ไฟล์ประกอบการสอน 01999032 หัวข้อ "ดนตรีไทย

Download Report

Transcript ไฟล์ประกอบการสอน 01999032 หัวข้อ "ดนตรีไทย

รัชกาลที่ 1 (พ.ศ. 2325 – 2352)
มีการเพิ่มกลองทัดในวงปี่ พาทย์ขึ ้นอีกหนึง่
ลูก รวมเป็ นสองลูก เสียงสูงลูกหนึง่ เรี ยกว่า
“ตัวผู้” เสียงต่าลูกหนึง่ เรี ยกว่า “ตัวเมีย”
บทร้ องใช้ ในการราแม่ บท - ดนตรี บรรเลงเพลงรัว - เพลงชมตลาด
เทพนมปฐมพรหมสี่หน้ า
ทังกวางเดิ
้
นดงหงส์บิน
อีกช้ านางนอนภมรเคล้ า
เมขลาโยนแก้ วแววไว
ยอดตองต้ องลมพรหมนิมิต
ย้ ายท่ามัจฉาชมสาคร
สอดสร้ อยมาลาเฉิดฉิน
กินรินเลียบถ ้าอาไพ
แขกเต้ าผาลาเพียงไหล่
มยุเรศฟ้อนในนภาพร
อีกทังพิ
้ สมัยเรี ยงหมอน
พระสี่กรขว้ างจักรฤทธิรงค์
- ดนตรี บรรเลงเพลงเร็ว และเพลงลา –
สมัยรั ชกาลที่ 2 เป็ นยุคสมัยที่การดนตรี ไทยมี
ความเจริญรุ่งเรื องอย่างมาก สืบเนื่องมาจาก
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัยทรงสน
พระทัยในเรื่ องดนตรี ไทยอีกทังพระองค์
้
ยงั ทรงพระ
ปรี ชาสามารถเป็ นอย่างยิ่งในด้ านดนตรี ไทย
ในส่วนของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาเกี่ยวกับ
ดนตรี ไทยนัน้ สมัยรัชกาลที่ 2 วงปี่ พาทย์ได้ นาไปใช้
บรรเลงประกอบการขับเสภาเป็ นครัง้ แรก รวมทังได้
้
มีการนาเอา "เปิ งมาง" เข้ ามาไว้ ในวงปี่ พาทย์เพื่อตี
ประกอบจังหวะในการบรรเลงดนตรี ขบั
เสภา นอกจากนี ้ในส่วนของวงมโหรี ก็ได้ เพิ่ม "ฆ้ อง
วง" เข้ าเป็ นเครื่ องดนตรี ภายในวงอีกชนิดหนึ่งด้ วย
สมัยรัชกาลที่ 3
วงปี่ พาทยได
้ เป็ นวงปี่ พาทยเครื
่ งคู่
์ พั
้ ฒนาขึน
์ อ
เพราะไดมี
้ การประดิษฐระนาดทุ
์
้ม มาคูกั
่ บระนาด
เอก และประดิษฐฆ
กมาคูกั
์ องวงเล็
้
่ บ ฆองวงใหญ
้
่
สมัยรัชกาลที่ 4 วงปี่ พาทย์ได้ พฒ
ั นาขึ ้นเป็ นวงปี่ พาทย์เครื่ องใหญ่ เพราะได้ มีการ
ประดิษฐ์ เครื่ องดนตรี เพิ่มขึ ้นอีก 2 ชนิด เลียนแบบ ระนาดเอก และระนาด
ทุ้ม โดยใช้ โลหะทาลูกระนาด และทารางระนาดให้ แตกต่างไปจากรางระนาดเอก
และระนาดทุ้ม (ไม้ ) เรี ยกว่า ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุ้มเหล็ก นามาบรรเลง
เพิ่มในวงปี่ พาทย์เครื่ องคู่ ทาให้ ขนาดของ วงปี่ พาทย์ขยายใหญ่ขึ ้นจึงเรี ยกว่า วง
ปี่ พาทย์เครื่ องใหญ่ อนึ่งในสมัยนี ้ วงการดนตรี ไทย นิยมการร้ องเพลงส่งให้ ดนตรี
รับ หรื อที่เรี ยกว่า "การร้ องส่ง" กันมากจนกระทัง่ การขับเสภาซึง่ เคยนิยมกันมา
ก่อนค่อย ๆ หายไป และการร้ องส่งก็เป็ นแนวทางให้ มีผ้ คู ิดแต่งขยายเพลง 2 ชั ้น
ของเดิมให้ เป็ นเพลง 3 ชั ้น และตัดลง เป็ นชั ้นเดียว จนกระทัง่ กลายเป็ นเพลงเถา
ในที่สดุ (นับว่าเพลงเถาเกิดขึ ้นมากมายในสมัยนี ้) นอกจากนี ้ วงเครื่ องสาย ก็
เกิดขึ ้นในสมัยรัชกาลนี ้เช่นกัน
• สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมพระยานริศ
รานุวดั ติวงศ์
• เพลงเขมรไทรโยค, เพลงสรรเสริญพระบารมี
• กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม + เจ้ าชมชื่น ณ
เชียงใหม่
• เพลงลาวดวงเดือน
รัชกาลที่ 6 (พ.ศ. 2453 – 2468)
– พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ทรงโปรดการดนตรี และการละคร ทรงพระราชนิพนธ์หนังสือ บทละครชนิดต่างๆ รวมทัง้ บทละคร
แบบตะวันตก ทรงจัดตังกรมมหรสพแยกจากกรมโขนหลวง
้
ทรงจัดตังกรมพิ
้
ณพาทย์หลวงดูแลเรื่ องของปี่ พาทย์ เครื่ องสาย และกลองแขก
ปี่ ชวา เพื่อใช้ บรรเลงประกอบพระราชพิธีต่างๆ โดยมีวงปี่ พาทย์วงหนึง่ สาหรับตามเสด็จฯ เรี ยกว่า “วงข้ าหลวงเดิม” ต่อมาเรี ยกว่า “วงตาม
เสด็จ”
– เป็ นสมัยที่การละครและดนตรี เจริญรุ่งเรื องมาก ถือได้ ว่าเป็ นยุคทองของดนตรี ไทย ตามวังเจ้ านายและคหบดี ต่างมี วงปี่ พาทย์และครูที่
มีภมู ิร้ ูประจาวง เกิดการพัฒนาด้ านวิชาการดนตรี ทงแนวคิ
ั้
ด หลักการ วิธีการ ตลอดจนเทคนิคการประพันธ์ มีการวางระบบการบรรเลง
หลากหลายวิธี ทังแบบพื
้
้นฐาน การบรรเลงชันสู
้ ง และการบรรเลงเดี่ยว
– เกิดรูปแบบการประสมวงดนตรี ไทยกับเครื่ องดนตรี ต่างชาติ เช่น เครื่ องสายประสมขิม เครื่ องสายประสมเปี ยโนของตะวันตก เป็ นต้ น
นับเป็ นแบบแผนที่เอื ้อให้ ดนตรี ไทยสามารถปรับตัวและสืบทอดต่อไปโดยไม่เสียเอกลักษณ์
– เกิดกลุม่ นักดนตรี ในราชสานัก กลุม่ นักดนตรี อาชีพ และกลุม่ นักดนตรี สมัครเล่น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หวั
ทรงทานุบารุงบรรดาครูดนตรี ฝีมือดีให้ กินอยู่ดีมีสขุ พร้ อมทั ้งพระราชทานนามสกุล บรรดาศักดิ์ให้ ด้วย
– นักดนตรี และดุริยางกวีที่โดดเด่นในรัชกาลนี ้ เช่น สมเด็จฯ เจ้ าฟ้าบริพตั รสุขมุ พันธ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
(ทูลกระหม่อมบริพตั ร) หลวงประดิษฐ์ ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) จางวางทัว่ พาทยโกศล พระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก
ประสานศัพท์) พระเพลงไพเราะ (โสม สุวาทิต) เป็ นต้ น
– มีการตั ้งกองเครื่ องสายฝรั่งหลวงซึง่ เป็ นวงดนตรี สากล โดยผู้วางรากฐานสาคัญของการพัฒนาดนตรี สากลในราชการนี ้ก็
คือ พระเจนดุริยางค์ (ปิ ติ วาทยากร) พระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์)
ดนตรี ไทย สมัยรั ชกาลที่ ๗
สมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู่หัว ขึน้ เสวยราชสมบัติ เ ป็ น
พระมหากษัตริ ย์ เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๖๘ และทรง
สละราชสมบัติเมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ.๒๔๗๗ รวมดารงสิริราช
สมบัติ ๙ ปี
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ได้ ทรงสนพระทัย
ทางด้ านดนตรี ไทยมาก พระองค์ ได้ พระราชนิ พนธ์ เ พลงไทยที่
ไพเราะไว้ ถึง ๓ เพลง คือ
๑) เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ ง
๒) เพลงเขมรลออองค์ เถา
๓) เพลงราตรี ประดับดาว เถา
พระองค์ และพระราชินีได้ โปรดให้ ครู ดนตรี เข้ าไปถวาย
การสอนดนตรี ในวังอีกด้ วย
ดนตรี ไทย สมัยรัชกาลที่ ๘
• รัฐนิยม
• เพลงชาติ
ดนตรี ไทย สมัยรัชกาลที่ ๙
• มหาดุริยางค์
• ดนตรี ไทยร่วมสมัย