนเพือนผู
ช
้ าย มายังบ้านท่าน
ยายศรีประจัน
่
ให้ขด
ุ หลุมระด ับช ักปั กเสาหม้อ เอาเครืองเรื
อน
มารอไว้ทนั
ี่ ่ น
ตีสบ
ิ เอ็ดใกล้รุง่ ฤกษ ์สาค ัญ
ก็ทาขวัญเสา
เสร็จเจ็ดนาที”
3. การซ ัดน้ า
่ านั่งอ ัด พระสงฆ ์เปิ ด
 “หนุ่ มสาวเคียงคังเข้
ตาลปั ตรซ ัดน้ าโร่
 ปราลงข้างสีกาห้าหกโอ
ท่านยายโพสาว
นาน้ าเข้าตา
 อึดอ ัดยัดเยียดเบียดกันกลม เอาหนามส้มแทง
ท้องร ้องอุย
่ หน่ า
่ ถูกเท้ายันดันเข้ามา
 ทีไม่
ท่านยายสาออกมา
นั่งบังกันไว้
้
 มหาดเล็กโลนโลนโดนกระแทก เอ่อพ่อขีแตกไม่
ทนได้
 ท่านยายสาเต็มทีลุกหนี ไป
จนพระไวยศ
รีมาลามาชิดกัน
4. การตักบาตร
่
 “เดินออกนอกชานสะท้านใจ พระหมืนไวยต
ัก
ข้าวไว้คอยท่า
 แล้วส่งคันทารพีให้ศรีมาลา
พอสบตา
เจ้าก็ม่อยละมุนลง
 ศรีมาลาอายใจมิใคร่จะร ับ
วันทองจับ
ข้อศอกคอยเสือกส่ง
่ั
 แต่พอคุมเข้าด้วยกันให้มนคง
ประคองค่อยเทลง
ในบาตรพลัน
5. การส่งตัว
้ านยายศรีประจัน
้ั วน
“ครานันท่
ครนถ้
สามวันหาช้าไม่
 ประโลมปลอบลู กน้อยกลอยใจ ด้วยไม่รู ้กล
มารยา
 โอ้เจ้าพิมนิ่ มนวลของแม่เอ๋ย เจ้าไม่เคยให้ชาย
เสน่ หา
่ั
งคามารดา
 ร ้อยชงจงฟั
นี่ คู เ่ คยของเจ้า
มาแต่กอ
่ นแล้ว
 ร ้อยคนพันคนไม่ดลใจ
จาเพาะเจาะได้
เจ้าพลายแก้ว
้
 แม่เลียงไว้
มใิ ห้อ ันใดแพ้ว
แค่แนวไม้เปรียะ
่

่
“ยกศพใส่หบ
ี พระราชทาน เครืองอานแต่
งตง้ั
เป็ นจังหวะ
่ ้องกลองชนะ
 ปี่ ชวาราร
นิ มนต ์พระให้นา
พระธรรมไป
 พลายชุมพลนุ่ งขาวใส่ลอมพอก
โปรย
ข้าวตอกออกหน้าหาช้าไม่
่ องก็ราไร
่
 พวกพ้องพีน้
นุ่ งขาวตามไปล้วน
ผู ด
้ ”ี

่
ความเชือ
่
่
ความเชือเรืองความฝั น
่ องความฝั
่
ความเชือเรื
น
้
• 1. “ฝ่ายนางเทพทองนันนอนหลั
บ พลิกกลับก็
เพ้อละเมอฝั น
้
่ ัน
้ ว
• ว่าช้างพลายตายกลิงตลิ
งช
พองขึนหั
้
นันเน่
าโขลงไป
• ยังมีนกตะกรุมหัวเหม่
บินเตร่เร่
เข้ามาในป่ าใหญ่
• อ้าปากคาบช้างแล้ววางไป
เข้าในหอ
่
กลางทีนางนอน
้ านางเรียกนก
• ในฝั นนันว่
เชิญเจ้าขร ัวหัว
ถกมานี่ก่อน
่ องความฝั
่
ความเชือเรื
น
• 2. “มาจะกล่าวถึงนางทองประศรี นอนด้วย
สามีในเรือนใหญ่
• นิ มต
ิ ฝั นว่าท้าวสหัสนัยน์
ถือแหวน
้
เพชรเม็ดใหญ่เหาะดันมา
้ั งจึงยืนแหวนนั
่
้
• ครนถึ
นให้
นางร ับแหวน
้
นันไว้
ดว้ ยหรรษา
่
• แสงเพชรส่งวาบปลาบเข้าตา
ตืนผวาคว้
า
่
ทัวปลุ
กผัวพลัน”
่ องความฝั
่
ความเชือเรื
น
• 3. “มาจะกล่าวถึงนางศรีประจัน
นอนฝั นในเคหา
้ ้า
• ว่าพระพิศณุ กรรม ์เหาะดันฟ
้
ประดับมาสวมนิ วนาง
• แล้วก็กลับไปสถานพิมานมาศ
พิศวาสจนสว่าง
่ กปลุกผัวยิมหั
้ วพลาง
• ตืนลุ
แล้วพลันแก้ฝันไป”
่
เทียงคื
น
ถือแหวน
แสนสนิ ท
ล้างหน้า
่ องความฝั
่
ความเชือเรื
น
• 4. “จะกล่าวถึงโฉมเจ้าพลายงาม
เพลายามสามหลับอยู ่กบ
ั หล่อน
• กาหนัดหนุ่ มกลุม
้ ใจให้อาวรณ์ เทพเจ้า
จึงสังหรณ์ให้เห็นตัว
• ฝั นว่านารีพงรุ
ึ่ น
่ สาว
ผิวขาวคมคาย
มิใช่ชว่ ั
่ งดอกบัว
้
• สองเต้าเต่งตังดั
มายืนยิม
่
้
ยัวแล้
วเยืองกราย
• พออภิปรายทายทักช ักสนิ ท
นาง
เบือนบิดทาทีจะหนี หน่ าย
่ องความฝั
่
ความเชือเรื
น
้
• 5. “ฝ่ายว่านวลนางศรีมาลา
คืนวันนัน
นิ ทราก็ใฝ่ฝั น
• ว่าลงสระเล่นน้ าสาราญคร ัน
เห็นบุษบัน
ดอกหนึ่ งดู พงึ ตา
้ นน้ างามสะอาด
• ผุดขึนพ้
นางโผน
ผาดออกไปด้วยหรรษา
• เด็ดได้ดใี จว่ายกลับมา
กอดแนบอุรา
ประคองดม
• ลืมตาคว้าดู ดอกบัวหาย
เสียดายนี่
กระไรไม่ได้สม
่
่ องความฝั
่
ความเชือเรื
น
6. “ทองประศรีนอนหลับแล้วกลับฝั น ความ
่
กลัวตัวสันตกใจหวาม
่ นให้
้
่ั
• สะดุง้ ฟื ้ นตืนขึ
ครนคร
้าม
อารามตกใจ
่
ปลุกซึงสามี
• ขุนไกรถามไปว่าอะไรเจ้า
นางจึงเล่า
้ วนถี่
ความฝั นนันถ้
• ว่าฟั นฉันหักกระเด็นเห็นไม่ด ี
ช่วยทานาย
้ แจ้งใจ”
ฝั นนี ให้
่ องกรรม
่
ความเชือเรื
่ องกรรม
่
ความเชือเรื
้ั าผัวโผง
 1. “พอเข้าไปในรวด่
อ้ายตาย
โหงหักคอไม่ขอเห็น
้ กรรมจึงจาเป็ น ได้ชายเช่นนี มา
้
 แต่ชาตินีมี
เป็ นสามี”
่ องกรรม
่
ความเชือเรื
่ าง
2.
“ร ักเมียเหมือนจะช ักให้หก
ั ร ้าง ด ังพีขว้
เจ้าลงทะเลใหญ่
 น้องเอ๋ยผลกรรมเราทาไว้
จะร ้องไห้ไปจน
เลือดตากระเด็น
่
่
 อกพีอกน้
องจะพองพัง
ใครจะหยังใน
ทรวงมาล่วงเห็น
่ ั นใด
 ร ักษาต ัวเถิดนะเจ้าทุกเช้าเย็น เช่นชวฉั
อย่าได้ทา
 เดชะบุญเราสร ้างแต่ปางก่อน คงมีว ันผันผ่อนที่
่
ครวญครา”
ลางสังหรณ์
้
่นอึง
 “ให้มล
ี างคืนนันสนั
แมงมุมตีอกผึงหา
หยุดไม่
สยดสยองพองขนทุกคนไป
เย็นยะเยือกจับใจไป
ทุกยาม
ใต้เตียงเสียงหนู ก็กก
ุ กก
แมงมุมทุ่มอกที่ริม
ฝา
่
่
่ ั ัวกลัวมรณา ดังวิญญานางจะ
ยิงหวาดหวั
นพร
นต
พรากไปจากกาย”
่
ไสยเวทในเรืองขุ
นช้างขุนแผน
ไสยเวทของขุนแผน
สะกดทัพจับคนทัง้ ปลุกผี
กาแหงหาญ
ปั ถมังกาบังตนทนทาน
กุญแจประจักษ์ใจ
ั สงครามทัง้ ความรู ้
ทัง้ พิชย
ั รูไม่สได
ศต
ู้ ้
ฤกษ์ผานาทีทก
ุ สงิ่ ไป
มะขามเป็ นต่อแตน
ผูกพยนต์ฤทธี
สะเดาะดาลโซ่
อาจจะปราบ
ทัง้ เสกใบ
้
การใชเฉพาะคาถาอาคม
1.1 หลับตาภาวนาร่ายพระเวท อันวิเศษ
ี่ วชาญอาจารย์ให ้
เชย
เรียกมหาอาโปเป่ าออกไป
เป็ นน้ าไหล
พลุง่ พลัง่ ดังท่อธาร
พิลก
ึ ล ้นท ้นทั่วทัง้ จังหวัด
ลมก็พัดเป็ น
ระลอกกระฉอกฉาน
พวกทัพไทยต่างคนตะลนตะลาน
ตะเกียกตะกายว่ายซานขึน
้ ต ้นไม ้
1.2 แล ้วอ่านมนต์ดลเรียกเตโชธาตุ เป่ าปราด
ไปเป็ นเพลิงเถกิงไหม ้
โพลงพลุง่ ทุง่ เถือกเป็ นเปลวไฟ วาบวามลาม
ไล่ไพร่พลลาว
พวกลาวเห็นไฟไหม ้ลามมา
กระทืบม ้าหนี
พล่านออกฉานฉาว
ั่ ท ้าว ร ้องเรียก
กัมปนาทหวาดหวัน
่ ตัวสน
เจ ้านายชว่ ยข ้าด ้วยรา
้
การใชคาถาอาคมควบคู
ก
่ บ
ั วัตถุ
จึงรูดเอาใบมะขามมาสามกา
ต่อบินปร๋อปรือ
๋
ื ฮอ
ื
ตัง้ โกฏิแสนแน่นป่ ามาฮอ
ดาปื้ อไปทุกละเมาะ
เสกซา้ เป็ น
ดูออกคลา่
้
การใชคาถาอาคมควบคู
ก
่ บ
ั วิญญาณ
ธรณีทน
ี่ ั่งกระทั่งไหว
ดังคนไกวเกือบแยก
แตกสลาย
ฝูงผีลก
ุ โลดโขมดพราย แปลงกายต่างต่าง
วิง่ วางมา
ครัน
้ เข ้าใกล ้ไม่อาจจะทาร ้าย ด ้วยกลัวมนตร์
เจ ้าพลายเป็ นหนักหนา
ต่างก ้มกราบถามไปมิได ้ชา้
เจ ้าข ้าจะ
ประสงค์อน
ั ใดมี
การอยูย
่ งคงกระพัน
ั รงเป็ นองค์นารายณ์ แขนซายส
้ ก
ั
แขนขวาสก
ี ์
ชาดเป็ นราชสห
ั พยัคฆี
้ ก
ั
ขาขวาหมึกสก
ขาซายส
หมีมก
ี าลัง
ั อุระรูปพระโมคคัลลา ภควัมปิ ดปานัน
สก
้
ั หลัง
สก
ี ้างสก
ั อักขระนะจังงัง
สข
ศรี ษะฝั งพลอย
นิลเม็ดจินดา
การทาเสน่ห ์
ครานัน
้ เถนขวาดราชครู
พิเคราะห์ดป
ู รีดเิ์ ปรม
เกษมสานต์
 หยิบขีผ
้ งึ้ ปากผีมามินาน
เอาเถ ้าพรายมา
ประสานประสมพลัน
้
 ลงอักษรเสกซอมแล
้วย ้อมถม
เป่ าด ้วยอาคมแล ้วจึง
ปั น
้
ั ยันต์ลงชอ
ื่ ศรี
 เป็ นสองรูปวางเรียงไว ้เคียงกัน
ชก
มาลา
ื่ คือพระไวย
 อีกรูปหนึง
่ ลงชอ
เอาหลังติดกันไว ้ให ้
ห่างหน ้า
 ปั กหนามแทงตัวทั่วกายา
แล ้วผูกตราสงั มั่นขนัน

 เถนนั่ งบริกรรมแล ้วซ้าเป่ า
ผัน
 หันหน ้าคว ้ากอดกันพัลวัน
ั ไว ้ตรึงตรา
กระสน
 รูปนีจ
้ งฝั งไว ้ใต ้ทีน
่ อน
หา
 แล ้วเสกแป้ งน้ ามันจันทน์ทา
น้ ามันพราย
 ครัน
้ เสร็จสง่ ให ้เจ ้าสร ้อยฟ้ า
 พรุง
่ นีถ
้ ้ากระไรได ้แยบคาย
เพลฯ
พอตัง้ สองรูปเข ้าก็พลิก
ิ จน์เข ้า
เอาสายสญ
ไม่ข ้ามวันก็จะร่อนลงมา
ประสมด ้วยว่านยา
ี าตะวันสาย
ไปเถอะสก
ให ้นางไหมขยายมาสง่
ิ ป์
คุณค่าด ้านวรรณศล
1. การใชค้ าง่าย
้
1.1 ขุนชางเขม
้นเห็นแขนพิม
เงยแหงนยิม
้ อยูเ่ ป็ นครู่
้
่ หวนงู
นิว้ ก ้อยชอยแขนใส
แ
กัดไม่ปัดยุง
ชะแง ้
1.2 เห็นแต่เงินทองของเขา
ก็จะเอามายกให ้
หมูหมา
ดูจนยุง
1.3 เทพทองตาหมากทิง้ สากโผง ตาย
โหงจริงแล ้วอีพอ
่ ข ้าไหว ้
กรรมเอ๋ยกรรมกรรมทาอะไร
จะแก ้ไข
1. การใชค้ าง่าย
1.4 ข่มเหงแม่ยายขายประจาน
นั่นก็
พ่อแม่ของกูมา
มึงไซร ้ก็ได ้แจ ้งเนือ
้ ความหลัง กูได ้เล่า
ให ้ฟั งเป็ นหนักหนา
้
เมือ
่ ลักแม่มงึ หนีขน
ุ ชางมา
ไปพึง่ พา
ท่านได ้ก็ดเู อา
ี
จะพากันฉิบหายตายโหงเสย
มึงจะได ้ที
เมียทีไ่ หนเล่า
ี ง
2. การใชค้ าทีท
่ าให ้เกิดภาพ เสย
และแสงส ี
2.1 พิมฟั งบังบานอยูไ่ ม่ได ้
ขัดใจเอามือ
ผลักประตูผงึ
กลุ ้มกลัดขัดใจดังไฟรึง
ลงตีนตึงตึงถึง
เตียงนอน
่ ง
2.2 พระจันทร์ลอยลีลาเวหาห ้อง สาดสอ
ต ้องเต ้าดูขาวชว่ ง
น้ ากระทั่งหลัง่ ไหลกระทบทรวง ดังเพชรร่วง
หลุดต ้องกระจายพราย
ี ง
2. การใชค้ าทีท
่ าให ้เกิดภาพ เสย
และแสงส ี
2.3 จัดเครือ
่ งบัดพลีพลีเลิศ
ข ้าวสาร
เสกประเสริฐแกล ้วกล ้า
ั แล ้วไคลคลา
มือถือเทียนชย
จันทรา
่ งแสงสว่างทาง
สอ
ท ้องฟ้ าดาดาษดาวประดับ
แสงระยับ
่ งสว่าง
ยามสองสอ
พระจันทร์ตรงทรงกลดดังกลดกาง อยูใ่ น
กลางด ้าวเด่นทุกดวงดาว
รีบเร่งมาถึงซงึ่ ป่ าชา้
ปลูกศาลเพียง
3. การใชค้ าให ้เกิดอารมณ์
3.1 นางวันทองรักห ้องไม่ยาตรา กลัวนวล
หน ้าจะหมองต ้องลมพัด
ื่ ว่าวันทอง
กระนีแ
้ ลสมชอ
เจ ้าแปดน้ า
ทานองเนือ
้ กษั ตริย ์
จะพูดออกกลัวดอกจาปาพลัด ด ้วยคาตัด
วันนัน
้ เป็ นมั่นคง
3.2 แต่อายุเท่านีม
้ ส
ี องผัว
้
ถ่อยทุกเสนผม
มีแต่จะอับอายไม่วายตรม
แสนชวั่ แสน
ิ้ ดิน
ชวี ต
ิ สน
3. การใชค้ าให ้เกิดอารมณ์
3.3 ว่าพลางโจนขึน
้ บนสะพาน จะตักน้ า
ล ้างบ ้านเอาตีนส ี
สงิ่ ใดมิให ้เป็ นราคี
น้ าท่ามีอยูจ
่ ะถู
็
เชด
ทัง้ น้ ามันกระจกกระแจะแป้ ง จะทิง้ ไว ้ให ้
แห ้งเป็ นสะเก็ด
ิ้ วายหายชาติของคนเท็จ จะขุดเว็จ
ให ้สน
ิ้ รอย
ฟื้ นดินให ้สน
3. การใชค้ าให ้เกิดอารมณ์
3.4 ไม่เคยเห็นก็มาเห็นอนาถนัก ไม่รู ้จักก็มา
รู ้อยูเ่ จนจบ
ร่านริน
้ บินไต่ระคายคบ
ไม่เคยพบก็มา
พบทุกสงิ่ อัน
แต่พรุง่ นีจ
้ ะเป็ นอย่างไรเล่า
จะลาบากไป
กว่าเก่าหรือไรนั่น
คิดขึน
้ มาน้ าตาตาอกใจตัน
กลับหวัน
่
้
หวัน
่ หวนคะนึงถึงขุนชาง
4. การใชค้ าให ้เกิดความเข ้าใจ
้
ิ จนติดหมอน ว่าโปรด
4.1 ขุนชางหมอบช
ด
ก่อนขอรับคุณแม่ขา
ลูกนีข
้ ด
ั สนจนปั ญญา
จะปรึกษาใคร
ได ้ก็ไม่ม ี
แก่นแก ้วตายแล ้วเป็ นหลายเดือน เงินทอง
กองเกลือ
่ นไม่เป็ นที
่ อดี
มันลักฉกฉวยไปใชพ
ตาเดียว
เท่านีด
้ ไู ม่ทัน
วันนีก
้ ็หายไปหลายชงั่
แต่มใิ ชเ่ งิน
ฝั งเงินกาปั่ น
4. การใชค้ าให ้เกิดความเข ้าใจ
4.2 ไม่คด
ิ เจียมตัวไอ ้หัวพรุน รูปเป็ นกระชุ
นุ่นน่ารักใคร่
กูไม่เห็นใครเขาจะชอบใจ นางพิมพิลา
ไลยเขาโสภา
อกเอวอ ้อนแอ ้นแม ้นกินนร หรือจะมาสมจร
กับหมูหมา
ให ้เพือ
่ นบ ้านติฉน
ิ นินทา
มึงชา่ งมุสาแต่
โดยเดา
กูไม่อยากจะเดินไปให ้เหนือ
่ ย เมือ
่ ยหัวแม่
5. ลีลา
จังหวะ
5.1 ขุนแผนเห็นได ้ทีไม่รรี อ ราของ ้าวฟาด
ลงฉาดผาง
้ ไม่เข ้าคอพอ
ถูกกรุงกาฬซานซบทบคอชาง
เป็ นยางออกชา้ ชา้
กรุงกาฬฟื้ นคืนลุกขึน
้ มาได ้ ขุนแผนไส
้
ั ้ ไล่ฟันรา่
ชางกระช
น
จนตีนหลุดจากชนักหัวปั กปา ขุนแผนซา้ ลง
อีกฉาดพลาดตกตึง
้
้ ปร๋อ
ขุนแผนไสชางเข
้าร ้องเอาพ่อ ชางก็
5. ลีลา
จังหวะ
5.2 ตาหลอกับตารักยืนหยักรัง้ พวกทะลึง่
ตึงตังเข ้าแก ้ผ ้า
นายโม ้กับนายเมาเอาหลาวมา ผ่าทวาร
เข ้าปรอดตลอดตัว
หลายคนชว่ ยกันดันกระดอก เอาไม ้ตอก
กังกังกระทั่งหัว
หน ้าเผือดเลือดแดงดังแทงวัว ถูกรูรั่ว
เลือดราดลงดาดดิน
6. การเล่นคา
6.1 ถ ้างามรูปงามใจแม่ไม่ห ้าม ควรตาม
แล ้วก็ตามให ้เต็มที่
นีง่ ามรูปแต่ใจมันไม่ด ี
อย่างนีม
้ ันไม่
น่าจะติดตาม
7. ภาพพจน์
7.1 ตะลึงแลศรีมาลาคว ้าแต่ชาม กลืนข ้าว
เหมือนหนามอยูใ่ นคอ
7.2 แต่แลพบสบตาเมือ
่ มาถึง
หนึง่ กับปลามาติดข ้อง
พีเ่ หมือน
7.3 นีล
่ าวทองจากห ้องไปแล ้วหรือ จึงดึงดือ
้
เดือดมาเวลาคา่
ไม่ตามใจขัดใจจึงเพ ้อพา นีอ
่ ดน้ าแล ้วส ิ
เลีย
้ วมากินตม
7. ภาพพจน์
7.4 พระพายชายพัดบุปผาชาติ เกสรสาด
หอมกลบตรลบห ้อง
ริว้ ริว้ ปลิวชายสไบกรอง
พระจันทร์ผัน
ผยองอยูย
่ ับยับ
พระอาทิตย์ชงิ ดวงพระจันทร์เด่น ดาว
กระเด็นใกล ้เดือนดาราดับ
หิง้ ห ้อยพร ้อยไม ้ไหวระยับ
แมลงทับ
ท่องเทีย
่ วสะเทือนดง
๘. รสวรรณคดี
 ๘.๑ เสาวรจนี
 “ม่านนีฝ
้ ี มือวันทองทา
จาได ้ไม่ผด
ิ
นัยน์ตาพี่
้
ิ้ ฝี มือแล ้วแต่นาง
เสนไหมแม
้นเขียนแนบเนียนดีสน
เดียว
เจ ้าปั กเป็ นป่ าพนาเวศ
ขอบเขตเขาคลุ ้ม
ชะอุม
่ เขียว
รุกขชาติดาดใบระบัดเรียว
พริง้ เพรียวดอกดก
ระดะดวง
ปั กเป็ นมยุราลงราร่อน
ฝ่ ายฟ้ อนอยูบ
่ นยอด
ภูเขาหลวง
แผ่หางกางปี กเป็ นพุม
่ พวง
ชะนีหน่วงเหนีย
่ วไม ้
 ปั กเป็ นหิมพานต์ตระหง่านงาม
ผา
วินันตกหัสกันเป็ นหลั่นมา
ยุคน
ุ ธร
ิ ธุ์
อากาศคงคาชลาสน
สลอน
ไกรลาสสะอาดเอีย
่ มอรชร
วิทยา
ลงเล่นน้ าดาดัน
้ อโนดาต
เยือกเย็นเห็นขอบผา
หมูม
่ ังกรล่อแก ้วแพรวพรายตา
ถึงวันทอง”
อร่ามรูปพระสุเมรุภู
ิ ธร
การวิกอิสน
มุจลินท์ห ้าแถวแนว
ฝูงกินนรคนธรรพ์
ใสสะอาด
ทัศนาราลึก
๘.๒ นารีปราโมทย ์
 “อันความรักหนั กแน่นแสนวิตก
เท่าภูเขาหลวง
ิ้ ทัง้ ปวง
 พรหมมินทร์อน
ิ ทร์จันทร์สน
สุราลัย
ื้ เชญ
ิ เมินหน ้าไม่มาชว่ ย
 เชอ
หมายผู ้ใดได ้
 เว ้นแต่เจ ้าเยาวยอดยังฝั งใจ
ให ้บรรเทาลงฯ”
ระอาอกแทบ
ิ้ ฟ้ า
ก็บนบวงสน
เห็นคงม ้วยไม่
จะผลักพลิกแพลง
๘.๓ พิโรธวาทัง
 “จะว่ารักข ้างไหนไม่วา
่ ได ้
น้ าใจจะประดังเข ้าทัง้
สอง
ออกนั่ นเข ้านีม
่ ส
ี ารอง
ยิง่ กว่าท ้องทะเลอัน
ล้าลึก
จอกแหนแพเสาสาเภาใหญ่
จะทอดถมเท่าไร
ึ
ไม่รู ้สก
ึ
เหมือนมหาสมุทรสุดซงึ้ ซก
น้ าลึกเหลือจะหยั่ง
กระทั่งดิน
อิฐผาหาหาบมาทุม
่ ถม
ก็จอ
่ มจมสูญหายไป
ิ้
หมดสน
อีแสนถ่อยจัญไรใจทมิฬ
ดังเพชรนิล
เกิดขึน
้ ในอาจม
ื่ สมศก
ั ดิเ์ ท่า
 รูปงามนามเพราะน ้อยไปหรือ ใจไม่ซอ
้
เสนผม
ั ว์มันยังมีทน
แต่ใจสต
ี่ ย
ิ ม
สมาคมก็แต่ถงึ ฤดูมัน
มึงนีถ
้ อ
่ ยยิง่ กว่าถ่อยอีท ้ายเมือง
จะเอาเรือ
่ ง
ั สงิ่ สรรพ์
ไม่ได ้สก
ั ร ้อยพันให ้มึงไม่
ละโมบมากตัณหาตาเป็ นมัน สก
ถึงใจ
ว่าหญิงชวั่ ผัวยังคราวละคนเดียว
หาตามตอมกัน
เกรียวเหมือนมึงไม่
หนักแผ่นดินกูจะอยูไ่ ย
อ ้ายไวยมึงอย่านับว่า
มารดา”
๘.๔ สัลลาปั งคพิสย
ั
 “ครานั น
้ จึงโฉมเจ ้าวันทอง
เศร ้าหมองสะอึก
สะอืน
้ ไห ้
 สวมกอดลูกยาด ้วยอาลัย
น้ าตาหลั่งไหล
ลงรินริน
 วันนีแ
้ ม่จะลาพ่อพลายแล ้ว
จะจาจากลูกแก ้วไป
ิ้
ศูนย์สน
 พอบ่ายก็จะตายลงถมดิน
ผินหน ้ามาแม่
จะขอชม
ื่ เชยชด
ิ สนิท
 เกิดมาไม่เหมือนกับเขาอืน
่
มิได ้ชน
สนม
 แต่น ้อยน ้อยลอยลิว่ ไปตามลม
ต ้องตรอมตรม
ี แรงฟั กฟูมอุ ้มท ้อง
 มิเสย
ข ้ามหนองแนวเขา
ลาเนาป่ า
 อยูใ่ นท ้องก็เหมือนเพือ
่ นมารดา
ทนทุกข์เวทนาใน
ั
ป่ าชฏ
 ผ่าแดดแผดฝนทนลาบาก
ปลิงทากร่านริน
้ มันกินกัด
 หนามไหน่ไขว่เกีย
่ วเทีย
่ วเลีย
้ วลัด แม่คอยปั ดระวังให ้
แต่ในครรภ์
 พ่อพาขีม
่ ้าไม่ขบ
ั ควบ
ขยับยวบกลัวเจ ้าจะ
หวาดหวั่น
 พอแดดเผาเข ้าร่มพนมวัน
เห็นจะอ่อนผ่อนผันลงกิน
น้ า
 ด ้วยเป็ นห่วงบ่วงใยในลูกรัก
ขยักขย่อน
 จะนั่ งนั กเจ ้าจักอนาทร
เหนื่อยอนาถตัว
 เจ ้าคลอดรอดแล ้วจึงคลายใจ
พ่อทูนหัว
 เจ็ดปี แม่ประคองไม่หมองมัว
ลับตา
ั
 เขาตีตอ
่ ยปล่อยหลงในดงชฏ
เห็นหน ้า
 พอเห็นแล ้วก็ต ้องพรากจากมารดา
นานจึงพานพบ
จะเดินหนักเกรงท ้อง
ครัน
้ นอนนักกลัวจะ
เฝ้ าถนอมกล่อมไกว
้ วั่ ลักลูกไป
ขุนชางช
ั ให ้เจ ้าคืนมา
กุศลซด
แต่นัน
้ มาชา้
่ ห์ดน
ั
 เหมือนอุตสา
ั ้ ด ้นพ ้นป่ าชฏ
จารัสพระเวหา
 สาคัญคิดว่าจะสุขทุกเวลา
ดาน
ั ครึง่ วัน
 พ่อจะเห็นมารดาสก
ถ่าน
 จะได ้แต่คด
ิ ถึงคะนึงนาน
รอเย็น
 เมือ
่ เวลาเขาฆ่าแม่คอขาด
ี แต่แม่ยังเป็ น
 เจ ้าดูหน ้าเสย
มารดา
พอเห็นแสงจันทร์
พอสายฟ้ าฟาดล ้มจมดิน
พ ้นนัน
้ ศูนย์เปล่าเป็ นเถ ้า
กลับไปบ ้านเถิดลูกอย่า
จะอนาถไม่น่าจะแลเห็น
นึกถึงจะได ้เห็นหน ้า