chapter 11. When habit fails • The importance of analysisHYPERLINK "http://translate.google.com/translate?hl=th&sl=th&tl=en&prev=_t&u=http://lvweb28.netlibrary.com/ tools/GetDpfComponent.aspx%3FProductId%3D105905%26Component%3DPAGE_210.html%23P 20007A499970210001" \\l "P20007A499970210001"• The reticular activation system: alarm bells.• Checking the rules.

Download Report

Transcript chapter 11. When habit fails • The importance of analysisHYPERLINK "http://translate.google.com/translate?hl=th&sl=th&tl=en&prev=_t&u=http://lvweb28.netlibrary.com/ tools/GetDpfComponent.aspx%3FProductId%3D105905%26Component%3DPAGE_210.html%23P 20007A499970210001" \\l "P20007A499970210001"• The reticular activation system: alarm bells.• Checking the rules.

chapter 11. When habit fails
• The importance of analysisHYPERLINK
"http://translate.google.com/translate?hl=th&sl=th&tl=en&prev=_t&u=http://lvweb28.netlibrary.com/
tools/GetDpfComponent.aspx%3FProductId%3D105905%26Component%3DPAGE_210.html%23P
20007A499970210001" \\l "P20007A499970210001"
208
• The reticular activation system: alarm bells.
210
• Checking the rules (deduction).
213
• Checking synonyms, alternatives (induction).
219
• Checking synonyms, alternatives (induction).
220
• Picking the rendition that feels right (abduction).
221
• Discussion.
221
• Exercise.
222
ผูแ้ ปลสารนั้นไม่จาเป็ นต้องพึ่งส่ วนประกอบต่างๆหรื อข้อมูลที่ดี
พร้อม พวกเขาสัง่ สมประสบการเพื่อให้งานเกิดความถูกต้อง
อันที่จริ งแล้วสิ่ งที่จะต้องสร้างให้เป็ นนิสยั ของนักแปลมืออาชีพ
คือ การรับรู ้โดยสัญชาตญาณ เมื่อไหร่ กต็ ามเมื่อปั ญหาที่เคยเจอ
หรื อไม่เคยเจอก็ตาม จะกระตุน้ ให้กระบวนการนี้เกิดขึ้นอย่าง
รวดเร็ วและลดขั้นตอนลง
อันที่จริ งแล้วข้ออ้างต่างๆอยูใ่ นหนังสื อเล่มนี้ ความสาคัญ
ของการวิเคราะห์อาจว่าได้วา่
ถ้าการแปลถูกถ่ายทอด
ความสาคัญของการวิเคราะห์กถ็ ูกถ่ายทอดเช่นเดียวกัน
ข้อสาคัญของการวิเคราะห์
ความสามารถในการวิเคราะห์สารโดยภาษา วัฒนธรรม หรื อแม้แต่ ประวัติศาสตร์และ
การเมือง ล้วนแต่เป็ นองค์ประกอบสาคัญของผูส้ ่งสาร
-อย่าทึกทักว่าคุณเข้าใจสารนั้นดีแล้ว
-อย่าทึกทักว่าสารนั้นให้รายละเอียดเพียงพอที่จะให้คุณแปลสารนั้น
-พึงระลึกประเภทของสาร,จาแนก,บันทึก และระบบเชิงโวหาร
-พึงระลึกระบบโครงสร้างและความเกี่ยวพันของสารนั้น ให้แน่ใจว่าคุณรู้รายละเอียดว่าพูดถึงอะไร
และไม่พดู ถึงอะไร และมีนยั ยะอะไร
-พึงระลึกถึงโครงสร้างความสัมพันธ์และหลักความเป็ นจริ งระหว่างแหล่งภาษาโดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อ
ปรากฏอยูบ่ นแหล่งข้อมูลเฉพาะและจุดมุ่งหมาย ดังนั้นคุณควรรู้วา่ แต่ละภาษาอะไรทาได้ อะไรทา
ไม่ได้
-พึงให้ความสนใจอย่างยิง่ กับจุดมุ่งหมายของการแปล ถูกถามว่าอะไร โดยใครและเพื่อใคร ทาไม และ
วิเคราะห์ความต้องการของผูร้ ับสาร หากไม่ได้ขอ้ มูลเกี่ยวกับผูร้ ับสารให้ถามหากไม่รู้ ให้ผแู้ ปลใช้
วิจารณญาณในการวิเคราะห์ผรู้ ับสาร
หลักการเหล่านี้จะต้องถ่ายทอดเพราะว่าไม่ได้เกิดขึ้นตาม
ธรรมชาติ สาหรับความพยายามของผูแ้ ปลมือใหม่ครั้งแรกนั้น
ไม่ค่อยคานึงถึงหลุมพรางที่แอบแฝงอยูใ่ นนั้นและอาจสร้าง
ข้อผิดพลาดได้ เมื่อแปลภาษาที่เราคุน้ เคยดีแล้วเรามักจะนึกว่า
เราเข้าใจสารดี
คาที่ปรากฏก็แสนจะง่ายดายและไม่ได้สร้าง
ปัญหาว่ากาลังพูดถึงอะไร ทาอะไรในสารนั้น มันเป็ นธรรมดา
อยูแ่ ล้วที่จะคิดว่าภาษาไหนก็มีโครงสร้างคล้ายๆๆกัน ดังนั้นจึง
ยึดหลักหน้าที่การเรี ยงประโยคของคาอย่างคร่ าวๆจะทาให้เกิด
ประสิ ทธิภาพในการแปล
การสันนิฐานเป็ นเรื่ องธรรมชาติเป็ นสิ่ งที่ผดิ และผูแ้ ปลที่มี
ประสบการณ์ควรจะต้องระวังสิ่ งนี้
ซึ่งบางครั้งไม่สามารถ
หลีกเลี่ยง
เนื่องจากกระบวนการนี้ไม่ได้เกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติจะต้องได้รับการฝึ กฝนจากผูเ้ ชี่ยวชาญหรื อข้อแนะนา
ของการแปล
ในขณะเดียวความสาคัญของการวิเคราะห์โดยมีสติที่จะขาด
ไม่ได้ การรับรู ้สารนั้นเองอัตโนมัติจะเกิดขึ้นเมื่อ สารไม่ได้
สร้างปัญหากับผูแ้ ปล เมื่อผูแ้ ปลมีความสามารถเท่ามืออาชีพ
กระบวนการนี้จะเกิดไม่ได้เมื่อสารสร้างปั ญหา และเมื่อผูแ้ ปลมี
ความรู ้ความสามารถเพียงพอกับการที่ได้รับมอบหมาย
ใน
ส่ วนข้อมูลบรรยายในบทที่4 กระบวนการแปลอย่างมืออาชีพ
โดยสัญชาตญาณจนกว่าปัญหานั้นจะถูกค้นพบกับตัวผูแ้ ปลหรื อ
จนกว่าปัญหาที่เกิดขึ้นผูแ้ ปลเจอมาก่อนวิธีแก้ไขปั ญหาก็จะง่าย
ขึ้น การแปลก็จะง่ายและรวดเร็ วขึ้น
ผูแ้ ปลที่มีประสบการณ์นอ้ ยพวกเขามักจะทางานด้วยระบบ
แบบมีสติจะทาให้งานช้าลงด้วย แต่สาหรับผูท้ ี่มีประสบการณ์
มากนั้นจะไม่ประสบปัญหานี้ พวกเขาแทบจะไม่พลาด หรื อถ้า
พลาดก็จะกลับมาแก้ไขภายหลังได้และจะไม่เกิดขึ้นอีก บางทีผู ้
แปลที่มีประสบการณ์จะลดขั้นตอนและกระบวนการ การนึกถึง
แค่เฉพาะโครงสร้างของการวิเคราะห์และถ่ายโอนข้อมูลอย่างไม่
มีปัญหาเพราะพวกเขานึกแต่ความเร็ วเท่านั้นหรื ออยากให้สาร
นั้นคงความหมายเดิมตามความต้องการของผูแ้ ปล
เปรี ยบเทียบเมื่อคุณขับรถไปในถนนเส้นที่คุณรู ้จกั ดีอย่างเช่น
แถวบ้านหรื อที่ทางาน สติของเราไม่ตอ้ งวางแผนร่ างกายจะ
จดจาทุกแยกที่เคยผ่าน ขับรถอยูใ่ นเลน รักษาระยะกับรถคัน
หน้า รับรู ้วา่ ไฟไหนควรเบรก หรื อสัญญาณไฟกระพริ บตอน
ไหนมันจะยากแค่ไหนถ้าเราเบรกขึ้นหรื อลดเกียร์โดยใช้สติ
ตลอดเวลา วิเคราะห์สิ่งที่เกิดขึ้นแบบไม่ปกติและตัดสิ นใจอะไร
เหมาะสม นี่คือระบบความคิดที่เรี ยกว่า Reticular activation
หรื อ Alarm bell
สมองของเราสร้างขึ้นเพื่อควบคุม
สมองของเราสร้างขึ้นเพื่อควบคุมระดับที่เราจะใช้งานหรื ออยู่
เฉยๆ ตื่นตัวหรื อเฉื่อยชา ตื่นหรื อนอนหลับ เป็ นต้น
นักวิทยาศาสตร์สมองมักจะหมายถึง สติเตือนว่า"เร้าอารมณ์"
และถูกควบคุมโดยมัดประสาทที่แกนกลางของสมองลาต้น
(เก่าแก่และมีพ้นื ฐานมาจากสมองของเราซึ่งควบคุมสะท้อนการ
สูร้ บหรื อเที่ยวบิน) เรี ยกว่ า การสร้ างไขว้ กันเหมือนแห
เมื่อสร้ างไขว้กนั เหมือนแหเปิ ดใช้งานโดย เซลล์ประสาท
ย่อยซึ่ งส่ งแรงกระตุน้ ไปยังเซลล์ต่างๆเพื่อนาข้อมูลของภัย
คุกคาม, ความเอาใจใส่ , หรื อสิ่ งอื่นที่ตอ้ งการความว่องไว
และความกระฉับกระเฉง มันกระตุน้ เปลือกสมอง กับ
noradrenalin ทั้งโดยตรงและผ่าน thalamus ทางสถานีหลัก
สาหรับข้อมูลการเดินทางไปยัง "คิดสู ง"หรื อศูนย์วิเคราะห์
ของเยื่ อ หุ ้ ม สมอง ผลที่ ไ ด้ คื อ เพิ่ ม ความระมั ด ระวั ง
สิ่ งแวดล้อม (จากการตรวจสอบสิ่ งเร้าภายนอก) และเปลี่ยน
เข้าสู่ กระบวนการสะท้อนจิตสานึกสูง
ในแผนช่องที่ 1 และ 2 เป็ นสภาพที่ดีที่สุดสาหรั บนักแปล
และล่ า มช่ อ ง 3-8 เกี่ ย วข้อ งกับ ระดับ ที่ แ ตกต่ า งกัน ที่ ไ ม่
เหมาะสมระหว่างความท้าทายกับทักษะ ต้องการน้อย(แต่
บ่อย) ช่ อง 3-5พบในนักแปลสามารถทางานที่ ไม่ ท้าทาย
หรื อ แตกต่ า งกัน มากพอ ช่ อ ง 6-8 พบในการแปลระดับ
ความสามารถต่างๆในสภาพความต้องการในการทางาน
มากเกิ นไป(เป็ นไปไม่ ได้ที่ จะก าหนด,ข้อความที่ ไม่ดี ม า
เขียน, ริ เริ่ มโกรธและความต้องการ, สนับสนุนไม่เพียงพอ)
นักแปลทางานอย่างหนักเพื่อนาปัญหาที่คา้ งไว้จน
สามารถหาคาตอบที่ดีข้ ึนแต่ยงั คงกังวลใจกลับไปสู่พ้นื ผิว
กระดาษบางชนิด หวังที่จะหาวิธีการรักษาถ้าเกิดอุบตั ิเหตุ
นักแปลทีด่ จี ะต้ อง
King Duarte of Portugal
1 . เข้าใจความหมายเดิมและเรี ยบเรี ยงใหม่โดยไม่ตอ้ งเปลี่ยน
ความหมาย
2. ควรใช้สานวน ภาษาพื้นเมืองเดิม
3. ใช้คาศัพท์ภาษาเป้ าหมายที่ตรงและเหมาะสม
4. หลีกเลี่ยนคาศัพท์ที่ไม่เหมาะสม
5. หลีกเลี่ยงการแปลอักษร
6. ออกเสี ยงให้เหมาะสมโดยคัดเลือกและจัดเรี ยงคา
Etienne Dolet
1.เข้าใจความหมายเดิม
2.ศึกษาภาษาทั้งต้นฉบับและภาษาเป้ าหมายอย่างสมบูรณ์
3.หลีกเลี่ยงการแปลตามตัวอักษร
4.ใช้รูปแบบสานวนของภาษาเป้ าหมาย
5.ออกเสี ยงที่เหมาะสมโดยคัดเลือกและจัดเรี ยงคา
Alexander Fraser Tytler, Lord Woodhouselee
เป้ าหมายของการแปลคือการบรรลุถึงความเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันโดย
สมบูรณ์กบั ต้นฉบับเดิม จนกระทัง่ งานแปลไม่ได้ดารงอยูเ่ พื่อแทนที่
ต้นฉบับ แต่อยูใ่ นสถานะของต้นฉบับ
อะไรที่นกั แปลควรทา
นักแปลอาชีพจะมีมุมมองที่กว้างขวางและยืดหยุน่ ในกฎเกณฑ์มากขึ้น พบ
ข้อผิดพลาดหรื อความไม่เป็ นระเบียบก็จะทาการเปลี่ยนแปลงแก้ไข้ ซึ่ งทา
ตัวเหมือนเป็ นบรรณาธิ การซึ่ งไม่ใช่นกั แปลและไม่ถกู หลักการแปลที่ดี
การแปลคือการถ่ายโอนความหมายของบทความจากภาษาหนึ่ งไปสู่ ภาษา
หนึ่งโดยปราศจากการเปลี่ยนแปลงใดๆ
อำนำจของนักแปล
1.กฎหมายว่าด้วยการแปล
มักจะเป็ นประโยชน์หรื อการให้ความสนใจของนักแปลมืออาชีพมากกว่า
เพราะมีกฎหมายบังคับ
2.หลักจริ ยธรรมการเผยแพร่
การวางตัวอย่างมืออาชีพจะเป็ นภาพพจน์ที่ดีแก่นกั แปล และการที่จะมุ่งสู่ นกั
แปลระดับปะเทศต้องผ่านทุกสภาวะการทางาน
3.หลักการแปลหรื อแบบแผนการแปลของนักแปลมืออาชีพ
คือวิธีที่นกั แปลควรจะแปล
4.การศึกษาทฤษฎีของปั ญหาการแปลโดยเฉพาะกลุ่มภาษาและไวยากรณ์เปรี ยบเทียบ
5.ไวยากรณ์ภาษาเดียว
ภาษาที่ใช้แปลอาจจะไม่ถูกต้องตรงกับความเป็ นจริ ง เพราะอาจจะขึ้นอยูก่ บั ผูท้ ี่
จะนาไปใช้ดว้ ย
นักวิชาการหรื อคณะกรรมการโครงสร้างเชิงตรรกะว่าด้วย
ขอบเขตความหมายของคาได้พิจารณาสิ่ งที่สาคัญที่สุดในสอง
ภาษาซึ่งมีความซับซ้อนของภาษาที่หลากหลาย มันเป็ นสิ่ งที่มี
ปัญหาต่อการเข้าใจได้
ถึงความหมายของมัน
นัน่ คือ
ภาษาอังกฤษกับภาษาฝรั่งเศส บางครั้งก็ทาให้คนที่ไม่รู้ภาษา
ฝรั่งเศสสับสน
นักแปลก็มกั จะเลียนแบบสานวนวลีของ
ภาษาอังกฤษมาใช้กบั ภาษาฝรั่งเศส ซึ่งมันทาให้งงและเข้าใจยาก
แต่กม็ ีความหมายคาเดียวกัน เช่นคาว่า Department ในภาษา
ฝรั่งเศส“Département" มีความหมายเหมือนกันคือ “แผนก” หาก
จะต่างก็ต่างแค่เพียงสาเนียงการออกเสี ยงกับรู ปแบบคาเท่านัน่
ซึ่งในภาษาฝรั่งเศสจะเติมตัว “e” มันจึงทาให้หลายๆคนสับสน
กับคาเหล่านี้แต่แท้ที่จริ งแล้วก็คาเดียวกัน
กำรเลือกกำรแปลทีร่ ้ ู สึกว่ ำถูกต้ อง0
ท้ายที่สุดแน่นอนจะต้องตัดสิ นใจเลือก ภาษาเป็ นเรื่ องที่น่าสนใจอย่างไม่มีขอบเขต
สาหรับนักแปล และบ่อยมากที่พวกเขาจะต้องกังวลกับปัญหาในแต่วนั แต่ละสัปดาห์
หรื อบางทีอาจจะตลอดไปก็ได้จะโชคดีหรื อโชคร้ายขึ้นอยูก่ บั ลูกค้าหรื อหน่วยงานว่า
พอใจที่จะรอเป็ นเวลานานหรื อเปล่า
และอาจจะมีบางประเด็นที่พวกเขาต้องหยุด
กระบวนการคิดวิเคราะห์และพูดว่า ดีพอแล้ว เพียงแค่น้ นั พวกเขาก็จะรู ้สึกสบายใจ
และสามารถแปลงานต่อได้ สาหรับบางหัวข้อที่ค่อนข้างจะมีการวิเคราะห์ดว้ ยเหตุผล
อาจจะเกิดความสับสนระหว่างความแน่นอนและความไม่แน่นอนที่ตอ้ งนามาmix กัน
(คานี้ดูเหมือนจะเป็ นคาที่ดีแล้วบางที่อาจเป็ นคาที่ถูกต้อง)และความสงสัย(แต่ฉนั ไม่รู้
ว่ามีคาที่ดีกว่าคานี้ไหม)ในขณะนั้นอาจเป็ นการตัดสิ นใจที่ชดั เจน มันไม่จาเป็ นต้อง
perfect เป็ นการตัดสิ นใจครั้งสุ ดท้าย เพราะว่าบางทีผแู ้ ปลจะต้องกลับมาเปลี่ยนใน
ภายหลัง
การเลือกการแปลที่ถูกต้องไม่ได้เป็ นการชี้ขาดในกระบวนการแปล
ทั้งหมด ในการทางานของนักแปลแน่นอนว่าจะต้องถูกแก้ไขโดย
คนอื่น แต่มนั เป็ นการชี้ขาดสาหรับการฝึ กความชานาญ การทางาน
คนเดียว ความรู ้สึกที่ถูกต้อง ของนักแปลมันนาไปสู่ ทกั ษะและ
ความรู ้ที่เป็ นprofessional
ของเธอและของเขาเองแต่มนั อยูใ่ น
ความรู ้สึก ลางสังหรณ์ สัญชาติญาณ การแปลความหมายของ
ความรู ้สึกว่าถูก หรื อ มันเป็ นความรู ้สึกที่ถูกส่ งออกมา มันเกิดจาก
การตัดสิ นใจจากหลายๆๆ เหตุผลโดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ทาได้
อย่างรวดเร็ ว ไม่มีการวิเคราะห์ ไตร่ ตรอง บางครั้งเกิดจากความ
พยายาม ที่เต็มไปด้วยจิตสานึก ตรวจสอบความเชื่อถือได้ และ
สมเหตุสมผล แต่ท้ งั หมดได้ตอบกลับมาว่า สามารถทาได้
ความแตกต่างระหว่างนักแปลที่ดีกบั นักแปลสามัญนั้นต่างกัน
ในคาศัพท์อื่นๆๆนั้น ตอนแรกแปลอย่างระมัดระวัง มีสติ
วิเคราะห์ ข้อความเกิดจากความเชื่อใจในสัญชาตญาณและข้อมูล
ดิบ ทั้งนักแปลที่ดีและนักแปลสามัญนั้นจะต้องมีการวิเคราะห์
การใช้สัญชาตญาณ บนจิตสานึก และมีการตื่นตัว ความแตกต่าง
ของนักแปลที่ดีคือมีการฝึ กฝนมากกว่านักแปลสามัญ มากด้วย
ประสบการณ์แล้วส่ งผลให้มีความฉลาด
กำรอธิบำย
1 .นักแปลมีการวางแผนการทางานอย่างไร ? เป็ นคนที่มี
ความคิดที่ลื่นไหลตลอด หรื อเป็ นคนที่มีความน่าเชื่อถือน้อยใน
สถานที่ต่างๆ ถ้าอย่างนั้น นักแปลควรจะทาอย่าไร เมื่อรู ้สึกว่า
มันไม่ต่อเนื่อง มุมองของนักแปลไม่ควรมีขีดจากัด อะไรเป็ น
ข้อกาหนดขอบเขตของนักแปล
2. นักแปลมีกระบวนการวิเคราะห์อย่างไร
นักแปลมีขอ้
ระมัดระวังอย่างไร ทางานได้อย่างรวดเร็ วหรื อมีการกระตุน้
น้อยมาก และมีการปรับปรุ งความรู ้สึก ให้ชา้ และมีการวิเคราะห์
มีการปรับปรุ งวิธีการและเข้าใจถึงปัญหา
แบบฝึ กหัด
แปลข้อความเหล่านี้ให้เป็ นภาษาที่ตอ้ งการ ในขณะที่คุณกาลังแปลข้อความอยูน่ ้ นั ถ้า
คุณมีอาการง่วง ให้คุณผ่อนคลาย โดยการ สูดหายใจเป็ นจังหวะๆๆ ฟังเพลง แล้วคุณก็
หยิบเสื้ อมาสวมที่ตวั คุณใส่ กระดุมเสื้ อโดยเอามือทั้งสองของคุณจับที่ดา้ นหน้า ทั้งสอง
ด้าน และเอาทับกัน เริ่ มใส่ กระดุมจากข้างล่าง ขยับมือขึ้นด้านบนเสื้ อและด้านล่างของ
กระดุม และมืออีกด้าน จับที่รูกระดุม แล้วใส่ กระดุมลงในรู กระดุม ขยับมือขึ้นมาใส่
กระดุมที่ถดั ขึ้นมา ใส่ กระดุมเรื่ อยๆๆ และก็ขยับเสื้ อ ใส่ กระดุมเพียงหนึ่งตัวต่อครั้ง
จนกระทัง่ คุณได้อ่าน เกี่ยวกับลาดับขั้นตอน ถ้าคุณชอบ อนุญาตให้ใส่ กระดุมถึงตัว
บนสุ ด
เกิดอะไรขึ้น เมื่อคุณเข้าใจในปั ญหา “จนกระทัง่ คุณได้อ่าน เกี่ยวกับลาดับขั้น “ คุณทา
อะไร คุณรู ้สึกอย่างไรในขณะที่คุณกาลังง่วงและเริ่ มต้นวิเคราะห์ แล้วคุณจะรู ้สึกว่า
มันแตกต่างกันอย่างไร
สมาชิกกลุ่ม
นางสาว จุฑารัตน์ ทิมาบุตร
นางสาว จารุ วรรณ ภูกองทุ่ง
นางสาว ขวัญเกล้า มะลุลี
นางสาวเกษร รู ปพรม
นางสาว เกวลิน วงปะละ
3-2 สาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสารสากล
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุ งเทพ