สอนยา - i3time.com

Download Report

Transcript สอนยา - i3time.com

การพยาบาลผูท
้ ไ
ี่ ด้รบ
ั ยาทางจิตเวช
อ.ขวัญเรือน สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสงขลา
มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ
พยาบาลผู้ทไ
ี่ ด้รับการบาบัดด้วยยา
ทางจิตเวช
 ตระหนักถึงความสาคัญในการ
พยาบาลผู้ทไ
ี่ ด้รับยาทางจิตเวช
 วางแผนการพยาบาลในผูท
้ ี่ได้รบ
ั ยา
ทางจิตเวชได้ถก
ู ต้อง

: ) แนวทางการใช้ยาทางจิตเวช
ถูกโรค - Right Diagnosis
 ถูกชนิด – Right Drug
 ถูกขนาด – Right Dose
 ถูกเวลา – Right Time, Right Duration
 ถูกทาง – Right Route of Administration
 ถูกใจ – Right choice for patients, Right
preference
 ถูกเงิน – Right for Economic reason

 ยารักษาโรคจิต
(Antipsychotics drugs)
 ยารักษาซึมเศร้า (Antidepressants drugs)
 ยาคงสภาพอารมณ์/ยาทาให้อารมณ์คงที่
(Mood Stabilizers drugs)
 ยาคลายกังวลและยานอนหลับ
(Antianxiety and Hypnotics drugs)
 ยาลดอาการข้างเคียงจากยารักษาโรคจิต
(Anticholinergic drugs)
 แบ่ งกลุ่มผู้เรียนเป็ น ๔ กลุ่มตาม Ward เรียกกลุ่มนีว้ ่ า
กลุ่มบ้ านของเรา (home group)
 แต่ ละกลุ่มนับ ๑- ๕
 ผู้เรียนในกลุ่มบ้ านเราที่ :นับ ๑ ให้ ศึกษายารักษาโรคจิต : นับ ๒ ยาคลายกังวล :
นับ ๓ ยารักษาอาการเศร้ า :นับ ๔ ยาควบคุมอารมณ์ และนับ ๕ ยาลดอาการ
ข้ างเคียงจากยารักษาโรคจิต
 สมาชิกในกลุ่มบ้ านของเรา แยกย้ ายไปรวมกับสมาชิกกลุ่มอืน
่ ซึ่งได้
รับเนือ้ หาเดียวกัน ตั้งเป็ นกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (expert group) 10 นาที
 กลับไปสู่ กลุ่มบ้ านของเรา แต่ ละกลุ่มช่ วยสอนเพือ
่ นในกลุ่ม 10 นาที
 ทาแบบทดสอบ 5 นาที
ื่ ประสาทDopamine
มีฤทธิย
์ ับยงฤทธิ
ั้
ข
์ องสารสอ
โดยปิ ดกนที
ั้ ่ Postsynaptic dopamine D2
่ น
receptors ทีส
่ มอง โดยเฉพาะทีส
่ มองสว
Mesolimbic (Nucleus accumbens,
amygdala, Hippocampus และ Entorhinal
cortex) มีผลทาให้ลดอาการประสาทหลอน และ
หลงผิดของผูป
้ ่ วยลงได้
ยารักษาโรคจิตชนิดดัง้ เดิม
(Conventional/ Typical
antipsychotics)
Chlorpromazine,
Thioridazine,
Perphenazine
Trifluoperazine,
Fluphenazine,
Haloperidol,
Zuclopenthixol,
Flupenthixol
Pimozide
ยารักษาโรคจิตกลุม
่ ใหม่
(Atypical
antipsychotics)
Risperidone,
Olanzapine,
Quetiapine,
Clozapine,
Ziprasidone,
Aripiprazole
ยารักษาโรคจิต: ข้อบ่งชี้
 โรคจิตเภท
(schizophrenia)
 โรคจิต (psychosis) ชนิดอื่น ๆ เช่น
 Brief psychotic disorder, Delusional
disorder, Schizophreniform disorder,
Schizoaffective disorder
 โรคจิตจากโรคทางกาย สารเสพติด
 โรคทางอารมณ์ (Mood disorder) เช่น
 Bipolar disorder,
 โรคทางอารมณ์ทม
ี่ อ
ี าการของโรคจิตร่วมด้วย
 กรณีอื่น ๆ เช่น
สงบอาการรุนแรงของผูป
้ ว
่ ย,
 Tics

Muscarinic R.(M1) 
ตาพร่า, ปากแห้ง,
ท้องผูก และปัสสาวะคั่ง
extrapyramidal side
effects: dystonia,
parkinsonism,
akathisia และ
tardive dyskinesia
(ผ่าน nigrostrital
pathways)
Histamine R.(H1) 
ง่วง. น้าหนักเพิ่ม
Anti
psychotics
ผลต่อระบบไร้ทอ
่ : การเพิ่มขึ้นของ
prolactin ทาให้เกิดอาการน้านมไหล,
เต้านมโต, ประจาเดือนมาไม่สม่าเสมอ
(ผ่าน tubulo- infundibular pathways)
Alpha Receptor 
ความดันโลหิตลดลง,
มึนศีรษะ, ง่วง
Dopaminergic R. (D2)
 ลดอาการโรคจิต
Drug
Equivalent
dose
Chlorpromazine
100
Low
+++
+++
+++
++
Thioridazine
100
Low
+++
++
++
+
Perphenazine
8
Moderate
++
+
+
++
Trifluoperazine
5
High
+
+
+
+++
Fluphenazine
2
High
+
+
+
+++
Zuclopenthixol
25
Moderate
+++
++
+
+++
Flupenthixol
2
High
+
++
+
++
Haloperidol
2
High
Pimozide
2
high
+
+
+
+
+
+
+++
+++
Potency
Sedation
Hypotension
Anticholinergic
EPS
High Potency
extrapyramidal side
effects: dystonia,
parkinsonism,
akathisia และ
tardive dyskinesia
(ผ่าน nigrostrital
pathways)
Haloperidol Alpha 
ผลต่อระบบไร้ทอ
่ : การเพิ่มขึ้นของ
prolactin ทาให้เกิดอาการน้านมไหล,
เต้านมโต, ประจาเดือนมาไม่สม่าเสมอ
(ผ่าน tubulo- infundibular pathways)
ความดันโลหิตลดลง,
มึนศีรษะ, ง่วง
D2  ลดอาการโรคจิต
 ยาฉีดออกฤทธิ์ระยะสั้น

Haloperidol
 ยาฉีดออกฤทธิ์ระยะปานกลาง


Zuclopenthixol (Clopixol)
ออกฤทธิ์ได้ 3 วัน
 ยาฉีดออกฤทธิ์ระยะยาว


Decanoate: Haloperidol, Fluphenazine
ออกฤทธิ์ได้ 2-4 สัปดาห์
2. ยาคลายกังวล
2. ยาคลายกังวล
ข้อบ่งชี้
 โรควิตกกังวล (Anxiety disorder)
 โรควิตกกังวลทั่วไป (Generalized anxiety
disorder)
 โรคกลัว โรคกลัวสังคม (Phobia)
 โรคตื่นตระหนก (Panic disorder)
 Insomnia
 Situational
anxiety เช่น ก่อนผ่าตัด เครียดจาก
สิ่งกดดันภายนอก
 ภาวะอื่น ๆ เช่น alcohol withdrawal syndrome,
akathisia
 จับกับตัวรับ
GABAA receptor ในสมอง เป็น
GABA-benzodiazepine receptor complex
Chloride ion channel เปิดรับ Chloride เข้า cell
 ยับยั้งการสือ
่ ประสาท
 ออกฤทธิ์ที่
cerebellum  อาการเดินเซ (ataxia)
 ออกฤทธิ์ที่ reticular formation  อาการง่วงซึม
 ออกฤทธิ์ที่ Hippocampus  ปัญหาด้านความจา
 ออกฤทธิ์ที่ spinal cord  คลายกล้ามเนื้อ
(muscle relaxant)

บริเวณที่ benzodiazepines ออกฤทธิส
์ าร barbiturateและethanol ออกฤทธิไ์ ด ้ด ้วย
: ) ผู ้ป่ วยทีม
่ อ
ี าการจากการหยุดสุรา จึงใช ้ benzodiazepines รักษาได ้ผลดี
Barbiturates เช่น Phenobarbital
 Benzodiazepine agonists แบ่งได้เป็น
 Benzodiazepines
 Triazolo; Alprazolam (Xanax R), Triazolam
 3-hydroxy; Lorazepam (Ativan R), Temazepam
 2-keto; Diazepam (valium R), Chlordiazepoxide,
Flurazepam
 Non-Benzodiazepine hypnotics: Zolpidem
 Azaspirone เช่น Buspirone

ยาคลายกังวลและยานอนหลับ
(Anxiolytics and Hypnotics)
ชื่อยา
ชื่อการค้า
ขนาดยาที่
equivalent กัน
ของยา
Potency
Alprazolam
Xanax
0.25
สูง
Chlordiazepoxide
Librium
10
ต่า
Clonazepam
Rivotril
0.5
สูง
Clorazepate
Tranxene
7.5
ต่า
Diazepam
Valium
5
ต่า
Lorazepam
Ativan
1
สูง

การกดประสาทส่วนกลาง
อาการง่วงซึม อ่อนแรง เดินเซ
 อาจตรวจพบ nystagmus,
dysarthria
 ต้องเตือนไม่ให้ขับรถหรือเลี่ยง
การทางานกับเครื่องจักร
 ผู้สูงอายุระวังล้ม



อาการหลงลืม

โดยเฉพาะอาการหลงลืม
หลังจากได้ยา (anterograde
amnesia)
Disinhibition


กล้าแสดงออกในสิ่งที่ตามปกติ
ไม่กล้าทา
Paradoxical excitement


มีพฤติกรรมวุ่นวาย อาละวาด
ก้าวร้าว แทนที่จะสงบ
โดยเฉพาะผู้ป่วยสูงอายุหรือผู้ที่
มีอาการทางสมอง (organic
brain syndrome)


ภาวะที่ประกอบด้วยอาการ/
การเปลี่ยนแปลงทาง
ร่างกาย ความคิด อารมณ์
พฤติกรรม ซึ่งบ่งถึงการ
หมกมุ่นอยู่กับ
การใช้ยาอย่างหักห้ามใจ
ตนเองไม่ได้
Tolerance :
 การที่มีความต้องการ
ใช้ยานั้นเพิ่มขึ้น
เพื่อให้ได้ผล หรือ
 ผลของยาลดลงเมื่อมี
การใช้ยาในปริมาณ
เท่าเดิม

Withdrawal
มีอาการในกลุ่มอาการ
ขาดยา Benzodiazepines
 วิตกกังวล นอนไม่หลับ
สั่น เหงื่อแตก คลื่นไส้
อ่อนเพลีย หัวใจเต้นเร็ว
สับสน ชัก
 ตรวจร่างกาย พบ tremor,
Pulse rate > 100/min
 ระยะเวลาในการเกิด
ขึ้นกับค่าครึ่งชีวิตของยา

(ถ้ายามีค่าครึ่งชีวิตสั้น เกิดเร็ว
ภายใน 1-2 วัน
ถ้าค่าครึ่งชีวิตยาว เกิดใน 2-5 วัน)
 ยับยั้ง
reuptake ของ norepinepine และ/หรือ
serotonin กลับเข้าสู่ presynaptic neuron ทาให้
ปริมาณสารสื่อประสาทระหว่าง neuron เพิ่มขึ้น
 ระยะยาวเกิด
 อาจไปปิดกั้น
down regulation ของ receptor
receptor ต่าง ๆ เช่น muscarinic
(M1), Histaminergic (H1), alpha receptor,
dopaminergic receptor (D2), serotonin
receptor (5HT2)  side effect
 MAOI
 TCA
(Monoamine oxidase inhibitor)
(Tricyclic antidepressant)
เช่น Amitriptyline, Imipramine, Nortriptyline
 SSRI
(Selective serotonin reuptake Inhibitor)
เช่น Fluoxetine, Escitalopram, Fluvoxamine, Paroxetine,
Sertraline
 NA
(Newer antidepressants)
เช่น Venlafaxine, Mirtazapine
ยารักษาซึมเศร้า: ข้อบ่งชี้
โรคทางอารมณ์ (Mood disorder)
 โรคซึมเศร้า (Major depression, Dysthymia)
 โรคอารมณ์แปรปรวน ในช่วงทีม
่ อ
ี าการซึมเศร้า
(Bipolar depression)
 โรคซึมเศร้าจากโรคทางกาย
 โรคซึมเศร้าภายหลังจากที่มอ
ี าการโรคจิตเภท
 โรควิตกกังวล (Anxiety disorder)
 โรควิตกกังวลทัว
่ ไป (Generalized anxiety disorder)
 โรคกลัว โรคกลัวสังคม (Phobia)
 โรคตืน
่ ตระหนก (Panic disorder)
 โรคย้าคิดย้าทา (Obsessive compulsive disorder)
 โรคเครียดหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญ
(Traumatic stress disorder)
 อื่น ๆ
 ผู้ป่วย Pain disorder เช่น Chronic pain
 Eating disorder

H1  ง่วง. น้าหนักเพิ่ม
Alpha 
ความดันโลหิตลดลง,
มึนศีรษะ, ง่วง
*SRI; serotonin
reuptake inhibitor
TCA
M1 
ตาพร่า, ปากแห้ง,
ท้องผูก และปัสสาวะคัง่
*NRI; norepinephrine
reuptake inhibitor
Drug
TCA
Reuptake inhibitor
NE
5-HT
Side effects
Sedation
Anticholinergic
Hypotension
Amitriptyline
+/-
++
4+
4+
4+
Nortriptyline
++
+/-
1+
1+
2+
Imipramine
+
+
3+
3+
4+
Clomipramine
+
+++
4+
4+
3+
SSRI (selective serotonin
reuptake Inhibitor);
Fluoxetine, Sertraline,
Paroxetine, Escitalopram,
Fluvoxamine
SSRI
*SRI;
*SRI;
SNRI
*NRI;
SNRI
(serotonin/norepinephrine
reuptake Inhibitor);
venlafaxine
การกระตุน
้ Serotonin 5-HT1A Receptors
(+) ลดอาการซึมเศร้า
(+) ลดอาการย้าคิด
(obsession) และย้าทา
(compulsion)
(+) ลดอาการ panic
กลัวสังคม (social phobia)
(+) ลดอาการ bulimia
การกระตุน
้ Serotonin 5-HT2 Receptors
(-) ภาวะไม่สงบ (agitation),
akathisia, วิตกกังวล, อาการ
panic, นอนไม่หลับ และเสื่อม
สมรรถภาพทางเพศ
การกระตุน
้ Serotonin 5-HT3 Receptors
(-) คลื่นไส้, ท้องไส้ปั่นป่วน
(gastrointestinal distress),
ท้องเดิน (diarrhea)
(-) ปวดศีรษะ
 Lithium
 Anticonvulsants
 Carbamazepine/
Oxcarbazepine
 Valproate
 Lamotrigine
 Gabapentin
 Topiramate
 Atypical
Antipsychotic drugs
มีผลต่อการทางานของระบบการสื่อสาร
ระดับเซลล์ -- second messenger
ผลระยะยาวเกิดการเปลีย
่ นแปลงภายใน
เซลล์ในระดับ transcription factors และ
gene expression
มีผลต่อ
GABA – Receptor
 โรคทางอารมณ์
โรคอารมณ์แปรปรวน (Bipolar disorder;
manic and depressive episode)
 โรคจิต schizoaffective disorder
 ผู้ป่วยก้าวร้าว (aggression) ควบคุมอารมณ์/
พฤติกรรม (impulse)ไม่ได้
 อื่น ๆ เช่น Neuropathic pain

 อยู่ในรูป
เกลือคาร์บอเนต (Lithium carbonate)
 ดูดซึมได้ดี ละลายน้าได้ดี
ระดับยาสูงสุดภายใน 1.5 – 2 ชั่วโมง
 ไม่มีการทาลาย (Metabolism) ในร่างกาย
 เกือบทั้งหมดถูกกาจัดผ่านทางไต
ข้อบ่งใช้
ระดับ Lithium
(mEq/L)
รักษา mania หรือ depressive episode ของ
bipolar disorder
0.8 – 1.2
ป้องกันระยะยาวใน mania หรือ depressive
episode ของ bipolar disorder
0-6 – 0.8
ให้เสริมยาแก้ซึมเศร้าในโรคซึมเศร้า
0.6 – 0.8

ระบบหัวใจและหลอดเลือด



มีการเปลี่ยนแปลงของ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ระบบต่อมไร้ท่อ


ต่อมไทรอยด์ทางาน
น้อยลง (Hypothyroid)





ปัสสาวะบ่อย กินน้าบ่อย
โรคไต (เช่น Renal
tubular acidosis)
เม็ดเลือดขาวเพิ่ม
ผลต่อระบบประสาท




เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
ท้องเดิน
ผลต่อระบบโลหิต

ผลต่อระบบทางเดินปัสสาวะ

ผลต่อระบบทางเดินอาหาร
สั่น
อ่อนเพลีย กล้ามเนื้อไม่มีแรง
ความคิดช้าลง มีผลต่อ
ความจา
ผลต่อทางผิวหนัง


ผมร่วง สิว
ผื่นผิวหนัง โรคสะเก็ดเงิน
: ) การตรวจก่อนการรักษา เพื่อความปลอดภัย:
การทางานของไต (เกลือแร่, BUN/Cr), ฮอร์โมนไทรอยด์, คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
อาการเป็นพิษจากยา Lithium
ระดับ Lithium
(mEq/L)
1.5 – 2.0
(น้อย)
2.0 – 2.5
(ปานกลาง)
> 2.5 (รุนแรง)
อาการ
คลื่นไส้ ปวดท้อง ท้องเสีย อ่อนเพลีย สั่น
เดินเซ พูดไม่ชัด nystagmus
คลื่นไส้อาเจียนมาก ตามัว กล้ามเนื้อมัดเล็ก ๆ
กระคุก deep tendon reflex ไว แขนขามี
clonic movements ชัก delirium stupor
circulatory failure
ชัก Generalized seizure ไตวาย เสียชีวิต
: ) หยุดใช้ Lithium ตรวจหาระดับ Lithium, เกลือแร่และหน้าที่ของไต (creatinine)

เพิ่มการกาจัด Lithium โดย ถ้าอาการเป็นพิษอยู่ในระดับน้อย – ปานกลาง ให้สารน้า
ถ้าอาการเป็นพิษอยู่ในระดับรุนแรง ให้ทา dialysis

ตรวจหาระดับ Lithium เพื่อติดตามทุก 12 ชั่วโมง
กลไกการออกฤทธิ์
 ยารักษาโรคจิตไป block dopamine receptor
ในสมองส่วนที่เกีย
่ วข้องกับการ เคลื่อนไหว ทาให้
dopamine และ acetylcholine transmission
เกิดภาวะไม่สมดุลคือมี acetylcholine เพิ่ม ดังนั้น
ยากลุม
่ นีจ
้ ะไปลดปริมาณ acetylcholine
transmission และเพิ่ม ปริมาณ dopamine
transmission เพื่อให้เกิดความสมดุล
ใช้ยานี้
เมื่อผู้ป่วยได้ยารักษาโรคจิตและมี
อาการข้างเคียงเท่านั้น
ใช้เพือ
่ ป้องกันการเกิดอาการข้างเคียง ใน
ผู้ป่วยทีม
่ ค
ี วามเสี่ยงในการเกิดอาการ acute
dystonia เช่น ผู้ป่วยชายวัยหนุม
่ ทีไ
่ ด้ยา
รักษาโรคจิตปริมาณสูง
ชื่ อสามัญยา
ชื่อการค้า
• Benztropine
• Cogentin
• Biperiden
• Akineton
• Trihexyphenidyl
• Artane,Benz
• Diphenhydramine
• Benadryl
คลื่นไส้และปั่ นป่ วนในท้อง
Anticholinergic
effects :
ปากแห้ง ตาพร่ า ท้องผูก
Anti
cholinergic
drugs
Sedation, Drowsiness
และ Dizziness
•Orthostatic
• hypotension
Anticholinergic delirium
: สับสน ไม่รู้วนั เวลา และสถานที่
ประเมินสภาพผู้ป่วยเกีย่ วกับการได้ รับยารั กษาโรคจิตเวช
เก็บรวบรวมข้ อมูลเกีย่ วกับประวัติการใช้ ยา อาการข้ างเคียงของยา
และปฏิกริ ิยาตอบสนองของ ผู้ป่วย
ศึกษาการตรวจทางห้ องปฏิบัติการ ตรวจสภาพการทางานของตับ
ปริมาณเม็ดเลือด
การวัดสั ญญาณชี พ เช่ น ความดันโลหิต เพือ
่ ประเมินสภาพ
ร่ างกายของผู้ป่วยก่อนและหลังรับยา
มึนงง ปากและคอแห้ง เนื่องจากฤทธิข
์ า้ งเคียง
ของยารักษาทางจิต
เป้าหมาย : เพื่อลดอาการข้างเคียงของยา และให้
ผู้ป่วยได้รบ
ั ยาอย่างต่อเนื่อง
 ไม่สุขสบายและวิตกกังวลเกีย
่ วกับฤทธิข
์ า้ งเคียง
ของยารักษาอาการทางจิต (ระบุชอ
ื่ ยา………)
เป้าหมาย : ให้ผู้ป่วยได้รบ
ั คาแนะนาและนาไป
ปฏิบัติเพือ
่ ลดอาการข้างเคียงของยา และลดความ
วิตกกังวลจากการไม่ทราบสาเหตุของอาการ
ดังกล่าว

ภาพลักษณ์เปลี่ยนแปลงเกีย
่ วเนือ
่ งจากมีนาหนั
้
ก
ตัวเพิ่ม
เป้าหมาย : เพื่อให้ผู้ปว
่ ยรับรู้ภาพลักษณ์ของตนเอง
ให้ตรงกับความเป็นจริงและปฏิบต
ั ิตนเรื่องการลด
น้าหนักได้ถก
ู วิธี