เทคนิคการเขียนข้อสอบให้มีประสิทธิภาพ

Download Report

Transcript เทคนิคการเขียนข้อสอบให้มีประสิทธิภาพ

การวัดและ
ประเมินผล
การศึ กษาในยุค
ศตวรรษ
ทีวิท่ ยากร21
อ.ดร.จตุภูมิ เขตจัตรุ สั
(ค.ด.การวัดและประเมินผลการศึกษา, จุฬาฯ)
อาจารย์ประจาสาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1
ความสั มพันธขององค
ประกอบ
์
์
ของกระบวนการจัดการศึ กษา
หลักสูตร
(มาตรฐาน/
ตัวชีว้ ด
ั )
การจัดการเรียน
การสอน
การวัดและ
ประเมินผล
2
ภารกิจของครูผ้สอนในการวั
ู
ดและ
ประเมินผลการเรียนรู้
1) ศึ กษา วิเคราะหมาตรฐานและตั
วชีว้ ด
ั จากหลักสูตรสถานศึ กษา
์
2) จัดทาโครงสรางรายวิ
ชาและแผนการประเมิน
้
2.1) วิเคราะหตั
ั ในแตละมาตรฐานการเรี
ยนรูแล
ั
่
้ วจั
้ ดกลุมตั
่ วชีว้ ด
์ วชีว้ ด
2.2) กาหนดหน่วยการเรียนรูโดยเลื
อกมาตรฐานการเรียนรูตั
ั ทีส
่
้
้ วชีว้ ด
2.3) กาหนดสั ดส่วนเวลาเรียนในแตละหน
า้
่
่ วยการเรียนรูตามโครงสร
้
2.4) กาหนดภาระงานหรือชิน
้ งาน
2.5) กาหนดเกณฑส
้ งาน/กิจกรรม
์ าหรับประเมินภาระงาน/ชิน
3) ชีแ
้ จงรายละเอียดของการวัดและประเมินผลให้ผู้เรียนเขาใจ
้
4) การจัดการเรียนรูของแต
ละหน
้
่
่ วยการเรียนรู้ ควรวัดและประเมินผล
4.1) ประเมินวิเคราะหผู
์ ้เรียน
4.2) การประเมินความกาวหน
ยน
้
้ าระหวางเรี
่
4.3) การประเมินความสาเร็จหลังเรียน
สรุปเป็ นแ
3
หลักสูตรแกนกลาง
การศึ กษาขัน
้
พืน
้ ฐาน
พุทธศั กราช
2551
มาตรฐานการ
เรียนรู้ ตัวชีว้ ด
ั
4
5
จุดเน้น
สำคัญ
6
กรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
โดยภาคีเพื่อทักษะแห่ งศตวรรษที่ ๒๑
ทักษะการเรียนรู้และ
นวัตกรรม
ทักษะชีวิตและ
การทางาน
วิชาแกนและแนวคิด
สาคัญในศตวรรษที่ ๒๑
ทักษะด้ านสารสนเทศ
สื่อ และเทคโนโลยี
มาตรฐานและการประเมิน
หลักสูตรและการสอน
การพัฒนาทางวิชาชีพ
สภาพแวดล้ อมการเรี ยนรู้
ที่มา: Partnership for 21st Century Skills
วิชาแกน
• ภาษาอังกฤษ การอ่าน หรื อศิลปะการใช้ ภาษา
• ภาษาสาคัญของโลก
• ศิลปะ
• คณิตศาสตร์
• เศรษฐศาสตร์
• วิทยาศาสตร์
• ภูมิศาสตร์
• ประวัติศาสตร์
• การปกครองและหน้ าที่พลเมือง
แนวคิดสาคัญในศตวรรษที่ ๒๑
• จิตสานึกต่อโลก
• ความรู้ด้านการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ
และการเป็ นผู้ประกอบการ
• ความรู้ด้านการเป็ นพลเมืองดี
• ความรู้ด้านสุขภาพ
• ความรู้ด้านสิ่งแวดล้ อม
8
ทักษะด้ านการเรียนรู้และนวัตกรรม
ระบบสนับสนุนการเรี ยนรู้ ของศตวรรษที่ ๒๑
• ความริ เริ่ มสร้ างสรรค์และนวัตกรรม
• มาตรฐานและการประเมินในยุคศตวรรษที่ ๒๑
• การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ ปัญหา • หลักสูตรและการเรี ยนการสอนสาหรับศตวรรษ
• การสื่อสารและการร่ วมมือ
ที่ ๒๑
• การพัฒนาครูในศตวรรษที่ ๒๑
ทักษะด้ านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
• ความรู้ด้านสารสนเทศ
• สภาพแวดล้ อมที่เหมาะสมต่อการเรี ยนใน
• ความรู้เกี่ยวกับสื่อ
ศตวรรษที่ ๒๑
• ความรู้ด้านเทคโนโลยี
ทักษะชีวิตและการทางาน
• ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัว
• การริ เริ่ มสร้ างสรรค์และเป็ นตัวของตัวเอง
• ทักษะทางสังคมและการเรี ยนรู้ข้ามวัฒนธรรม
• การเป็ นผู้สร้ างหรื อผลิต (productivity) และความรับผิดชอบที่
ตรวจสอบได้ (accountability)
• ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (responsibility)
9
กระบวนการจัด
การเรียนรู้
10
“การเรี ยนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ต้ อง “ก้ าวข้ ามสาระวิชา” ไปสูก่ ารเรี ยนรู้ “ทักษะเพื่อการดารงชีวิต
ในศตวรรษที่ ๒๑” ( 21st Century Skills) ที่ครูสอนไม่ได้ นักเรี ยนต้ องเรี ยนเอง
หรื อพูดใหม่วา่ ครูต้องไม่สอน แต่ต้องออกแบบการเรี ยนรู้
และอานวยความสะดวก (facilitate) ในการเรี ยนรู้
ให้ นกั เรี ยนเรี ยนรู้จากการเรี ยนแบบลงมือทา แล้ วการเรี ยนรู้ก็จะเกิดจากภายในใจ
และสมองของตนเอง”
วิ จารณ์ พานิ ช (๒๕๕๔)
11
12
การวัดและประเมินผล
ในยุคศตวรรษที่ 21
การประเมิน
เพื่อการ
เรี ยนรู้
การประเมิน
ทักษะแห่ ง
ศตวรรษที่ 21
เทคนิคการ
ประเมินใน
ชัน้ เรี ยน
13
สารวจ:
คุณได้ เรี ยนรู้อะไร
นอกจากในบทเรี ยน?
คุณเคยทาผิดพลาด
อะไรและเรี ยนรู้อะไร
จากสิ่งนัน?
้
แบ่ งปั น:
คุณจะใช้ สิ่งที่เรี ยนรู้
เพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
ชันเรี
้ ยน ชุมชน หรื อ
โลกได้ อย่างไร?
สร้ างสรรค์ :
คุณเสนออะไรใหม่ๆ
บ้ างที่เป็ นความคิด
ความรู้ ความเข้ าใจ?
การประเมินทักษะ
แห่ งศตวรรษที่ 21
เข้ าใจ:
เรี ยนรู้ :
มีหลักฐานอะไรที่
แสดงว่าคุณรู้จกั
ประยุกต์ใช้ สิ่งที่
เรี ยนรู้ใน
สถานการณ์อื่น?
คุณรู้อะไรบ้ าง?
คุณทาอะไรเป็ น
บ้ าง?
ที่มา: Reeves อ้ างถึงใน วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรื อง และอธิป จิตตฤกษ์ (2554)
14
เรียนรู้ :
คุณรู้อะไรบ้ าง และ คุณทาอะไรเป็ นบ้ าง
สารวจ:
คุณได้ เรี ยนรู้อะไรนอกจากในบทเรี ยน คุณได้ เรี ยนรู้อะไรนอกจากในบทเรี ยน
คุณเคยทาผิดพลาดอะไรและเรี ยนรู้อะไรจากสิ่งนัน้
สร้ างสรรค์ : คุณเสนออะไรใหม่ๆบ้ างที่เป็ นความคิด ความรู้ ความเข้ าใจ
เข้ าใจ:
มีหลักฐานอะไรที่แสดงว่าคุณรู้จกั ประยุกต์ใช้ สิ่งที่เรี ยนรู้ ในสถานการณ์อื่น
แบ่ งปั น:
คุณจะใช้ สิ่งที่เรี ยนรู้เพื่อช่วยเหลือผู้อื่น ชันเรี
้ ยน ชุมชน หรื อโลกได้ อย่างไร
15
แสดงให้ เห็นถึง
สัมฤทธิผลทังหมด
้
ของผู้เรี ยน
เป็ นส่วนหนึง่ ของ
แผนการสอนที่มี
ประสิทธิผล
มุง่ เน้ นวิธีการ
เรี ยนรู้ของผู้เรี ยน
พัฒนา
ความสามารถใน
การประเมินตนเอง
เป็ นศูนย์กลาง
ของกิจกรรมในชัน้
เรี ยน
การประเมินเพื่อ
การเรี ยนรู้
ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนรู้
วิธีการปรับปรุงให้
ดียิ่งขึ ้น
เป็ นทักษะทาง
วิชาชีพที่สาคัญ
ส่งเสริม
ให้ เกิดความเข้ าใจ
ถึงเป้าหมายและ
เกณฑ์การตัดสิน
กระตุ้นและสร้ าง
แรงจูงใจ
ตระหนักรู้ถึง
ผลกระทบจากผล
การประเมิน
ที่มา: Assessment Reform Group (2002)
16
เทคนิคการประเมินใน
ชัน
้ เรียน
17
เครือ
่ งมือวัดความสามารถกอน
่
เรียน
ความรู้เดิม
ความจ
าและความเข
าใจ
การล
วงถามความรู
เดิ
ม
(Background
้
้
้
1.
knowledge probe)
2. การให้ระบุจุดสาคัญ (Focus Listing)
3. การตรวจสอบมโนทัศนผิ
์ ด/เดิม
(Misconception / Conception check)
4. การทาสารบัญวาง
(Empty Outline)
่
5. เมตริกการจา (Memory Matrix )
6. การจดบันทึกสั้ นๆ (Minute Paper)
7. จุดสั บสน (Muddiest Point)
18
เครือ
่ งมือวัดทักษะในการวิเคราะห ์
และ
การคิดอยางมี
่
วิจ์ ารณญาณ
1. การหาเกณฑ
(Categorizing Grid)
2. เมตริกระบุความตาง
(Defining Feature
่
Matrix )
3. จุดแข็ง / ออน
( Pro and Con Grid)
่
4. สารบัญระบุ อะไร อยางไร
ทาไม
่
(Content, Form and Function Outlines)
5. บันทึกเชิงวิเคราะห ์ (Analytic Memos)
19
เครือ
่ งมือวัดทักษะในการ
สั งเคราะหและความคิ
ดสรางสรรค
้
์
์
1. สรุป 1 ประโยค (One Sentence
Summary)
2. การบันทึกคา (Word Journal)
3. ผลสรุป (Approximate Analogy)
4. มโนทัศนแผนที
่ (Concept Maps)
์
5. บทสนทนา (Invented Dialogues)
6. แฟ้มรวมหลักฐานแสดงการดาเนินงาน
(Annotated Portfolios)
20
เครือ
่ งมือวัด
ทักษะในการแกปั
้ ญหา
1. ให้ระบุปญ
ั หา (Problem Recognition
Tasks)
2. อะไรคือหลักการ (What’s the Principle?)
3. คิดแกปั
(Documented
้ ญหามาไดอย
้ างไร
่
Problem Solutions)
4. เทปเสี ยงและภาพทีแ
่ สดง
21
เครือ
่ งมือวัดทักษะในการประยุกต ์
และ
1. การเรี
ยบเรียงภาษาใหม่ การแสดง
(Directed
Paraphrasing)ความสามารถ
2. บัตรกรอกขอความ
(Application Cards)
้
3. ผู้เรียนออกขอสอบเอง
(Student
้
Generated Test Questions)
4. เลนละครล
อเลี
่
้ ยน (Human Tableau or
Class Modeling)
5. ทาโครงราง
(Paper and Project
่
Prospectus)
22
เครือ
่ งมือวัดทัศนคติและ
คานิ
การสารวจความคิ
ดเห็ นในชั
เรีน
ยน
่ ยมของผู
้เรีน้ ย
1.
(Classroom Opinion Polls)
2. การบันทึก 2 ทาง (Double Entry
Journal)
3. สั ณฐานคนน่านิยม (Profiles of Admirable
Individuals)
4. จริยธรรมประจาวัน (Everyday Ethical
Dilemmas)
5. การสารวจความมัน
่ ใจในการเรียน (Course
Related Self Confidence Surveys)
23
เครือ
่ งมือวัด
บทบาทในฐานะผู้เรียน
1. ชีวประวัตค
ิ ราวๆ
(Focus Autobiographical
่
Sketches)
2. แบบตรวจสอบความสนใจ/ความรู้/ทักษะ
(Interest/Knowledge/Skills Checklist)
3. การจับคูและจั
ดลาดับเป้าหมาย (Goal
่
Ranking and Matching)
4. การตีคาวิ
(Self
่ ธเี รียนดวยตนเอง
้
Assessment of Ways of Learning)
24
เครือ
่ งมือวัดกลยุทธ ์ พฤติกรรม
1. เวลาทีใ่ ช้ศึ กษาจริงและ
(Productive Study
Timeทั
Logs)
กษะในการเรียนวิชาตางๆ
2. ฟัง คิด ถาม เขียน ย้อนกลับ ่
(Punctuated Lectures)
3. การวิเคราะหกระบวนการ
(Process
์
Analysis)
4. สิ่ งวินิจฉัยการเรียนรู้ (Diagnostic
Learning Logs)
25
เครือ
่ งมือวัดปฏิกริ ย
ิ าของผู้เรียน
ตอผู
่ ้สอนและการสอน
1. บันทึกตอเนื
่ ่อง (Chain Notes)
2. E-Mail (Electronic Mail Feedback)
3. แบบประเมินการสอนทีค
่ รูสรางขึ
น
้
้
(Teacher- Designed )
4. เทคนิคกลุมให
่
้ขอมู
้ ลย้อนกลับ (Group
Instructional Feedback Technique)
5. วงจรตีคาคุ
้
่ ณภาพการเรียนการสอนในชัน
เรียน (Classroom Assessment Quality
Circles)
26
เครือ
่ งมือวัดปฏิกริ ย
ิ าของผูเรี
้ ยน
ตอกิ
่ จกรรมในห้องเรียน งานที่
1. จา ให
สรุ้ ท
ป าถามและเอกสารต
วิจารณ ์ และเชืารา
อ
่ มโยง
(Recall, Summarize, Question, Comment
and Connect, RSQC2)
2. แบบประเมินการทางานเป็ นกลุม
่
3. แบบประมาณคาการอ
าน
่
่
4. การตีคางานที
ใ่ ห้ทา
่
5. การประเมินการสอบ
27
ประเมิ
น
จากแฟ
มสะสมผลงาน
้
กระบวนการทาแฟ้มผลงานของผู้เรียน มีขน
้ั ตอนในการทา 10
ขัน
้ ตอน
(Portfolio)
1) ขัน
้ กาหนดจุดประสงคและประเภทของแฟ
้ มผลงาน (Project
์
Purposes)
2) ขัน
้ รวบรวมชิน
้ งานและจัดการชิน
้ งาน (Collect and Organize)
3) ขัน
้ คัดเลือกชิน
้ งาน (Select)
4) ขัน
้ สรางสรรค
ผลงาน
(Inject Personality)
้
์
5) ขัน
้ การสะทอนข
อมู
้
้ ลกลับ (Reflect Metacognitively)
6) ขัน
้ การตรวจสอบความสามารถของตนเอง (Inspect to Self
Assess)
7) ขัน
้ การทางานให้สมบูรณและประเมิ
นคาผลงาน
(Perfect and
่
์
Evaluate)
8) ขัน
้ การเชือ
่ มโยงและการปรึกษาหารือ (Connect and
Conference)
9) ขัน
้ การทาให้ชิน
้ งานมีคุณคาทั
่ นสมัย (Inject and Eject to
Update)
28
10) ขัน
้ การยอมรับคุณคาที
่ มบูรณและน
าเสนอผลงานดวยความ
่ ส
้
์
ประเมินจากโครงงาน
(Project)
การวางแผนการประเมินจากโครงงาน
1)
นิ ย ามเป้ าหมายการเรีย นรู้ ที่ส าคัญ ส าหรับ
โครงงานทีจ
่ ะตองจั
ดเตรียมขึน
้
้
2) กาหนดคุณลักษณะเฉพาะและคุณภาพของโครงงาน
ทีส
่ าเร็จทีเ่ ชือ
่ มโยง ตรงเข้าสู่เป้าหมายของการเรียนรู้ทีเ่ ราจะ
ทาการประเมินและประเมินผู้เรียนเฉพาะคุณภาพเหลานี
่ ้เทานั
่ ้น
3) นิยามระดับคุณภาพตางๆ
อยางต
อเนื
่องสาหรับแต่
่
่
่
ละคุณลักษณะ ใช้ผู้เรียนเป็ นทีต
่ ง้ั ในการกาหนดมาตรการวัด
คุณภาพนี้
4) นิยามการให้คะแนน (Scoring Rubric) ทีจ
่ ะใช้
สาหรับประเมินแตละคุ
ณลักษณะของโครงงานของผู้เรียนแตละ
่
่
คน
5) กาหนดน้าหนัก (Weight) ในแตละคุ
ณลักษณะ
่
เพือ
่ คิดคานวณเกรดของโครงงาน
29
ควำมสำมำรถด้ำนกำรคิด “Thinking Skills”
เป็ นเรือ
่ งสำคัญของผูเ้ รียนทีต
่ อ
้ งได้รบั กำรพัฒนำให้
เต็มศักยภำพของพวกเขำ พร้อมทัง้ ควรมีวธิ ก
ี ำรวัด
และประเมินทีถ
่ ูกต้องและเหมำะสม
ลองดูตวั อย่ำง “กำรพัฒนำทักษะกำรคิดขัน
้ สูง” ต่อไปนี้
พร้อมตอบใบกิจกรรมที่ 1
30
กำรวิเครำะห์หลักสูตรกิจกรรมสำคัญ
ทีค
่ รูตอ
้ งทำก่อนเขียนข้อสอบ
ประกอบกำรบรรยำยกิจกรรมใบงำนที่ 2
31
--ตัวอย่ำง-กำรสร้ำงตำรำงกำหนดรำยละเอียด
แบบทดสอบวิชำวัดผล
(Table of Specifications - TOS)
ขัน
้ ที่ 1 พิจำรณำจุดประสงค์กำรเรียนรูข
้ องวิชำ
แต่ละข้อ แล้วแยกแยะพฤติกรรมดูวำ่ แต่
ละข้อของจุดหมำยต้องกำรให้ผเู้ รียนเกิด
พฤติกรรมอะไร
32
จุดประสงค์กำรเรียนรูว้ ช
ิ ำวัดผล
เพือ
่ ให้นกั ศึกษำสำมำรถ
1. อธิบำยหลักกำรวัดผลกำรศึกษำได้
พฤติกรรมทีแ
่ ยกได้ ควำมจำ ควำมเข้ำใจ
2. บอกหลักกำรสำคัญของกำรเขียนข้อสอบได้
พฤติกรรมทีแ
่ ยกได้ ควำมจำ
3. ประยุกต์หลักกำรสร้ำงแบบทดสอบไปใช้ได้
พฤติกรรมทีแ
่ ยกได้ กำรนำไปใช้
4. เห็นคุณค่ำและควำมสำคัญของกำรวัดผลกำรศึกษำ
พฤติกรรมทีแ
่ ยกได้ เจตคติ
33
ขัน
้ ที่ 2 เมือ
่ แยกพฤติกรรมจำกจุดหมำยแต่ละข้อ
ได้แล้วนำมำพิจำรณำยุบรวมสิง่ ที่
ซำ้ ซ้อนให้เป็ นลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
ของตัวมันเอง ดังนี้
1) ควำมจำ
2) ควำมเข้ำใจ
พฤติกรรมด้ำนสมอง
(Cognitive Domain)
3) กำรนำไปใช้
4) เจตคติ*** (ไม่ได้นำมำใช้สอบ)
34
ขัน
้ ที่ 3 นำเอำพฤติกรรมด้ำนสมองมำตีควำมหมำย
้ ดังนี้
เพือ
่ มองให้เห็นเด่นชัดขึน
ควำมจำ
ควำมสำมำรถในกำรเก็บสะสมหลักกำรต่ำงๆ
ตลอดจนข้อเท็จจริงทีเ่ กีย่ วกับกำรวัดและ
ประเมินผล
กำรแสดงออก
นักเรียนนิยำมคำต่ำงๆ ทีเ่ กีย่ วกับกำรวัดและ
ประเมินผลได้ และบอกชนิดของกำรวัดผลและ
ประเมินผลได้ถก
ู ต้อง
ควำมเข้ำใจ
ควำมสำมำรถในกำรแปลควำม ตีควำม และขยำย
ควำมเหตุกำรณ์ ตำ่ งๆทีเ่ กีย่ วกับกำรวัดและ
ประเมินผลได้
กำรแสดงออก
นักเรียนสำมำรถอธิบำยเหตุกำรณ์ ทเี่ กีย่ วกับกำรวัดและ
ประเมินผลด้วยภำษำของตนเองได้ถก
ู ต้อง ตลอดจนสำมำรถ
แปลงเปลีย่ นเป็ นกำรกระทำอย่ำงอืน
่ ได้ถก
ู ต้องด้วย
35
กำรนำไปใช้
ควำมสำมำรถนำควำมรูท
้ เี่ รียนมำนัน
้ มำใช้ในกำรปฏิบตั ิ
ทำงด้ำนกำรวัดและประเมินผลในสถำนกำรณ์ ใหม่
กำรแสดงออก
นักเรียนสำมำรถเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมต่ำงๆตำม
เนื้อหำวิชำทีต
่ อ
้ งกำรจะวัด และสร้ำงข้อสอบให้เป็ นฉบับและ
นำไปทดลองแล้วคำนวณหำคุณภำพของข้อสอบได้ถก
ู ต้อง
ตลอดจนสร้ำงเป็ นธนำคำรข้อสอบได้
ขัน
้ ที่ 4 พิจำรณำแยกแยะเนื้อหำทีจ่ ะทำกำรสอบ
และสอบออกเป็ นเนื้อหำย่อยๆดังนี้
1.
ธรรมชำติของกำรวัดผล
2.
ชนิดของกำรวัดผล
3.
กำรสร้ำงแบบทดสอบ
4.
กำรหำคุณภำพของแบบทดสอบ
5.
กำรสร้ำงธนำคำรข้อสอบ
36
ขัน
้ ที่ 5 นำเอำพฤติกรรมในขัน
้ ที่ 3 และเนื้อหำในขัน
้
ที่ 4 มำกำหนดน้ำหนักควำมสำคัญทีจ่ ะวัด
(พิจำรณำจำกมำตรฐำนและตัวชี้วดั ) ดังนี้
ก. พฤติกรรมทีต
่ อ
้ งกำรวัด
- ควำมรู ้
- ควำมเข้ำใจ
- กำรนำไปใช้
ข. เนื้อหำทีจ่ ะวัด
- ธรรมชำติของกำรวัดผล
- ชนิดของกำรวัดผล
- กำรสร้ำงแบบทดสอบ
- กำรหำคุณภำพข้อสอบ
- กำรสร้ำงธนำคำรข้อสอบ
น้ำหนักควำมสำคัญ
น้ำหนักควำมสำคัญ
น้ำหนักควำมสำคัญ
รวม
30%
25%
45%
100%
น้ำหนักควำมสำคัญ
น้ำหนักควำมสำคัญ
น้ำหนักควำมสำคัญ
น้ำหนักควำมสำคัญ
น้ำหนักควำมสำคัญ
รวม
10%
10%
45%
20%
15%
100%
37
ขัน
้ ที่ 6 นำเอำพฤติกรรมในขัน
้ ที่ 3 และเนื้อหำใน
ขัน
้ ที่ 4 มำเขียนลงในตำรำงสัมพันธ์กน
ั
พร้อมทัง้ เขียนน้ำหนักควำมสำคัญทีก
่ ำหนด
ไว้ในขัน
้ ที่ 5 ลงในช่องรวมดังตำรำง
พฤติกรรม
รวม
อันดับ
สำคัญ
1. ธรรมชำติของกำรวัดผล
10%
4
2. ชนิดของกำรวัดผล
10 %
4
3. กำรสร้ำงแบบทดสอบ
45 %
1
4. กำรหำคุณภำพข้อสอบ
20 %
2
5. กำรสร้ำงธนำคำรข้อสอบ
15 %
3
เนื้อหำ
ควำมจำ
ควำม
เข้ำใจ
กำร
นำไปใช้
รวม
30 %
25 %
45 %
อันดับควำมสำคัญ
2
3
1
100%
38
ขัน
้ ที่ 7 กำหนดน้ำหนักลงในช่องให้ครบทุกช่อง และทำ
ให้ผลรวมเท่ำกับน้ำหนักควำมสำคัญทีก
่ ำหนด
ไว้กอ
่ น โดยพิจำรณำจำกกำรให้ควำมสำคัญกับ
เนื้อหำ พฤติกรรมทีม
่ งุ่ หวัง และกำรจัดกำร
เรียนกำรสอน
พฤติกรรม
ควำมจำ
ควำม
เข้ำใจ
กำร
นำไปใช้
รวม
อันดับ
สำคัญ
1. ธรรมชำติของกำรวัดผล
5%
5%
0%
10%
4
2. ชนิดของกำรวัดผล
5%
5%
0%
10 %
4
3. กำรสร้ำงแบบทดสอบ
10 %
15 %
20 %
45 %
1
4. กำรหำคุณภำพข้อสอบ
4%
0%
16 %
20 %
2
5. กำรสร้ำงธนำคำรข้อสอบ
6%
0%
9%
15 %
3
รวม
30 %
25 %
45 %
100%
อันดับควำมสำคัญ
2
3
1
เนื้อหำ
39
กรณี ตอ
้ งกำรออกข้อสอบ 60 ข้อ
ใช้หลักกำรเทียบบัญญัตไิ ตรยำงค์
พฤติกรรม
เนื้อหำ
ควำมจำ
ควำมเข้ำใจ กำรนำไปใช้
รวม
1. ธรรมชำติของกำรวัดผล
3
3
0
6
2. ชนิดของกำรวัดผล
3
3
0
6
3. กำรสร้ำงแบบทดสอบ
6
9
20
27
4. กำรหำคุณภำพข้อสอบ
2
0
16
12
5. กำรสร้ำงธนำคำรข้อสอบ
4
0
9
9
18
15
27
60 ข้อ
รวม
ขัน
้ ต่อไปจึงเขียนข้อสอบตำมระดับพฤติกรรม
และเนื้อหำ ให้สอดคล้องกับตำรำงนี้
40
การวัดความคิดขัน้ สูงของผู้เรี ยน
ในยุคศตวรรษที่ 21
วิทยากร อ.ดร.จตุภมู ิ เขตจัตุรัส
(ค.ด.การวัดและประเมินผลการศึกษา, จุฬาฯ)
อาจารย์ ประจาสาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
41
การคิดวิเคราะห์
เป็ นทักษะการคิดขันสู
้ ง เป็ นความสามารถในการแยกสิ่งสาเร็จรูป
ออกเป็ นส่วนย่อยๆ ตามหลักการและกฎเกณฑ์ที่กาหนดให้ เพื่อ
ค้ นหาความจริงต่างๆ ที่ซอ่ นแฝงอยูภ่ ายในเรื่ องราวนัน้
(ชวาล แพรัตกุล, 2520)
สิ่งสาเร็ จรู ป หมายถึง วัตถุสิ่งของต่างๆ ที่อยู่รอบตัวหรื อบรรดาเรื่ องราวและเหตุการณ์
ต่างๆ เช่น โคลงกลอน บทความ กราฟ เหตุการณ์ต่างๆ
กฎเกณฑ์ ในการวิเคราะห์ การแยกค้ นสิ่งใด ๆ ก็ตาม จะต้ องมีกฎเกณฑ์ใดกฎเกณฑ์
หนึง่ เป็ นหลักในการพิจารณา เพื่อควบคุมการวิเคราะห์ให้ เป็ นไปในแนวเดียวกัน
การค้ นหาความจริ งของเรื่ องราว มีความมุ่งหมายที่จะค้ นหาสภาพความจริ งและสิ่ง
สาคัญของเรื่ องเหล่านัน้ เปรี ยบเสมือนกับการค้ นตู้เพื่อหาสิ่งของที่หมกซ่อนอยู่
42
ข้ อสอบเชิงวิเคราะห์
เป็ นเครื่ องมือวัดผลที่มีเป้าหมายให้ ผ้ เู รี ยนสามารถแยกสิง่ สาเร็จรูป
ออกเป็ นส่วนย่อยๆ ตามหลักการและกฎเกณฑ์ที่กาหนดให้ เพื่อ
ค้ นหาความจริงต่างๆ ที่ซอ่ นแฝงอยูภ่ ายในเรื่ องราวนัน้
องค์ประกอบสำคัญของข้อสอบเชิงวิเครำะห์ มี 2 ส่วน ดังนี้
1. สถานการณ์หรือข้อสนเทศ
2. คาถามหรือปญั หา
43
สถำนกำรณ์หรือข้อสนเทศ
เป็ นส่ วนของข้อมูลเพื่อใช้ ในกำรตอบคำถำม โดยนาเสนอ เหตุการณ์
ปรากฏการณ์ หรือการจัดประสบการณ์ท่สี อดคล้องกับเนื้อหาสาระของบทเรีย น ตาม
สาระและมาตรฐานการเรียนรูข้ องหลักสูตร รวมทัง้ มีความเชื่อมโยงกับความเป็ นจริง
ของชีวติ และสังคม
สถำนกำรณ์หรือข้อสนเทศควรมีลกั ษณะ ดังนี้
• เหตุการณ์จริงหรือสถานการณ์จาลองทีใ่ กล้เคียงความจริง
ความรูต้ ่างๆ ทีม่ ผี อู้ ่นื รวบรวมไว้แล้ว
• ปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในปจั จุบนั หรือประเด็นทีส่ งั คม
ให้ความสนใจ
• สถานการณ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับบทเรียน สาระการเรียนรู้
ในหลักสูตร
• เรือ่ งสมมติทส่ี ามารถนามาวิเคราะห์ แก้ปญั หา
ให้ความคิดเห็น หรือแสดงความรูส้ กึ
44
คำถำมหรือปัญหำ
เป็ นส่วนของคำสั ่งที่ระบุให้ทรำบว่ำต้องกำรให้ทำอะไร
โดยทัวไปต้
่ องการให้ตอบสนองโดยการคิดในเชิงวิทยาศาสตร์ และนาความรู้ ทักษะต่างๆ
ไปเพื่อใช้แก้ปญั หา คาถามส่วนใหญ่มลี กั ษณะปลายเปิ ดทีใ่ ห้ผเู้ รียนมีอสิ ระทางความคิด
และถ่ายทอดความรูใ้ นรูปแบบของการเขียนตอบได้
คำถำมหรือปัญหำ ควรมีลกั ษณะ ดังนี้
• สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละสถานการณ์ทก่ี าหนด
• สือ่ สารได้ชดั เจนและใช้ภาษาทีเ่ หมาะสมกับระดับของผูเ้ รียน
• ส่งเสริมให้ผเู้ รียนคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ อภิปราย แก้ปญั หา
ตัดสินใจ ประเมินค่า และสร้างคาตอบได้อย่างสมเหตุผล
• เนื้อหาของคาถามมีความยุตธิ รรมสาหรับผูเ้ รียนทุกคน
45
ข้อสอบแบบเขียนตอบ
การเตรี ยมข้อสอบแบบเขียนตอบควรมีแนวการ
ตอบและเกณฑ์ การให้ คะแนนด้วย เพื่อให้ผตู ้ รวจคาตอบ
สามารถตรวจได้สะดวกและให้คะแนนได้ตรงกัน
- แนวการตอบ เป็ นหลักการหรื อแนวคิดที่เป็ นไปได้
ในการตอบคาถาม
- เกณฑ์ การให้ คะแนน เป็ นเกณฑ์ที่กาหนดขึ้น
สาหรับการให้คะแนนคาตอบโดยพิจารณาความถูกต้อง
ครบถ้วนและความสมบูรณ์ของคาตอบเป็ นสาคัญ
46
เกณฑ์กำรให้คะแนนข้อสอบแบบเขียนตอบ
ลักษณะของเกณฑ์กำรให้คะแนนแบบเขียนตอบมี 2 รูปแบบ
1. เกณฑ์ให้คะแนนแบบภำพรวม (Holistic Scoring Guideline )
เป็ นการให้คะแนน โดยดูภาพรวมทีแ่ สดงถึงความเข้าใจ การเกิดแนวคิดหลัก
กระบวนการทีใ่ ช้ และการสือ่ ความหมาย และแบ่งระดับคุณภาพของงานโดยเขียน
อธิบายพฤติกรรมการแสดงออกในแต่ละระดับอย่างชัดเจน
2. เกณฑ์ให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบ ( Analytic Scoring Guideline )
เป็ นการให้คะแนนผลงานโดยแยกองค์ประกอบของผลงาน
ออกเป็ นด้านต่างๆ และอธิบายพฤติกรรมการแสดงออกในแต่ละ
องค์ประกอบเป็ นระดับ
ข้อดีของการให้คะแนนแบบนี้ คือ มีความเป็ นปรนัยในการ
ให้คะแนนมากขึน้ และสามารถกาหนดสัดส่วนของคะแนนตาม
ความสาคัญได้
47
ตัวอย่ำงข้อสอบเขียนตอบ: กำรดูดกลืนแสงของวัตถุ
ช่วงชัน้ ที่ 3 สำระที่ 5
ทดลองและอธิบายการดูดกลืนแสง และการคายความร้อนของวัตถุต่างๆ
สืบค้นข้อมูล รวมทัง้ การนาความรูไ้ ปใช้ออกแบบเพือ่ ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ
สถำนกำรณ์
เวลำ 8.00 นำฬิกำ
นักเรียนกลุม่ หนึ่งทาการทดลอง
25 O C
25 O C
นาถังโลหะ 2 ใบขนาดเท่ากัน ใบที่ 1
ทาสีดาและใบที่ 2 ทาสีขาว ใส่น้ าปริมาณ
ทีเ่ ท่ากัน ตากแดดในวันทีอ่ ากาศร้อนจัด
เวลำ 12.00 นำฬิกำ
38 O C
33 O C
และสังเกตอุณหภูมขิ องน้ าในตอนเริม่ ต้น
เวลา 8.00 น. และหลังจากตากแดดที่
ร้อนจัดถึงเวลา 12.00 น. ได้ผลดังภาพ
48
ตัวอย่ำงข้อสอบเขียนตอบ: กำรดูดกลืนแสงของวัตถุ
คำถำม
ผลของการทดลองนี้มกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็ นเช่นนัน้
แนวคำตอบ
ผูต้ อบมีความเข้าใจการดูดกลืนและการคายพลังงานความร้อนของวัตถุสเี ข้มและ
สีอ่อนได้ โดยมีแนวการตอบดังนี้ “อุณหภูมขิ องน้ าในถังทัง้ สองสูงขึน้ อุณหภูม ิ
ของน้ าในถังสีดาสูงขึน้ มากกว่าน้ าในถังสีขาว เนื่องจากวัตถุ สดี าดูดกลืนแสงและ
คายความร้อนได้ดกี ว่าวัตถุสขี าว จึงทาให้น้ าในถังสีดามีอุณหภูมสิ งู ขึน้ มากกว่า”
49
ตัวอย่ำงข้อสอบเขียนตอบ: กำรดูดกลืนแสงของวัตถุ
เกณฑ์ การประเมินแบบภาพรวม
รำยกำรประเมิน
ระดับคุณภำพ
• อธิบายการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูม ิ แต่ไม่สามารถอธิบาย
เหตุผลได้
ต้องปรับปรุง
• อธิบายการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ได้โดยเปรียบเทียบ
อุณหภูมทิ แ่ี ตกต่างกันระหว่างถังทัง้ สอง และ อธิบายเหตุผล
ทีอ่ ุณหภูมขิ องถังทัง้ สองเพิม่ ขึน้ ได้บางส่วน
พอใช้
• อธิบายการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ได้ โดยเปรียบเทียบ
อุณหภูมทิ แ่ี ตกต่างกันระหว่างถังทัง้ สอง และ อธิบาย
เหตุผลทีอ่ ุณหภูมขิ องถังทัง้ สองเพิม่ ขึน้ โดยเปรียบเทียบ
สมบัตกิ ารดูดกลืนแสงและคายความร้อนของวัตถุสขี าวและ
สีดา
ดี
50
ตัวอย่ำงข้อสอบเขียนตอบ: กำรดูดกลืนแสงของวัตถุ
เกณฑ์ การประเมินแบบแยกองค์ ประกอบ
รำยกำรประเมิน
คะแนน
• อุณหภูมขิ องน้าในถังทัง้ สองเพิม่ ขึน้
1
• อุณหภูมขิ องน้าในถังสีดาเพิม่ ขึน้ มากกว่าถังสีขาว
1
• อธิบายว่าวัตถุสดี าสามารถดูดกลืนแสงได้ดกี ว่าวัตถุสขี าว
1
• อธิบายว่าวัตถุสดี าสามารถคายพลังงานความร้อน
ได้ดกี ว่าวัตถุสขี าว
1
รวม
4 คะแนน
51
เดิม
จา-ใจ-ใช้ -วิ-สัง-ประ
ใหม่
จา-ใจ-ใช้ -วิ-ประ-สร้ าง
คิดขัน้ สูง
คิดขัน้ พืน้ ฐาน
(Bloom’s Taxonomy)
52
ทักษะการคิดขั้นสูงของบลูม
(Bloom’s Taxonomy)
การสร้างสรรค์
การประเมินค่า
การวิเคราะห์
การประยุกต์ใช้
ความเข้าใจ
การจาได้
โครงสร้างที่เป็ นประโยชน์เพื่อพัฒนาวัตถุประสงค์การเรียนรูแ้ ละจัดหมวดหมู่คาถาม
(Based on Pohl, 2000, Learning to Think, Thinking to Learn, p. 8)
53
การสร้ างข้ อคาถามวัด “การคิดวิเคราะห์ ”
ตามแนวของบลูม
การสร้ างข้ อคาถามวัดการคิดวิเคราะห์ตามแนวของบลูม ต้ องมี สิ่งสำเร็ จรู ป เป็ น
ต้ นเรื่ องในกำรถำมดังนี้
1. ข้ อความที่เกี่ยวกับคติและคาสอน เช่น โคลง กลอน คาประพันธ์ ต่าง ๆ
สุภาษิ ต คาพังเพย คติสอนใจ อาจตัดตอนมาบางส่วน หรื อดัดแปลง ลดบาง
ประโยคก็ได้
2. บทความที่เกี่ยวกับความคิดความเห็น เช่น ทัศนคติ ลัทธิ ทรรศนะ บท
วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ ค าติ ช ม ค าปรารภ บทสนทนา ข้ อ เสนอแนะ และความ
คิดเห็นที่โต้ แย้ งกัน และพยายามจับใจความย่อยๆ ของแต่ละตอน แล้ วหยิบ
เอา 2 หรื อหลายใจความที่เหมาะๆ มาตังค
้ าถาม
3. ข้ อ ความที่ เ กี่ ย วกั บ สู ต รกฎ และหลั ก วิ ช า ได้ แ ก่ ข้ อ ความที่ อ ธิ บ าย
ความหมายและกาเนิดที่มาสูตรกฎ ทฤษฎีและสมมติฐาน ข้ อปั ญหา ข้ อสรุ ป
ผลลัพธ์ ข้ อเท็จจริ งและเงื่อนไข ข้ ออนุมานอ้ างอิง เหตุผลตามตรรกวิจารณ์
54
และปรากฏการณ์ตา่ งๆ
4. ภาพ กราฟ แผนที่แผนผังและตารางตัวเลข ลักษณะนี ้ต้ องระวังอย่าให้ เป็ น
คาถามประเภทแปลความหรื อตีความ นัน่ คืออย่าถามในเชิงให้ แปลหรื ออธิ บาย
ความหมายของส่วนย่อยใดหนึ่งหรื อเพียงสิ่งเดียวจุดเดียว แต่ควรถามเพื่อให้
สมองทางานเป็ นสองจังหวะ ดังนี ้
- แยกกระจายเรื่ อ งนัน้ ออกเป็ นส่ว นย่ อ ย ๆ เพื่ อ ค้ น หาว่ า แต่ ล ะชิ น้
เหล่านันมี
้ ความสาคัญอะไรซ่อนอยูใ่ นตัว และมากน้ อยเพียงใด
- นาเอาความสาคัญของทังสองชิ
้
้นที่ถามมาเทียบกันด้ วยประการต่าง ๆ
เพื่อค้ นหาว่ามีอะไรบ้ างที่เกี่ยวข้ องและในด้ านใด
5. ใช้ วัตถุของจริง หุน่ จาลองของตัวอย่างสิง่ ของ เหมาะกับวิชาปฏิบตั ิ
55
4.00 การวิเคราะห์
4.10 วิเคราะห์ ความสาคัญ หมายถึง ความสามารถในการ
ค้ น หาคุ ณ ลั ก ษณะที่เ ด่ น ชั ดของเรื่ อ งราวในแง่ มุ ม ต่ า งๆ ตาม
กฎเกณฑ์ ท่ กี าหนดให้ จาแนกเป็ น วิเคราะห์ ชนิด สิ่งสาคัญ และ
เลศนัย
แนวในการถาม
- ให้ ค้นหาเนื ้อแท้ หรื อค้ นหามูลเหตุ ต้ นกาเนิด สาเหตุ ผลลัพธ์ และ
ความสาคัญทังปวงของเรื
้
่ องราวต่างๆ
- ข้ อความที่กล่าว ได้ กล่าวไว้ ประจักษ์ แจ้ ง กล่าวไว้ อย่างเปรี ยบเปรย
หรื ออย่างเป็ นเลศนัยอะไรบ้ าง
- ตอนใดเป็ นเพียงคาอนุมานหรื อสมมติฐาน ตอนใดเป็ นคาสรุปผล หรื อ
คาอ้ างอิงสนับสนุน
56
ตัวอย่างข ้อสอบวิเคราะห์ความสาคัญ
คาชี้แจง
อ่ านโคลงสยามานุสติบทนี้ แล้ วตอบคาถาม
ต่ อไปนี้
หากสยามยังอยูย่ ้งั ยืนยง
เราก็เหมือนอยูค่ ง ชีพด้วย
หากสยามพินาศลง ไทยอยู่ ได้ฤๅ
เราก็เหมือนมอดม้วย หมดสิ้ นสกุลไทย
• ใจความของโคลงบทนี้เป็ นประเภทใด ?
ก. เป็ นข้อแนะนา
ข. เป็ นคาปรึ กษา
ค. เป็ นคติที่เชื่อถือได้
ง. เป็ นคากล่าวที่ยงั ไม่มีขอ้ พิสูจน์
จ. เป็ นความเห็นที่ใช้ได้ในบางโอกาส
• โคลงบาทที่สอง เป็ นคากล่าวลักษณะใด ?
ก. ให้ตวั อย่างจริ งของชีวติ
ข. เปรี ยบเทียบคนกับประเทศ
ค. ขยายความหมายของประเทศ
ง. อธิบายว่าประเทศประกอบด้วยคน
จ. ให้คติวา่ ชีวติ คนยืนยาวเหมือนประเทศ
57
ตัวอย่างข ้อสอบวิเคราะห์ความสาคัญ
• “นกน้อยทารังแต่พอตัว”
ข้อความนี้ตอ้ งการสอนถึงอะไร
ก. การประมาณตน
ข. ความมานะอดทน
ค. การสร้างตนเอง
ง. การประหยัดอดออม
จ. การรักเกียรติของตน
• ที่กล่าวว่า “ถ้วยแก้วตกบนดวงจันทร์
ไม่แตก” แสดงว่าเขาต้องการบอกถึง
เรื่ องอะไร
ก. น้ าหนักของแก้ว
ข. ความหนาของแก้ว
ค. ลักษณะผิวของดวงจันทร์
ง. แรงเหวี่ยงของดวงจันทร์
จ. แรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์
58
ONET-53
59
4.20 วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ หมายถึง ความสามารถในการ
ค้ นหาความเกี่ยวข้ องหรือสัมพันธ์ กันระหว่ างคุณลักษณะสาคัญ
ใดๆของบรรดาเรื่องราว และสิ่งต่ างๆ เช่ น โครง กลอน บทความฯลฯ
แนวในการถาม
- ให้ ค้นหาว่าความสาคัญย่อยๆ ของเรื่ องราวนั ้นติดต่อเกี่ยวพันธ์กนั อย่างไร
- มีอะไรเป็ นมูลเหตุ มีอะไรเป็ นสาเหตุ
- ผลที่อ้างนั ้นเหมาะสมหรื อไม่
- อะไรเป็ นต้ นเหตุของสิง่ นั ้น เรื่ องนั ้น (เนื ้อเรื่ อง กับเหตุ)
- สิง่ ใดเป็ นผลกระทานั ้นๆ (เนื ้อเรื่ องกับผล)
- บุคคลหรื อบทความนี ้ยึดทฤษฎีใด
- ข้ อความไหนมีความสาคัญมากหรื อน้ อยที่สดุ (เปรี ยบเทียบระดับกับระดับ)
- สามารถตัดวรรคไหนออกได้ โดยไม่เสียใจความ (สัมพันธ์มากกับน้ อย)
- บทความนี ้ข้ ออนุมานอะไร (เนื ้อเรื่ องกับการขยาย)
- คากล่าวนี ้ขยาย สนับสนุน หรื อคัดค้ านอะไร (แปรผันตามกันหรื อกลับกัน)
- ข้ อสรุปยึดเหตุผลข้ อไหน (เนื ้อเรื่ องกับผลสรุป)
- สองสิง่ ใดสัมพันธ์กนั มากน้ อยหรื อไม่สมั พันธ์กนั เลย (ขนาดกับขนาด)
- ถ้ าเกิดสิง่ นี ้สิง่ ใดจะเกิดตามมา (เหตุกบั ผล)
60
ั พันธ์
ตัวอย่างข ้อสอบวิเคราะห์ความสม
• บุคคลคู่ใดเกี่ยวข้องกันมากที่สุด ?
ก. พระพันวษา กับ จมื่นศรี
ข. จมื่นศรี กับ เจ้าเชียงใหม่
ค. เจ้าเชียงใหม่ กับ ขุนแผน
ง. ขุนแผน กับ พลายงาม
จ. พลายงาม กับ พระพันวษา
• คากล่าวใด สอดคล้องกับหลัก
วิทยาศาสตร์ ?
ก. ฆ่าสัตว์จะตกนรก
ข. คนดีตอ้ งถือศีลห้า
ค. สิ่ งที่เกิดย่อมมีสาเหตุ
ง. ทาบุญจะได้ข้ ึนสวรรค์
จ. ความทุกข์เป็ นผลกรรมจากชาติ
ก่อน
61
ั พันธ์
ตัวอย่างข ้อสอบวิเคราะห์ความสม
• บริ เวณที่ไม่มีป่าไม้ จะส่ งผลให้ภมู ิภาคแถบ
นั้นมีสภาพเช่นไร ?
ก. มีฝนน้อย
ข. อากาศร้อน
ค. ปลูกพืชไม่ได้ผล
ง. เศรษฐกิจตกต่า
จ. มีการเลี้ยงสัตว์มาก
• อัตราส่ วนในข้อใด มีค่าไม่คงที่เสมอไป ?
ก. เส้นรอบรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัสกับ
ความยาวของด้าน
ข. เส้นรอบวงของวงกลมกับเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง
ค. พื้นที่ผวิ ทรงกลมกับกาลังสองของ
รัศมี
ง. ปริ มาตรของทรงกลมกับรัศมีกาลัง
สาม
จ. พื้นที่ของวงกลมกับรัศมี
62
ONET-53
63
4.30 วิเคราะห์ หลักการ หมายถึง ความสามารถใน
การค้ นหาโครงสร้ างและระบบของบรรดาเรื่ องราวและ
สิ่ ง ต่ า งๆ ตลอดจนการกระท าต่ า งๆ ว่ าสิ่ ง เหล่ านั ้ น
รวมกันโดยมีส่ ิงใดมาเป็ นตัวเชื่อมโยง หรื อมีอะไรเป็ น
หลั ก เป็ นแกนกลาง จ าแนกเป็ น วิ เ คราะห์ โ ครงสร้ าง
วิเคราะห์ หลักการ
แนวในการถาม
- ให้ ค้นหาหลักเกณฑ์ที่กล่าวไว้ แล้ ว หรื อจับเค้ าเงื่อน
ให้ ได้ ว่า เรื่ องนี ย้ ึดหลักการใดๆ ใช้ เทคนิคหรื อหลักวิชาใดๆ
เรื่ องนีม้ ีระเบียบวิธีในการเรี ยบเรี ยงและมีเค้ าโครงการสร้ าง
อย่างไร
64
ตัวอย่างข ้อสอบวิเคราะห์หลักการ
• “ไข่ราคาฟองละ 1 บาท ซื้ อมา 1
ชะลอม จะเป็ นเงินเท่าใด”
โจทย์ขอ้ นี้ไม่สามารถหา
คาตอบได้ เพราะอะไร ?
ก. ไม่บอกราคาชะลอม
ข. ไม่บอกจานวนไข่
ค. ไม่บอกขนาดของไข่
ง. ไม่บอกขนาดของชะลอม
จ. บาทกับชะลอมคูณกันไม่ได้
• ทุกข้อเป็ นลักษณะที่สาคัญมากของ
ระบบประชาธิปไตย ยกเว้นข้อใด
ก. มีพรรคการเมืองได้พรรคเดียว
ข. มีพรรคการเมืองได้หลายพรรค
ค. ประชาชนมีส่วนในการปกครอง
ง. ยึดความคิดเห็นส่ วนใหญ่เป็ นหลัก
จ. ประชาชนแสดงความเห็นของตน
โดยเสรี
65
ตัวอย่างข ้อสอบวิเคราะห์หลักการ
• ที่กล่าวว่า “วิทยุเป็ นเครื่ องมือสื่ อสาร
ที่มีอิทธิพลมาก” เพราะผูก้ ล่าวยึด
หลักการใด ?
ก. เพราะมีจานวนผูฟ้ ังมาก
ข. สามารถส่ งข่าวได้รวดเร็ ว
ค. สามารถแพร่ ข่าวได้ตลอดเวลา
ง. เพราะเป็ นกิจการของรัฐบาล
จ. ประชาชนชอบฟั งมากกว่า
ชอบอ่าน
• การเคลื่อนที่ของสิ่ งใด ที่ใช้หลักการ
ผิดกับ 4 ชนิดอื่น ?
ก. พลุ
ข. จรวด
ค. เรื อยนต์
ง. เรื อหางยาว
จ. เครื่ องบินใบพัด
66
ONET-53
67
ฝึ กการตัง้ คาถามคิดวิเคราะห์
ตำมแนวคิดของ Bloom
- วิเครำะห์ควำมสำคัญ
- วิเครำะห์ควำมสัมพันธ์
- วิเครำะห์หลักกำร
PISA
68
ตัวอย่างการตั้งคาถาม
69
PISA
(Program in International Student
Assessment)
เป็ นโครงการประเมินผลนักเรียนระดับนานาชาติโดย
OECDทีว่ ัดความรู ้และทักษะของนักเรียนอายุ 15 ปี
ด ้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และ
ประเมินต่อเนือ
่ งกันทุก 3 ปี
70
กำรประเมินผลนำนำชำติ - PISA
ปี ที่ประเมิน
2000
วิชำที่เน้ น กำรอ่ำน
เป็ นหลักใน คณิตศาสตร์
กำรประเมิน วิทยาศาสตร์
(ตัวหนำ)
2003
2006
2009
2012
2015
กำรอ่ำน
การอ่าน
การอ่าน
การอ่าน
การอ่าน
คณิตศำสตร์ คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ คณิตศำสตร์ คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ วิทยำศำสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยำศำสตร์
การแก้ปญั หา
แบบสอบถำม วิธกี ารเรียน วิธกี ารเรียน
สำหรับ
ความผูกพัน เจตคติต่อ
นักเรียน
และพฤติกรรม คณิตศาสตร์
วิธกี ารเรียน
เจตคติต่อ
วิทยาศาสตร์
การอ่าน
71
กิจกรรม
เกีย่ วกับอ่าน
กลวิธที ่ี
นักเรียนใช้ใน
การอ่าน
การแก้ปญั หา
และโอกาสใน
การเรียนรู้
คณิตศาสตร์
อยูใ่ นขัน้
พิจารณา
กรอบกำรประเมินของ PISA
72
กำรอ่ำน (Reading Literacy)
นิยำม
กำรอ่ำน
ควำมรู้และทักษะที่จะเข้ำใจเรื่องรำวและสำระ
ของสิ่งที่ได้อ่ำน คิดวิเครำะห์ แปลควำม ตีควำม
ประเมินสำระที่ได้อ่ำนและสะท้อนออกมำเป็ น
ควำมคิดของตน
73
สมรรถนะกำรอ่ำน
กำรค้นสำระ

ค้นหำหรือสรุปสำระสำคัญจำกเรื่องที่อ่ำน
กำรตีควำม


ตีควำมหรือแปลควำมจำกเรื่องที่อ่ำน
วิเครำะห์เนื้ อหำหรือข้อควำมที่เกี่ยวข้องกับ
สิ่งต่ำงๆ
กำรวิเครำะห์
และประเมิน


วิเครำะห์รปู แบบกำรนำเสนอของข้อควำม
ประเมินและให้ควำมเห็นหรือโต้แย้งด้วย
มุมมองของตนเองต่อบทควำมที่อ่ำน
74
ตัวอย่ำงข้อสอบ: กำรค้นสำระ
ตึกสูง
ตึกสูง” เป็ นบทความจากนิตยสาร
ของนอร์เวย์ ตีพมิ พ์ในปี ค.ศ. 2006
คำถำม:
ขณะทีบ่ ทความนี้ตพี มิ พ์ใน
นิตยสาร ตึกใดในรูปที่ 2
สร้างเสร็จแล้วและสูงทีส่ ดุ
……………………………
คำถำม:
เรดิสนั SAS พลาซ่าในเมือง
ออสโล ประเทศนอร์เวย์ สูง
เพียง 117 เมตร ทาไมจึงนา
ตึกนี้มาใส่ในรูปที่ 2
……………………………
รูปที่ 1: ตึกสูงในโลก
รูปที่ 2: ตึกที่สูงที่สุดในโลกบางตึก
700
รูปที่ 1 แสดงจานวนตึกสูงอย่างน้ อย 30 ชันที
้ ่สร้ างเสร็จแล้ วหรือ เมื่อตึกเบิร์จในดูไบสร้ างเสร็จในปี ค.ศ. 2008
650
กาลังก่อสร้ าง ทังนี
้ ร้ วมถึงตึกที่วางแผนก่อสร้ างตังแต่
้ มกราคม คาดว่าจะเป็ นตึกที่สงู ที่สดุ ในโลก มีความสูง
600
ค.ศ. 2001
700เมตร
550
593
ฮ่องกง
500
339
ดูไบ
450
140
โตเกียว
400
124
เซี่ยงไฮ้
350
124
เสิ่นเจิ ้น จีน
118
กรุงเทพฯ
300
113
กรุงปานามา
250
112
นิวยอร์ ก
200
112
โซล
150
ไมอามี
103
100
ชิคาโก
98
50
โตรอนโต
92
0
สิงคโปร์
86
เรดิสัน SAS หอไอเฟล ตึกเอมไพร์ สเตต ไทเป 101 หอคอย ซีเอ็น ตึกเบิร์จ เมตร
จาการ์ ตา
77
ปารีส
นิวยอร์ ก
พลาซ่ า
ไทเป
ทาวเวอร์
ดูไบ
เซาเปาโล
68
(1889)
(1931)
(2004)
ออสโล
โตรอนโต (2008)
(1990)
(1976)
75
ตัวอย่ำงข้อสอบ: กำรค้นสำระ
ทิ ศเหนื อ
ริ มอ่ำว
สะพานหิน
คลองประปา
ศำลำกลำง
หอคอย
โรงพยาบาล
อนุสำวรีย์
ประตูตะวันออก
โรงละคร
เซ็นทรัล
ธนาคาร
สวนสัตว์
พิพธิ ภัณ ์
รัฐสภา
สุดตะวันตก
ริมน้า
ท่ำเรือเก่ำ
ปราสาท
ท่าเรือ
สามัคคี
ลินคอล์น
ซาโต้
ยอดเนิน
ตลาดสด
ไอสไตน์
โรงกาซ
ศูนย์การค้า
ถนนพระรำม
เสรีภาพ
้ม
ุ ประตู
รถเมล์ระหว่ำงเมือง
รถไ ระหว่ำงเมือง
สำยที่อยู่ในระหว่ำงกำรก่อสร้ำง
มรกต
มหาวิทยาลัย
เงิน
สวนสาธารณะ
เพชร
สำย 1
สำย 2
สำย 3
สำย 4
สำย 5
อิ สรภำพ
…………………………………………
แมนเดลลา
ทุ่งหญ้า
ปา่ ไม้
คำถำม:
จากสถานีรถไ ใต้ดนิ สถานีใด
ทีน่ กั เรียนสามารถขึน้ ทัง้
รถเมล์ระหว่างเมืองและรถไ ระหว่างเมืองได้
โนเบล
ลี
ซาคารอ
ั ่งใต้
สาหรับข้อมูลเพิ่มเติม:
โทร. 0 2123 4567
www.metrotransit.or.th
คำถำม:
บำงสถำนี เช่น สถำนีสุดตะวันตก
สถำนี
สวนสัตว์ และสถำนีอส
ิ รภำพ มีกำร
แรเงำสีเทำล้อมรอบสถำนี
กำรแรเงำแสดงว่ำสถำนีเหล่ำนี้คอ
ื
อะไร
…………………………………………
76
ตัวอย่ำงข้อสอบ: กำรตีควำม
ป้ ำยประกำศใน ุปเปอร์มำเก็ต
กำรแจ้งเตือนกำรแพ้ถวล
ั ่ ิ สง
ขนมปังกรอบไส้ครีมมะนำว
วันที่แจ้งเตือน : 4 กุมภาพันธ์
ชื่อผู้ผลิต: บริษทั ไ น์ ้ ูดส์ จากัด
ข้อมูลผลิตภัณฑ์: ขนมปงั กรอบไส้ครีมมะนาว 125 กรัม
(ควรบริโภคก่อน 18 มิถุนายน และ ควรบริโภคก่อน 1
กรกฎาคม)
รำยละเอียด: ขนมปงั กรอบบางอย่างในรุน่ การผลิตเหล่านี้
อาจมีชน้ิ ส่วนของถัวลิ
่ สงผสมอยู่ แต่ไม่แจ้งไว้ในรายการ
ส่วนผสม คนทีแ่ พ้ถวไม่
ั ่ ควรรับประทานขนมปงั กรอบนี้
กำรปฏิบตั ิ ของผู้บริโภค : ถ้าท่านซือ้ ขนมปงั กรอบนี้ไป
ท่านสามารถนามาคืน ณ ทีท่ ท่ี า่ นซือ้ เพือ่ รับเงินคืนได้เต็ม
จานวน หรือโทรสอบถาม ข้อมูลเพิม่ เติมได้ท่ี 1800 034
241
คำถำม:
จุดประสงค์ของป้ายประกาศนี้คอื อะไร
1. เพือ่ โฆษณาขนมปงั กรอบไส้ครีมมะนาว
2. เพือ่ บอกประชาชนว่าขนมปงั กรอบผลิตเมือ่ ใด
3. เพือ่ เตือนประชาชนเกีย่ วกับขนมปงั กรอบ
4. เพือ่ อธิบายว่าจะซือ้ ขนมปงั กรอบไส้ครีม
มะนาวได้ทไ่ี หน
77
ตัวอย่ำงข้อสอบ: กำรวิเครำะห์และประเมิน
กำรแปรง ันของคุณ
นั ของเราสะอาดมากขึน้ และมากขึน้ เมือ่ เรายิง่ แปรงนานขึน้ และ
แรงขึน้ ใช่หรือไม่?
นักวิจยั ชาวอังกฤษบอกว่าไม่ใช่ เขาได้ทดลองหลายๆ ทางเลือก
และท้ายทีส่ ดุ ก็พบวิธที ส่ี มบูรณ์แบบในการแปรง นั การแปรง นั
2 นาทีโดยไม่แปรง นั แรงจนเกินไปให้ผลทีด่ ที ส่ี ดุ ถ้าคุณแปรง นั
แรงคุณกาลังทาร้ายเคลือบ นั และเหงือกโดยไม่ได้ขจัดเศษอาหาร
หรือคราบหินปูน
เบนท์ ฮันเซน ผูเ้ ชีย่ วชาญเรือ่ งการแปรง นั กล่าวว่าวิธจี บั แปรงสี
นั ทีด่ กี ค็ อื จับให้เหมือนจับปากกา “เริม่ จากมุมหนึ่ง และแปรงไป
ตาม นั จนหมดแถว” เธอบอกว่า “อย่าลืมลิน้ ของคุณด้วย! มัน
สามารถสะสมแบคทีเรียได้มากทีเดียว ซึง่ เป็ นสาเหตุของกลิน่ ปาก”
78
คำถำม:
ทาไมในเรือ่ งจึงกล่าวถึงปากกา
1. เพือ่ ช่วยให้เราเข้าใจว่าควรจับแปรงสี นั
อย่างไร
2. เพราะเราเริม่ จากมุมหนึ่งเหมือนกันทัง้ ปากกา
และแปรงสี นั
3. เพือ่ แสดงว่าเราสามารถแปรง นั ได้หลายๆ วิธี
4. เพราะเราควรแปรง นั อย่างจริงจังเช่นเดียวกับ
การเขียน
ตัวอย่ำงข้อสอบ: กำรวิเครำะห์และประเมิน
กำรบันทึกสถิตค
ิ วำมสูงของบอลลูนอำกำศร้อน
นักบินชำวอินเดีย วิเจย์พตั สิงหำเนีย ได้ทำลำยสถิตค
ิ วำมสูงของ
่ น
ั ทึก
บอลลูนอำกำศร้อน ในวันที่ 26 พฤศจิกำยน ค.ศ. 2005 เขำเป็ น สถิตริ ะดับควำมสูงทีบ
ได้:
บุคคลแรกทีพ
่ ำบอลลูนลอยไปถึง 21,000 เมตรเหนือ
21,000
ม.
ระดับน้ำทะเล
ช่องตำมยำว
สำมำรถเปิ ดให้
ออกซิเจน: เพียง %4
ขนำดปกติ
อำกำศ
ของระดับพื้นดิน
ของบอลลูน
ร้อนออกได้
อำกำศร้อน
เพื่อลดความสูง
สถิตเิ ดิม:
ทั่วไป
ควำม
19,800 m
สูง: 49 m
อุณหภูม:ิ
บอลลูนมุง่ หน้ำ
–95 °C
ออกทะเล ใน
เส้นใย:
ตอนแรก เมือ่
ไนลอน
เครือ
่ งบินจัมโบ้เจ็ท:
ปะทะกับกระแส
10,000 m
กำรเติมอำกำศ:
ลมแรงจึงถูกพัด
2.5 ชั่วโมง
กลับมำอยูเ่ หนือ
ขนำด: 453,000 m3
แผ่นดินอีกครัง้
(ขนำดปกติของ
จุดทีล่ งจอด นิวเดลี
บอลลูนอำกำศร้อน
โดยประมำ
ปกติ 481 m3)
ณ
น้ำหนัก: 1,800 kg
483 km
กระเช้ำ:
สูง: 2.7 m กว้ำง: 1.3 m
ห้องโดยสำรเป็ นแบบปิ ด
และปรับควำมดัน มี
หน้ำำงด้
ต่ำวงเป็
สร้
ยอลูนฉนวน
มเิ นียม
เช่นเดียวกับเครือ
่ งบิน
วิเจย์พตั สิงหำเนีย สวม
ชุดอวกำศระหว่ำงกำร
บอลลูน
คำถำม:
การนาภาพเครือ่ งบินจัมโบ้เจ็ทมาใส่ไว้ใน
เนื้อเรือ่ งมีจุดประสงค์อะไร
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
มุมไบ
79
คณิตศำสตร์ (Mathematics Literacy)
นิยำม
คณิตศำสตร์
สมรรถนะของกำรเข้ำใจบทบำทของคณิตศำสตร์ที่มี
ต่อโลก ตัดสินใจในประเด็นต่ำงๆ บนพืน้ ฐำนของ
คณิตศำสตร์ คิดปัญหำในโลกที่อยู่ในสถำนกำรณ์
ต่ำงๆ ออกมำในรูปของปัญหำคณิตศำสตร์ และ
แก้ปัญหำเชิงคณิตศำสตร์
80
สมรรถนะทำงคณิตศำสตร์
กำรกำหนดปัญหำ
ทำงคณิตศำสตร์



ระบุตวั แปรหรือประเด็นทีส่ าคัญจากสถานการณ์ในโลกจริง
รับรูถ้ งึ โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ในปญั หาหรือสถานการณ์
ทาปญั หาหรือสถาณการณ์ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย หรือแปลง
โมเดลทางคณิตศาสตร์
กำรนำกระบวนกำร
ทำงคณิตศำสตร์ไปใช้



เลือกและใช้กลยุทธ์ในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์
ใช้เครือ่ งมือทางคณิตศาสตร์หาวิธที เ่ี หมาะสมในการแก้ปญั หา
ประยุกต์ใช้ขอ้ เท็จจริง กฎ ขัน้ ตอนและโครงสร้าง ในการ
แก้ปญั หา
กำรแปลผลลัพธ์
ทำงคณิตศำสตร์
นาผลทีไ่ ด้จากการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวติ จริง
ประเมินความเหมาะสมของวิธแี ก้ปญั หาคณิตศาสตร์ใน
บริบทของความเป็ นจริง
ั หา
 ระบุและวิจารณ์ขอ้ จากัดของรูปแบบทีใ่ ช้ในการแก้ปญ


81
ตัวอย่ำงข้อสอบ: กำรกำหนดปัญหำ
ทำงคณิตศำสตร์
คอนเสิรต์ ร็อค
สนามรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าขนาด 100 เมตร คูณ 50 เมตร ถูกจองไว้สาหรับแสดงคอนเสิรต์ ร็อค
บัตรคอนเสิรต์ ขายได้หมดและสนามเต็มไปด้วยแ นเพลงทีย่ นื ดู
การประมาณจานวนผูเ้ ข้าชมคอนเสิรต์ ทีม่ จี านวนใกล้เคียงความเป็ นจริงมากทีส่ ุดเป็ นเท่าใด
1. 2000
2. 5000
3. 20000
4. 50000
5. 100000
82
ตัวอย่ำงข้อสอบ: กำรแปลผลลัพธ์
ทำงคณิตศำสตร์
ขยะ
ในการทาการบ้านเรือ่ งสิง่ แวดล้อม นักเรียนได้รวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับ
ระยะเวลาการสลายตัวของขยะชนิดต่างๆ ทีป่ ระชาชนทิง้ ได้ดงั นี้
ชนิดของขยะ
ระยะเวลำกำรสลำยตัว
เปลือกกล้วย
1-3 ปี
เปลือกส้ม
1-3 ปี
กล่องกระดาษแข็ง
0.5 ปี
หมากฝรัง่
20-25 ปี
หนังสือพิมพ์
2-3 วัน
ถ้วยพลาสติก
มากกว่า 100 ปี
คำถำม
นักเรียนคนหนึ่งคิดทีจ่ ะแสดงข้อมูลเหล่านี้เป็ นกรา แท่ง
จงให้เหตุผลมาหนึ่ งข้อว่า ทาไมกรา แท่งจึงไม่เหมาะสมในการแสดงข้อมูลเหล่านี้
………………………………………………………………………………………………………
83
84
ตัวอย่ำงข้อสอบ: ปริภมู ิ และรูปทรงสำมมิติ
ลูกเต๋ำ
ทางซ้ายมือมีภาพของลูกเต๋าสองลูก
ลูกเต๋า คือ ลูกบาศก์ทม่ี จี านวนจุดอยูบ่ นด้านทัง้ หก ซึง่ เป็ นไปตามกฎ
คือ ผลบวกของจานวนจุดทีอ่ ยูบ่ นหน้าตรงข้ามเท่ากับเจ็ดเสมอ
คำถำม
ทางด้านขวา จะมีลกู เต๋าสามลูกวางซ้อนกันอยู่ ลูกเต๋าลูกที่ 1 มองเห็น
มี 4 จุดอยูด่ า้ นบน
ลูกที่ 1
ลูกที่ 2
ลูกที่ 3
จงหาว่า บนหน้าลูกเต๋าทีข่ นานกับแนวนอนห้าด้าน ซึง่ ท่านมองไม่เห็น (ด้านล่าง
ของลูกเต๋าลูกที่ 1 ด้านบนและล่างของลูกเต๋าลูกที่ 2 และลูกที่ 3) มีจานวนจุด
รวมกันทัง้ หมดกีจ่ ุด
......................................
85
ตัวอย่ำงข้อสอบ: ปริมำณ
6 049
1 020
1 209
เนเธอร์แล
นด์
เยอรมันนี
สหภำพ
ยุโรป
ออสเตรเลี
ย
แคนำดำ
ญีป
่ น
ุ่
รัสเซีย
-35%
236
218
423
485
612
692
1 213
1 331
1 962
เปอร์เซ็นต์กำร
เปลีย่ นแปลงระดับกำร
ปล่อยก๊ำซ
+11
จำกปี 1990 ถึง
%
1998
ในแผนภูมอิ ่านได้วา่ การเพิม่ ระดับการปล่อยกาซ CO2 ใน
สหรัฐอเมริกา จากปี 1990 ถึง 1998 เป็ น 11% จงแสดงการ
คานวณว่าได้ 11% มาอย่างไร
………………………………………………………………….
………………………………………………………………….
4 041
4 208
3 040
คำถำม:
สหรัฐอเมริ
กำ
นักวิทยาศาสตร์หลายคน กลัวว่าการเพิม่ ของกาซ CO2 ในชัน้
บรรยากาศของเราทาให้ภมู อิ ากาศเปลีย่ นแปลง แผนภูม ิ
ด้านข้างแสดงระดับการปล่อยกาซ CO2 ในปี 1990 (แท่งไม่มสี )ี
ในประเทศ (หรือภูมภิ าค) ต่างๆ และระดับการปล่อยกาซ CO2
ในปี 1998 (แท่งทึบ) และเปอร์เซ็นต์การเปลีย่ นแปลงระดับการ
ปล่อยกาซ ระหว่างปี 1990 และ 1998 (แสดงด้วยลูกศร และ
ตัวเลขเป็ น %)
6 727
กำรลดระดับ CO2
กำรปล่อยก๊ำซในปี 1990 (CO2 ล้ำน
ตัน1998
)
กำรปล่อยก๊ำซในปี
(CO2 ล้ำน
ตัน)
-4% -16%
+10
%
+13
%
+8%
+15
%
86
87
ตัวอย่ำงข้อสอบ: ควำมไม่แน่ นอนและข้อมูล
งำนวัด
ร้านเล่นเกมในงานวัดร้านหนึ่ง มีการเล่นเกมทีเ่ ริม่ ด้วยหมุนวงล้อ ถ้ำวงล้อหยุดทีเ่ ลขคู่ ผูเ้ ล่นจะได้หยิบ
ลูกหินในถุง วงล้อและลูกหินทีอ่ ยูใ่ นถุง แสดงในรูปข้างล่างนี้
1
4
10
2
6
8
คำถำม:
ผูเ้ ล่นจะได้รบั รางวัลเมือ่ เขาหยิบได้ลกู หินสีดา สมพรเล่นเกม 1 ครัง้
ความเป็ นไปได้ทส่ี มพรจะได้รบั รางวัลเป็ นอย่างไร
1. เป็ นไปไม่ได้ทจ่ี ะได้รบั รางวัล
2. เป็ นไปได้น้อยมากทีจ่ ะได้รบั รางวัล
3. เป็ นไปได้ทจ่ี ะได้รบั และไม่ได้รบั รางวัลเท่ากัน
4. เป็ นไปได้มากทีจ่ ะได้รบั รางวัล
5. ได้รบั รางวัลแน่นอน
88
วิทยำศำสตร์ (Scientific Literacy)
นิยำม
วิทยำศำสตร์
สมรรถนะที่จะใช้ควำมรู้และกำรคิดเชิงวิทยำศำสตร์
เพื่อระบุ ปัญหำ และลงควำมเห็น จำกประจักษ์
พยำน เพื่อควำมเข้ำใจและกำรตัดสินใจเกี่ยวกับ
ประเด็นของโลกธรรมชำติ และกำรเปลี่ยนแปลงที่
มนุษย์ทำให้เกิดขึน้ กับโลก
89
สมรรถนะทำงวิทยำศำสตร์
กำรระบุประเด็น
ทำงวิทยำศำสตร์



กำรอธิบำย
ปรำกฏกำรณ์ ในเชิง
วิทยำศำสตร์

กำรใช้ประจักษ์
พยำนทำง
วิทยำศำสตร์
รูว้ า่ ประเด็นปญั หาหรือคาถามใด ตรวจสอบได้ดว้ ยวิทยาศาสตร์
บอกคาสาคัญสาหรับการค้นคว้า
รูล้ กั ษณะสาคัญของการตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์
ใช้ความรูว้ ทิ ยาศาสตร์ สร้างคาอธิบายทีส่ มเหตุสมผลและ
สอดคล้องกับประจักษ์พยาน
 บรรยายหรือตีความปรากฏการณ์และพยากรณ์การเปลีย่ นแปลง
ในเชิงวิทยาศาสตร์
 ระบุได้วา่ คาบอกเล่า คาอธิบาย และการพยากรณ์ใดทีส่ มเหตุสมผล




ตีความหลักฐานประจักษ์พยานหรือข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ลง
ข้อสรุป และสือ่ สารข้อสรุป
ระบุขอ้ ตกลงเบือ้ งต้น ประจักษ์พยานทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหลังข้อสรุป
แสดงให้เห็นว่าเข้าใจแนวคิดและหลักการทางวิทยาศาสตร์
ด้วยการนาวิทยาศาสตร์ไปใช้ในสถานการณ์หรือบริบทต่างๆ
สะท้อนถึงการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทม่ี นี ยั ต่อสังคม90
ตัวอย่ำงข้อสอบ: กำรระบุประเด็น
ทำงวิทยำศำสตร์
จ ่า ข้ ค า ต่ ไป ้ ี ล้ ต คา า
เสื้อผ้ำ
บทควำมเกี่ยวกับเสื้อผ้ำ
นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษคณะหนึ่ง ได้พฒ
ั นาผ้า “ฉลาด” เพือ่ ทีจ่ ะช่วยให้เด็กพิการสามารถสือ่ สารด้วย
“คาพูด” ได้ เด็กใส่เสือ้ กักที
๊ ท่ าด้วยเส้นใยพิเศษนาไ ้ าได้และเชือ่ มต่อไปยังเครือ่ งสังเคราะห์เสียง จะสามารถ
ทาให้ผอู้ น่ื เข้าใจสิง่ ทีเ่ ขาต้องการสือ่ สาร โดยการแตะลงบนผ้าทีม่ คี วามไวต่อการสัมผัสเท่านัน้
วัสดุน้ีทาด้วยผ้าธรรมดาและเคลือบรูพรุนด้วยเส้นใยทีม่ คี าร์บอนสอดไส้อยู่ จึงสามารถนาไ ้ าได้ เมือ่ มีแรงกด
ลงบนผ้า สัญญาณแบบต่างๆ จะถูกส่งไปตามเส้นใยและไปแปลงสัญญาณ ชิพคอมพิวเตอร์จะอ่านได้ว่าส่วน
ใดของผ้าถูกแตะแล้วก็จะไปทาให้เครือ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์ทต่ี ดิ ตัง้ อยูท่ างาน เครือ่ งมือดังกล่าวมีขนาดไม่เกิน
กว่ากล่องไม้ขดี 2 กล่องเท่านัน้
“ส่วนทีฉ่ ลาด ก็คอื วิธกี ารทอและการส่งสัญญาณผ่านทางเส้นใย เราสามารถทอเส้นใยนี้ให้กลมกลืนเข้าไปใน
ลายผ้าซึง่ ทาให้เราไม่สามารถมองเห็นมัน” นักวิทยาศาสตร์ทา่ นหนึ่งกล่าว
ผ้านี้สามารถซัก บิด หรือหุม้ ห่อสิง่ ต่างๆ โดยไม่เกิดความเสียหาย และนักวิทยาศาสตร์ยงั กล่าวด้วยว่าผ้านี้
91
สามารถผลิตเป็ นจานวนมากได้ในราคาถูก
ตัวอย่ำงข้อสอบ: กำรระบุประเด็น
ทำงวิทยำศำสตร์ (ต่อ)
เสื้อผ้ำ
คำถำม:
คากล่าวอ้างดังต่อไปนี้ สามารถทดสอบในห้องปฏิบตั กิ ารได้หรือไม่
จงเขียนวงกลมล้อมรอบคาว่า “ได้” หรือ “ไม่ได้” ในแต่ละข้อ
ผ้ำ สำมำรถ
สำมำรถทดสอบในห้อง
ปฏิบตั ิ กำรวิทยำศำสตร์
ซักได้โดยไม่เกิดความเสียหาย
ได้ / ไม่ได้
ห่อหุม้ สิง่ ต่างๆ ได้โดยไม่เกิดความเสียหาย
ได้ / ไม่ได้
บิดได้โดยไม่เกิดความเสียหาย
ได้ / ไม่ได้
ผลิตเป็ นจานวนมากได้ในราคาถูก
ได้ / ไม่ได้
92
ตัวอย่ำงข้อสอบ: กำรใช้ประจักษ์พยำน
วิวฒ
ั นำกำร
ทำงวิทยำศำสตร์
ปจั จุบนั ม้าส่วนใหญ่จะดูเพรียวลมและสามารถวิง่ ได้เร็ว
นักวิทยาศาสตร์ได้พบ อสซิลโครงกระดูกของสัตว์ทม่ี รี ปู ร่างคล้ายกับม้า พวก
เขาคิดว่า อสซิลเหล่านัน้ เป็ นบรรพบุรุษของม้าในปจั จุบนั นักวิทยาศาสตร์ยงั
สามารถตรวจสอบช่วงเวลาที่ อสซิลเหล่านัน้ มีชวี ติ อยูไ่ ด้ดว้ ย
ตารางข้างล่างนี้ แสดงข้อสนเทศของ อสซิลสามชนิดและม้าในยุคปจั จุบนั
ชือ่
ไฮราโคเธเรียม
เมโซฮิปปุส
เมอรีฮ่ ปิ ปุส
อีควุส
(ม้าในปจั จุบนั )
55 ถึง 50 ล้าน
ปีก่อน
39 ถึง 31 ล้านปี
ก่อน
19 ถึง 11 ล้านปี
ก่อน
2 ล้านปีก่อนถึง
ปจั จุบนั
รูปร่าง
ภายนอก
(มาตราส่วนเดียวกัน)
ช่วงเวลาทีม่ ชี วี ติ
โครงกระดูก ของขา
(มาตราส่วนเดียวกัน)
93
ตัวอย่ำงข้อสอบ: กำรใช้ประจักษ์พยำนทำงวิทยำศำสตร์
วิวฒ
ั นำกำร
(ต่อ)
คำถำม:
ข้อสนเทศใดในตำรำงทีแ่ สดงว่า ม้าในยุคปจั จุบนั มีววิ ฒ
ั นาการมาจากซาก อสซิลทัง้ สามชนิด
ในตาราง จงอธิบาย
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
94
ตัวอย่ำงข้อสอบ: ระบบเทคโนโลยี
กำรผลิตพลังงำนจำกลม
คนจานวนมากเชือ่ ว่าลมสามารถเป็ นแหล่งของพลังงานทดแทนน้ ามันและถ่านหินซึง่ เป็ นแหล่งผลิต
กระแสไ ้ าในรูปกังหันลมทีใ่ ช้ลมหมุนใบพัด การหมุนนี้ทาให้พลังงานไ ้ าเกิดขึน้ โดยเครือ่ ง
กาเนิดไ ้ าทีถ่ กู หมุนด้วยกังหันลม
คำถำม:
กรา ข้างล่างนี้ แสดงความเร็วลมเฉลีย่ ตลอดปีในสีบ่ ริเวณต่างกัน กรา รูปใดชีบ้ อกบริเวณที่
เหมาะสมในการตัง้ เครือ่ งผลิตกระแสไ ้ าจากพลังลม
1.
ความเร็
วลม
0
ม.ค.
ความเร็ว
ลม
2.
ธ.
ค.
0
ม.ค
.
ความเร็วลม
3.
ธ.
ค.
0
ม.ค
.
ความเร็วลม
4.
ธ.ค
.
0
ม.ค.
95
ธ.ค.
ตัวอย่ำงข้อสอบ: กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์
ลิปมัน
ตารางข้างล่างนี้ แสดงส่วนผสมทีแ่ ตกต่างกันสองสูตร ของเครือ่ งสาอางทีน่ กั เรียนสามารถทาเองได้
ลิปสติกจะแข็งกว่าลิปมันซึง่ อ่อนและเป็ นมันกว่า
ลิ ปมัน
ส่วนผสม :
น้ามันละหุง่
5 กรัม
ไขผึง้
0.2 กรัม
ไขมันปาล์ม
0.2 กรัม
สีผสมอาหาร
1 ช้อนชา
สารแต่งรสชาติ
1 หยด
วิ ธีทำ :
อุ่นน้ามันและไขในภาชนะทีแ่ ช่อยูใ่ นน้าร้อน จนผสมเข้ากันดี จึง
เติมสีผสมอาหารและสารแต่งรสชาติ แล้วคนให้เข้ากัน
ลิ ปสติ ก
ส่วนผสม :
น้ามันละหุง่
5 กรัม
ไขผึง้
1 กรัม
ไขมันปาล์ม
1 กรัม
สีผสมอาหาร
1 ช้อนชา
สารแต่งรสชาติ
1 หยด
วิ ธีทำ :
อุ่นน้ามันและไขในภาชนะทีแ่ ช่อยูใ่ นน้าร้อน จนผสมเข้ากันดี จึง
เติมสีผสมอาหารและสารแต่งรสชาติ แล้วคนให้เข้ากัน
คำถำม:
ในการทาลิปมันและลิปสติก น้ ามันและไขถูกผสมเข้าด้วยกัน แล้วเติมสีผสมอาหารและสารแต่งรสชาติลปิ สติกทีท่ าจาก
ส่วนผสมนี้จะแข็งและใช้ยาก
กั ยี จะ ปลีย่ สัดส่ ข ส่ ผส ย่า ไ พ ่ ทาใ ล้ ปิ สติก ่ ล ก า่ ดิ
96
………………………………………………………………………………………………………………………
ตัวอย่ำงข้อสอบ: กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์
กันแดด
มีนาและดนัย สงสัยว่าผลิตภัณ ก์ นั แดดชนิดใดจะปกป้องผิวของพวกเขาได้ดที ส่ี ดุ ผลิตภัณ ก์ นั แดดมีคา่ กา ปกป้ ส ดด
(SPF) ทีแ่ สดงว่าผลิตภัณ แ์ ต่ละชนิดดูดกลืนรังสีอลั ตราไวโอเลตซึง่ เป็ นส่วนประกอบของแสงแดดได้ดเี พียงใด
ผลิตภัณ ท์ ม่ี คี า่ SPF สูงจะปกป้องผิวได้นานกว่าผลิตภัณ ท์ ม่ี คี า่ SPF ต่า
มีนาคิดหาวิธเี ปรียบเทียบผลิตภัณ ก์ นั แดดชนิดต่างๆ เธอและดนัยจึงได้รวบรวมสิง่ ต่อไปนี้
แผ่นพลาสติกใสทีไ่ ม่ดดู กลืนแสงแดดสองแผ่น
กระดาษไวแสงหนึ่งแผ่น
น้ ามันแร่ (M) และครีมทีม่ สี ว่ นประกอบของซิงค์ออกไซด์ (ZnO) และสารกันแดดสีช่ นิด ใช้ชอ่ื S1 S2 S3 และ S4
มีนาและดนัยใช้น้ามันแร่เพราะว่ามันยอมให้แสงแดดส่วนใหญ่ผา่ นไปได้ และใช้ซงิ ค์ออกไซด์เพราะกันแสงแดดได้เกือบสมบูรณ์
ดนัยหยดสารชนิดละหนึ่งหยดลงภายในวงกลมทีเ่ ขียนไว้บนแผ่นพลาสติกแผ่นหนึ่ง แล้วใช้แผ่นพลาสติกแผ่นทีส่ องวางทับด้านบน
ใช้หนังสือเล่มใหญ่ๆ กดทับบนแผ่นพลาสติกทัง้ สอง
จากนัน้ มีนาวางแผ่นพลาสติกทัง้ สองบนกระดาษไวแสง กระดาษไวแสงมีสมบัตเิ ปลีย่ นสีจากเทาเข้มเป็ นสีขาว (หรือสีเทา97
อ่อนมากๆ) ขึน้ อยูก่ บั ว่ามันจะถูกแสงแดดนานเท่าใด สุดท้ายดนัยนาแผ่นทีซ่ อ้ นกันทุกแผ่นไปไว้ในบริเวณทีถ่ ูกแสงแดด
ตัวอย่ำงข้อสอบ: กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์
กันแดด
คำถำม:
กระดำษไวแสงทีม
่ ีสีเทำเข้ม จะจำงลงเป็ นสีเทำอ่อนเมือ่ ถูกแสงแดดเล็กน้อย และเป็ นสีขำวเมือ
่ ถูก
แสงแดดมำกๆ
้ ได้จำกกำรทดลอง จงอธิบำยด้วยว่ำทำไมนักเรียนจึงเลือกข้อนัน
แผนผังใดทีแ
่ สดงแบบรูปทีอ่ ำจเกิดขึน
้
คาตอบ: ……………..
คาอธิบาย:………………………………………………………………………………………
………………………………….........................................................................................
98
ข้อสอบตำมลักษณะกำรตอบ
1
เลือกตอบ
2
เลือกตอบแบบเชิง ้อน
3
เขียนตอบแบบสัน้ /ปิด
4
เขียนตอบแบบอิสระ
99
ลักษณะกำรประเมินของ PISA
1
ไม่ถำมเนื้ อหำสำระโดยตรงตำมหลักสูตร
2
เน้ นวัดสมรรถนะด้ำนต่ำงๆ
3
4
เน้ นกำรคิดวิเครำะห์และหำคำอธิบำย
เป็ นข้อสอบทัง้ แบบเขียนตอบและเลือกตอบ
100
สรุ ปบทเรียนเมื่อวานนี ้
• ในรายวิชาที่ท่านสอนอยูน่ นเน้
ั ้ นการคิดของผู้เรี ยนด้ านใดบ้ าง และภาระ
งานที่มอบหมายให้ นกั เรี ยนทาเน้ นทักษะกระบวนการใด
• ท่านได้ สอนให้ ผ้ เู รี ยนคิดวิเคราะห์หรื อไม่ อย่างไร
• หลังจากที่ท่านได้ สอนผู้เรี ยนให้ คิดวิเคราะห์แล้ ว ท่านมีวิธีการวัดการคิด
ของผู้เรี ยนอย่างไร ใช้ เครื่ องมือเป็ นอะไรบ้ าง
• หลังจากที่ท่านได้ ดคู ลิปวิดีโอ “การพัฒนาทักษะการคิดขันสู
้ ง” แล้ วท่าน
รู้สกึ อย่างไร เกิดความคิดใหม่ๆในเรื่ องใด
• ท่านคิดว่าการจะวัดความคิดขันสู
้ ง (Higher Order Thinking) ของ
ผู้เรี ยนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และถูกต้ องนันควรมี
้
วิธีการอย่างไร
101
ความสามารถด้ านการคิด “Thinking Skills”
เป็ นเรื่องสาคัญของผู้เรียนที่ต้องได้ รับการพัฒนาให้ เต็ม
ศักยภาพของพวกเขา พร้ อมทัง้ ควรมีวธิ ีการวัดและ
ประเมินที่ถูกต้ องและเหมาะสม
102
กำรวิเครำะห์หลักสูตรกิจกรรมสำคัญที่
ครูตอ
้ งทำก่อนเขียนข้อสอบ
103
พฤติกรรม
กำรเรียนรู้
คำบ่งกำรกระทำ
(ตัวชี้วด
ั )
ความรู้ /
ความจา
บอก
ชีบ
้ ง่
บรรยาย
ให้
รายการ
จับคู่
บอกหัวขอ
แยก
้
ประเภท
ให้นิยาม
ค ว า ม
เขาใจ
้
แปล
เปลีย
่ นรูป
บอกความแตกตาง
่
ความคลายคลึ
ง
้
ขยายความ
จัด
เรื่องที่กระทำ
ชือ
่
วัน
เวลา
เหตุการณ ์
บุคคล
สถานที่
ขอเท็
จจริง
้
เรือ
่ งราว
อักษรยอ
่
ระเบียบ
แบบแผน
แนวโน้ม
ประเภท
เกณฑ ์
วิธก
ี าร
หลักการ
ทฤษฎี
ความสั มพันธ ์
อิทธิพล
ฯลฯ
ความหมาย
เหตุการณ ์
เรือ
่ งราว
สั ญลักษณ ์
นิยาม
คาพูด
104
ความสั มพันธ ์
ความ
ก
า
ร
นาไปใช้
ก
า
ร
วิเคราะห ์
การประเมิน
คา่
ก
า
ร
ใช้
คานวณ
สาธิต
สร้าง
เตรียม
เสนอ
แกปั
บอก
้ ญหา
ฯลฯ
บอก
จาแนก
ค้นหา
เปรียบเทียบ
ใช้
เหตุผล
บอก
ความแตกตางหรื
อ
่
คลายคลึ
ง
จัด
้
ประเภท
ประเมิน
ตัดสิ น
โตแย
เปรียบเทียบ
้ ง้
เกณฑ ์
วิพากษวิ
์ จารณ ์
บอก
เขียน
สร้าง
กฎ
ผล
วิธก
ี าร
โจทย ์
ทฤษฎี
ฯลฯ
ความสาคัญ
ตนตอ
้
สาเหตุ
ความสั มพันธ ์
(สนับสนุ น
ขัดแยง)
้
ความถูกตอง
ความเชือ
่
้
เถือได้
คุณคาความ
่
ผิดพลาด
เรือ
่ งราว
เหตุผล
ประสิ ทธิภาพ
105
ความสั มพันธ ์
แผนงาน
จา
ถามเนื้อหา
ต้องจาใน
หนังสื อมา
ตอบ
ข้อสอบ
วิ
ประ
สร้าง
ใจ
ใช้
วิเคราะห ์
ประเมิน
สร้างสิ่ งใหม่
ถามความ
นาไปใช้
ความสาคัญ คุณคา่ ดี
เช่น
เข้าใจ
แก้ไข
ไมดี
ข้อความ
โดยให้แปล ปัญหา ได้ ความสั มพันธ ์
่
หลักการ
เหมาะสม
แผนงานทีด
่ ี
ความ ตีความ
เจอ
ไมเหมาะสม
ทีส
่ ุด
ขยายความ สถานการณ ์
่
106
โดยใช้เกณฑ ์ ความสั มพันธ ์
ใหม่
ระดับพฤติกรรมการเรียนรู้
ความจา ถามเนื้อหา วิธก
ี าร หลักการ (เน้นใน
ตารา)
ความเขาใจ
ถามความเขาใจ
โดยให้แปล
้
้
ความ ตีความ ขยายความ
ญหา มักเป็ น
การนาไปใช้
ถามการแกไขปั
้
สถานการณแปลกใหม
์
่
นักเรียนไม
เคยเจอมาก
อน
่
่ ความสั มพันธ ์
การวิเคราะห
ถามความส
าคั
ญ
์
หลักการ
การประเมิน
ถามให้ประเมินคุณคา่ ดี ไม่
ดี เหมาะสม ไม่
เหมาะสม
สร้างสรรค ์ ถามเพือ
่ ให้คิดสรางข
อความ
แผนงาน
้
้
107
ทีด
่ ท
ี ส
ี่ ุด
108
109
สรุป 7 ขัน
้ ตอน กำรวิเครำะห์หลักสูตร
ขัน
้ ที่ 1
ขัน
้ ที่ 2
ขัน
้ ที่ 3
ขัน
้ ที่ 4
ขัน
้ ที่ 5
ขัน
้ ที่ 6
ขัน
้ ที่ 7
แตกประเด็น - วิเครำะห์ตวั ชี้วดั แต่ละตัว (ตำม 6 ขัน
้ ของบลูม)
รวมประเด็น - จัดกลุม
่ ระดับพฤติกรรม
เจำะประเด็น - อธิบำยควำมสำมำรถของผูเ้ รียนในแต่ละระดับพฤติกรรม
คัดเลือกเนื้อหำทีอ่ อกข้อสอบ
กำหนดน้ำหนักควำมสำคัญของระดับพฤติกรรมและเนื้อหำ (ข้อตกลง/ผูเ้ ชีย่ วชำญ)
สร้ำงตำรำง 2 ทำง แนวตัง้ (ระดับพฤติกรรม) แนวนอน (เนื้อหำ)
วิเครำะห์น้ำหนักควำมสำคัญ
110
ตัวอย่ำงตำรำงวิเครำะห์หลักสูตร
(Table of Specification)
พฤติกรรม
ควำมจำ
ควำม
เข้ำใจ
กำร
นำไปใช้
รวม
อันดับ
สำคัญ
1. ธรรมชำติของกำรวัดผล
5%
5%
0%
10%
4
2. ชนิดของกำรวัดผล
5%
5%
0%
10 %
4
3. กำรสร้ำงแบบทดสอบ
10 %
15 %
20 %
45 %
1
4. กำรหำคุณภำพข้อสอบ
4%
0%
16 %
20 %
2
5. กำรสร้ำงธนำคำรข้อสอบ
6%
0%
9%
15 %
3
รวม
30 %
25 %
45 %
100%
อันดับควำมสำคัญ
2
3
1
เนื้อหำ
111
สถำนกำรณ์ /ต้นเรือ
่ ง
• เหตุการณ์จริงหรือสถานการณ์จาลองทีใ่ กล้เคียงความจริง
ความรูต้ ่างๆ ทีม่ ผี อู้ ่นื รวบรวมไว้แล้ว
• ปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในปจั จุบนั หรือประเด็นทีส่ งั คม
ให้ความสนใจ
• สถานการณ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับบทเรียน สาระการเรียนรู้
ในหลักสูตร
• เรือ่ งสมมติทส่ี ามารถนามาวิเคราะห์ แก้ปญั หา
ให้ความคิดเห็น หรือแสดงความรูส้ กึ
กำรแจ้งเตือนกำรแพ้ถวลิ
ั ่ สง
ขนมปังกรอบไส้ครีมมะนำว
วันที่แจ้งเตือน : 4 กุมภาพันธ์
ชื่อผูผ้ ลิ ต: บริษทั ไ น์ ้ ูดส์ จากัด
ข้อมูลผลิ ตภัณฑ์: ขนมปงั กรอบไส้ครีมมะนาว 125
กรัม (ควรบริโภคก่อน 18 มิถุนายน และ ควร
บริโภคก่อน 1 กรกฎาคม)
รำยละเอียด: ขนมปงั กรอบบางอย่างในรุน่ การผลิต
เหล่านี้ อาจมีชน้ิ ส่วนของถัวลิ
่ สงผสมอยู่ แต่ไม่แจ้ง
ไว้ในรายการส่วนผสม คนทีแ่ พ้ถวไม่
ั ่ ควรรับประทาน
ขนมปงั กรอบนี้
กำรปฏิ บตั ิ ของผูบ้ ริ โภค : ถ้าท่านซือ้ ขนมปงั กรอบ
นี้ไป ท่านสามารถนามาคืน ณ ทีท่ ท่ี า่ นซือ้ เพือ่ รับ
เงินคืนได้เต็มจานวน หรือโทรสอบถาม ข้อมูล
เพิม่ เติมได้ท่ี 1800 034 241
112
คำถำม
• สอดคล้องกับมำตรฐำนกำรเรียนรู้และสถำนกำรณ์ที่กำหนด
• สื่อสำรได้ชดั เจนและใช้ภำษำที่เหมำะสมกับระดับของผูเ้ รียน
• ส่งเสริมให้ผเ้ ู รียนคิดวิเครำะห์ วิจำรณ์ อภิปรำย แก้ปัญหำ
ตัดสินใจ ประเมินค่ำ และสร้ำงคำตอบได้อย่ำงสมเหตุผล
• เนื้ อหำของคำถำมมีควำมยุติธรรมสำหรับผูเ้ รียนทุกคน
113
หลักกำรเขียน
ข้อคำถำมชนิดเลือกตอบ
(Multiple choice item)
ประกอบกำรบรรยำยกิจกรรมใบงำนที่ 3
114
ท่ำนเห็นข้อสอบ
ต่อไปนี้แล้วคิด
อย่ำงไร
115
116
117
118
119
120
121
ควรใช้ประโยคคำถำม
นักเรียนทีด
่ ม
ี ีหน้ำที่
ก. เชือ
่ ฟังครู
ข. ช่วยพ่อแม่
ค. เคำรพผูใ้ หญ่
ง. ตัง้ ใจเล่ำเรียน
นักเรียนทีด
่ ค
ี วรมีหน้ำทีอ่ ย่ำงไร
122
เน้นจุดทีจ่ ะถำมให้ชดั เจน
อำหำรชนิดใดต่ำงจำกชนิดอืน
่
ก. ไข่
ข. นม
ค. ข้ำว
ง. ปลำ
อำหำรชนิดใดให้คณ
ุ ค่ำต่ำงจำกชนิดอืน
่
123
ถำมในสิง่ ทีด
่ ีหรือเป็ นประโยชน์
กำรเป็ นหวัดดีอย่ำงไร
ก. ได้ชะล้ำงจมูก
ข. ไม่ตอ
้ งอำบน้ำ
ค. ไม่ได้กลิน
่ เหม็น
ง. ไม่มีใครรบกวน
ไม่ดี เพรำะถำมสิง่ ทีไ่ ม่ดี ใน
แง่ดี และไม่เป็ นตำมหลักวิชำ
กำรเป็ นหวัด แสดงว่ำ
ร่ำงกำยอยูใ่ นสภำพใด
ก. แข็งแรง ข. อ่อนแอ
ค. ปกติ
ง. พิกำร
124
ถำมในสิง่ ทีด
่ ีหรือเป็ นประโยชน์
ควำมเสียสละ มักให้
ผลเสียในด้ำนใด
ก. เวลำ
ข. แรงงำน
ค. ควำมคิด
ง. ทรัพย์สน
ิ
ไม่ดี เพรำะถำมในสิง่ ทีข
่ ดั แย้ง
กับกำรยอมรับของสังคม
กำรเสียสละ ก่อให้เกิด
ผลดีในด้ำนใดแก่สงั คม
ก. ควำมอยูร่ อด
ข. ควำมเห็นใจกัน
ค. ควำมสำมัคคี
125
ถำมสิง่ ทีส
่ ำมำรถหำข้อยุตไิ ด้ตำมหลักวิชำกำร
ถ้ำโลกนี้ไม่มน
ี ้ำมัน
จะเป็ นอย่ำงไร
ก. กำรพัฒนำจะหยุด
ข. ต้องใช้แรงงำนสัตว์
ค. มนุษย์ขำดกำรติดต่อ
ง. เข้ำสูย่ ค
ุ โบรำณ
ไม่ดี เพรำะเป็ นกำรถำมเงือ
่ นไข
หรือสภำวะทีอ่ ธิบำยได้ยำก ไม่มี
หลักวิชำยืนยันได้แน่ นอน
กำรขำดแคลนน้ำมันจะกระทบ
ต่อกิจกำรใดมำกทีส่ ด
ุ
ก. กำรเกษตร
ข. กำรคมนำคม
ค. อุตสำหกรรม
ง. ธุรกิจขนำดย่อม
126
ถามให้ ใช้ ความคิด ไม่ ควรถามเฉพาะความจาที่ไม่ ใช่
สาระสาคัญที่ควรจดจา ควรถามให้ นาความจาไปใช้
ข้อใดเป็ นแม่สี
ก. ขาว - แดง
ข. เขียว - แดง
ค. น้ าเงิน - แดง
ง. น้ าเงิน - เหลือง
ไม่ดี เพราะเป็ นการวัดความจา
พื้นฐาน ซึ่ งไม่น่าจะเป็ นหลักสาคัญ
ควรสนใจในการใช้สีมากกว่า
เมื่อวาดรู ปพุม่ ไม้ ควร
ระบายด้วยสี คู่ใด
127
ถามให้ ใช้ ความคิด ไม่ ควรถามเฉพาะความจาที่ไม่ ใช่
สาระสาคัญที่ควรจดจา ควรถามให้ นาความจาไปใช้
ถ้าดวงอาทิตย์มีขนาดเท่าฟุตบอล
โลกควรจะมีขนาดเท่าสิ่ งใด
ก. มะนาว
ข. เม็ดถัว่ เขียว
ไม่ดี เพราะเป็ นการถามความจาที่
เป็ นรายละเอียดมากเกินไป ทั้งยังใช้ ค. บาสเก็ตบอล
หน่วยที่ไม่ได้ใช้ในชีวติ ประจาวัน
อีกด้วย
โลกห่างจาก
พระอาทิตย์กี่ไมล์
128
อย่ าใช้ ภาษาฟ่ ุมเฟื อย
การรับประทานส้ ม
เป็ นประจา จะทาให้
ร่ างกายได้ รับวิตามิน
ชนิดใด
ไม่ ดี เพราะบางข้ อความไม่
จาเป็ นต้ องกล่ าวถึง ทาให้ จุด
ที่ต้องการถามมีน้าหนักเบา
หรือไม่ ถูกเน้ นเท่ าทีค่ วร
ส้ มให้ วติ ามินชนิดใด
129
ใช้ ภาษาให้ เหมาะสมกับผ้ ูเรียน
อาหารชนิดใดที่คนผอมควร
บริ โภค
สุ กร 20 ตัวมีปริ มาณ
ขากี่ขา
ไม่ดี เพราะถ้าไม่ได้มุ่งวัดการ
แปลคาศัพท์แล้ว ต้องมัน่ ใจว่า
ผูเ้ รี ยนเข้าใจความหมายของคา
อาหารชนิดใดที่คนผอม
ควรรับประทาน
หมู 20 ตัวมีกี่ขา
130
หลีกเลีย่ งคาถามปฏิเสธ
ถ้าต้นไม้ไม่ได้รับแสงแดด
ใบจะไม่มีลกั ษณะอย่างไร
ต้นไม้ที่ได้รับแสงแดด
ใบจะมีลกั ษณะอย่างไร
ไม่ดี เพราะวกวน เข้าใจยาก
เป็ นคาถามที่วดั ความสามารถ
ด้านภาษามากเกินไป
ถ้าต้นไม้ไม่ได้รับแสงแดด
ใบจะมีลกั ษณะอย่างไร
131
ควรใช้ คาถามทีย่ วั่ ยุหรือชวนให้ คดิ ได้ แก่ คาถามที่
ถามเรื่องใกล้ ตวั พาดพิงกับชีวติ ประจาวันของผู้เรียน
นอกจากนั้นการใช้ รูปภาพในการถามจะช่ วยเร้ าความ
สนใจได้ เป็ นอย่ างดี
1/3 มีค่าเท่ ากับ
เศษส่ วนในข้ อใด
ส่ วนแรเงาในภาพมีค่า
เท่ าใด
132
ตัวเลือกต้ องมีความเป็ นเอกพันธ์ เป็ นเรื่ องราว
เดียวกัน เป็ นพวกเดียวกัน หรือประเภทเดียวกัน
ขนมจีนชนิดใดมีรสหวาน
ก. นา้ ยา
ข. นา้ เงีย้ ว
ค. นา้ ขลุกขลิก
ง. นา้ พริก
ก. นา้ ยา
ข. นา้ เงีย้ ว
ค. แกงเขียวหวาน
ง. นา้ พริก
133
ตัวเลือกต้ องมีความเป็ นเอกพันธ์
มีทิศทางเดียวกัน (ถ้ าคาถามในทางบวก ตัวเลือกทุก
ตัวก็จะต้ องเป็ นในทางบวก)
ตัวเลือกข้ อ ก. กับ ข้ อ ข. ค. มี
อุตสาหกรรมทาให้ เกิด
ทิศทางสวนกลับกัน
ผลเสี ยในเรื่องใด
ก. ค่ าของเงินตกต่า
ก. เงินหมุนเวียนมาก
ข. สิ นค้ ามีมากเกินจาเป็ น
ข. สิ นค้ ามีมากเกินจาเป็ น
ค. สิ่ งแวดล้ อมเป็ นพิษ
ค. สิ่ งแวดล้ อมเป็ นพิษ
134
ตัวเลือกต้ องมีความเป็ นเอกพันธ์
มีโครงสร้ างสอดคล้ องกัน (ถ้ าเป็ นคาหรือวลี ก็ต้องเป็ น
ทุกตัว ถ้ าเป็ นประโยคก็ควรเป็ นประโยคทุกตัว)
คาว่ า “คว้ านา้ เหลว” หมายถึง
ตัวเลือกข้ อ ค. เป็ นประโยค
อะไร
ข้ อ ก. ข. เป็ นวลี
ก. ไม่ สาเร็จ
ก. ไม่ สาเร็จ
ข. หลงผิด
ข. หลงผิด
ค. คนทีท่ าสิ่ งทีย่ ากเกินไป
ค. ยากเกินไป
135
หลีกเลีย่ งตัวเลือกแบบปลายปิ ดปลายเปิ ด
(ไม่ มขี ้ อถูก - ผิดทุกข้ อ - ถูกทุกข้ อ - ถูกข้ อ ก. กับ ข.)
โลกมีลกั ษณะเช่ นใด
ก. กลม
ข. แบน
ค. รี
ง. ผิดทุกข้ อ
โลกมีลกั ษณะเช่ นใด
ก. กลมเหมือนฟุตบอล
ข. กลมเหมือนผลส้ ม
ค. แบนเหมือนกระดาน
ง. แบนเหมือนจานข้ าว
136
ใช้ ตัวเลือกที่เป็ นไปได้
(ไม่ มีตัวลวงที่ผดิ อย่ างชัดเจน)
สั ตว์ ชนิดใดเป็ นพาหะของโรค
อหิวาตกโรค
ก. แมลงวัน
ข. โคกระบือ
ค. ยุงก้ นป่ อง
ก. แมลงวัน
ข. แมลงหวี่
ค. ยุงก้ นป่ อง
137
เขียนตัวเลือกให้ อสิ ระขาดจากกัน (อย่ าให้ ตัวเลือกใดเป็ น
ส่ วนหนึ่งหรือส่ วนประกอบของตัวอืน่ )
คนไทยส่ วนใหญ่ มีอาชีพอะไร
ก. การทาไร่
ข. การเกษตร
ค. การค้ าขาย
ก. รับราชการ
ข. การเกษตร
ค. การค้ าขาย
138
ใช้ ภาษาให้ รัดกุมชัดเจน ไม่ ควรใช้ ถ้อยคาสานวนที่ยดื ยาว
หรือใช้ ข้อความซ้าๆ กันในแต่ ละตัวเลือก
กรุงศรีอยุธยาแตกครั้งทีส่ อง
กรุงศรีอยุธยาแตกครั้งทีส่ อง
เนื่องจากสาเหตุใด
เพราะคนไทยขาดสิ่ งใด
ก. เพราะคนไทยขาดผู้นา
ก. ผู้นาทีเ่ ข้ มแข็ง
ข. เพราะคนไทยขาดขวัญ
ข. ขวัญและกาลังใจ
ค. เพราะคนไทยขาด
ค. ความสามัคคี
ความสามัคคี
139
ควรเรียงลาดับตัวเลือกที่เป็ นตัวเลข
กรุงเทพฯ สร้ างเสร็จปี ใด
ก. พ.ศ. 2310
ข. พ.ศ. 2113
ค. พ.ศ. 2315
ก. พ.ศ. 2113
ข. พ.ศ. 2310
ค. พ.ศ. 2315
140
ควรใช้ ตวั เลือกทีผ่ ู้เรียนรู้ จกั และเข้ าใจ
คนผอมควรเลือกรับประทาน
อาหารชนิดใดต่ อไปนี้
ก. ข้ าวซอย
ข. ข้ าวยา
ค. ข้ าวขาหมู
ง. นา้ พริกผักต้ ม
ไม่ ดี เพราะข้ อ ก. และ ข. เป็ น
อาหารพืน้ เมือง ซึ่งผู้เรียนอาจ
ไม่ ร้ ู จัก
ก. ผัดผักนา้ มันหอย
ข. โจ๊ ก
141
หลีกเลีย่ งการแนะคาตอบอย่ าให้ คาถามข้ อแรกๆ
แนะคาตอบข้ อหลังๆ
เช่ น ข้ อแรกๆ ถามว่ า สี เขียวในใบพืชเรียกอะไร
ข้ อหลังๆ ถามว่ า พืชสี เขียวซึ่งมีคลอโรฟิ ลล์ จะปรุง
อาหารได้ ต้องอาศัยสิ่ งใด
142
หลีกเลีย่ งการแนะคาตอบอย่ าให้ ตวั ถูกมีคาซ้ากับคาถาม
เราได้ นา้ ตาลมาจากต้ นอะไร
ก. ต้ นตาล
ข. ต้ นมะม่ วง
ค. ต้ นปาล์ ม
ก. ต้ นอ้ อย
ข. ต้ นมะม่ วง
ค. ต้ นปาล์ ม
143
หลีกเลีย่ งการแนะคาตอบอย่ าใช้ คาขยายไม่ เหมาะสม
หลังรับประทานอาหารไม่ ควรทาสิ่ งใด
ก. นั่งเล่ น
ก. นั่งเล่ น
ข. นอนเล่ น
ข. นอนทันที
ค. ดูโทรทัศน์
ค. ดูโทรทัศน์
144
หลีกเลีย่ งการแนะคาตอบอย่ าถามเรื่องที่ผู้เรียนคล่ องปากหรือ
เคยชินเกินไป
ใจคนเลีย้ วลดเหมือนสิ่ งใด
ก. เถาวัลย์
ข. ถนน
ค. แม่ นา้
ข้ อนี้ ข้ อ ก. เป็ นการเปรียบเปรย
อย่ างแพร่ หลาย ถือว่ าเป็ นเรื่ องที่
คล่ องปาก จึงไม่ ควรถามควรถาม
เกีย่ วกับสานวน สุ ภาษิตไทย ดีกว่ า
145
หลีกเลีย่ งการแนะคาตอบอย่ าให้ ตัวเลือกที่ส้ั นยาว
ต่ างกันมาก
เด็กทีฟ่ ันกาลังขึน้ ควรบารุงด้ วย
อาหารประเภทใด
ก. โปรตีน
ข. อาหารทะเล
ค. อาหารประเภททีม่ ี
แคลเซียมมาก
เด็กทีฟ่ ันกาลังขึน้ ควร
รับประทานอาหารที่มี
แร่ ธาตุชนิดใด
ก. เหล็ก
ข. วิตามิน
ค. แคลเซียม
146
ในกรณีที่ตัวเลือกใช้ คาเฉพาะหรือมีความรัดกุม แจ่ มชัดดีแล้ ว
ไม่ สามารถปรับแก้ ให้ แต่ ละตัวมีความยากพอ ๆ กันได้ ให้ ใช้ วธิ ี
เรียงตัวเลือกจากตัวที่ส้ั นไปหาตัวที่ยาว เช่ น
ประเทศไทยกาลังพัฒนาอาชีพใด
ก. ทานา
ข. การค้ าขาย
ค. การอุตสาหกรรม
147
หลีกเลีย่ งการแนะคาตอบควรกระจายตาแหน่ งตัวถูก
ควรวางตาแหน่ งตัวถูกอย่ างสุ่ ม ไม่ เป็ นระบบที่แน่นอนตายตัว
กระจายให้ ตัวเลือกแต่ ละตัว มีจานวนครั้งที่เป็ นตัวถูกเท่ าๆ กัน
148
คุณสมบัตขิ องผู้เขียนข้ อสอบทีด่ ี
• รู้จักลักษณะของข้ อสอบทีด่ ี
• รู้จักวิธีเขียนคาถาม
• รู้จักชนิดของคาถาม
• รู้จักรูปแบบของคาถาม
• พยายามหัดเขียน หัดวิจารณ์
• วิเคราะห์ และปรับปรุง
149
แนวทางการวิพากษ์ ข้อสอบ
•
•
•
•
ดูความสอดคล้ องกับตัวชี ้วัด ในมาตรฐาน
ดูความสอดคล้ องกับระดับพฤติกรรม (6 ระดับ)
รูปแบบข้ อสอบ (น่าสนใจ แปลกใหม่ อย่างไร)
ความสอดคล้ องกับลักษณะของข้ อสอบที่ดี
– คาถาม
– ตัวเลือก
– ที่มาตัวลวง
150
ทดสอบเพื่อค้นและพัฒนา
สมรรถภาพมนุษย์
ชวำล แพรัตกุล
เพื่ออนาคตของเด็กไทย
ร่วมใจกันพัฒนาคุณภาพการศึกษา
151
เอกสำรอ้ำงอิง
ชวำล แพรัตกุล. (2520). เทคนิคกำรเขียนข้อสอบ. กรุงเทพมหำนคร โรง
พิมพ์ครุ ุสภำลำดพร้ำว
ปรีชำญ เดชศรี. (2554). การสร้างข้อสอบตามแนวการวัด
ในโครงการวิจยั นานาชาติ PISA. สืบค้นhttp://pisathailand.ipst.ac.th/
ล้วน สำยยศ และ อังคณำ สำยยศ. (2543). เทคนิคกำรวัดผลกำรเรียนรู.้
พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหำนคร : สุวีรยิ ำสำสน์ .
ศิรช
ิ ยั กำญจนวำสี. (2548). ทฤษฎีกำรทดสอบแบบดัง้ เดิม. พิมพ์ครัง้ ที่ 5.
กรุงเทพมหำนคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬำลงกรณ์ มหำวิทยำลัย.
สมพงษ์ พันธุรตั น์ . (2554). หลักกำรเขียนข้อคำถำมชนิดเลือกตอบ.
เอกสำรประกอบกำรสอน (Power Point)
Bloom, B. S., Engelhart, M. D., Furst, E. J., Hill, W. H.,
& Krathwohl, D. R.(1956). Taxonomy of educational
objectives: the classification of educational goals;
Handbook I: Cognitive Domain. New York, Longmans,
Green.
152