Physiology of Crop Production

Download Report

Transcript Physiology of Crop Production

Lecture 1 : Course Introduction
Physiology of Crop Production
1. Introduction
-Course description
2. Definition
-What is crop physiology
-Growth and development
3. Historical background
- From Plant Physiology to Crop Physiology
4. General concept
-Physiological processes from planting
to yield harvesting
วัตถุประสงค์ :
• เข้ าใจความหมาย และขอบเขต ของการศึกษา
สรีรวิทยาการผลิตพืช
• แนวคิดพืน้ ฐานของการศึกษาสาขาวิชานี้
Definitions :
สรีรวิทยา : วิชาที่ว่าด้ วยสมบัติและการ
กระทาหน้ าที่ ของอินทรีย์ หรื อ ส่ วนของ
ร่ างกายต่ างๆซึ่งเป็ นส่ วนของสิ่ งทีม่ ีรูปร่ างและมี
ชีวติ
Physiology : That branch of biology which has
to do with the processes going on in living things
and the working of their different parts, as
opposite to their structure
สรี รวิทยาการผลิตพืช (Crop Physiology)
• เป็ นวิชาที่ประยุกต์จากวิชาสรี รวิทยาพื้นฐานของพืช (Plant Physiology)
เพื่อนามาใช้ประโยชน์ในการผลิตพืชทางด้านการเกษตร
• นักสรี รวิทยาการผลิตพืช (crop physiologist) จะเน้นการศึกษาเกี่ยวกับ
ผลผลิตของพืชปลูกที่เป็ นผลเนื่องมาจากผลของกระบวนการ การ
เจริ ญเติบโต (growth) และพัฒนาการของพืช (development) ซึ่ งเกิดขึ้นจาก
ปั จจัยภายในพืชเองหรื อพันธุกรรมที่สัมพันธ์กบั ปั จจัยสภาพแวดล้อม
ภายนอก และเวลาศึกษาจึงศึกษาในแปลงของพืชปลูก (crop community)
ไม่ใช่ศึกษาเฉพาะต้นๆเดียวอย่างเช่นที่ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการสรี รวิทยา
ของพืชทัว่ ๆไป
นักสรี รวิทยา การผลิตพืช ใช้หลักการว่า
• ผลผลิตของพืชนั้นเกิดขึน้ จากการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการอย่ าง
เป็ นลาดับขัน้ ตอน ตั้งแต่ เมล็ดที่ปลูกลงไปจนถึงเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่ ง
ปั จจัยสภาพแวดล้ อมจะมีผลสาคัญกระบวนการทางสรี ระในแต่ ละ
ช่ วงของการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการเหล่ านั้น
•การศึกษาถึงปั จจัยที่มอี ิทธิ พลก่ อให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงทางด้ าน
สรี ระของพืชจะทาให้ เข้ าใจถึงวิธีการที่จะปรั บปรุ งสภาพแวดล้ อม
ต่ างๆให้ เกิดความเหมาะสมต่ อการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของพืช
และนาไปสู่ การให้ ผลผลิตที่ดีของพืช
การเจริญเติบโต (Growth) :
การเพิม่ จานวน หรื อ ขนาด ของ ซึ่งสามารถวัดได้ เกิดขึน้ ในสิ่ งมีชีวติ จากการ
แบ่ งเซลล์หรื อเพิม่ ขนาดของเซลล์ ในช่ วงเวลาที่เพิม่ ขึน้
การเจริญเติบโตทีเ่ พิม่ ขึน้ ตามเวลาจะมีลกั ษณะเป็ นรู ปตัว S (sigmoid curve)
การพัฒนาการ :
Development
Source: Sengbusch , 2001
กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับต้นพืช
จากเซลล์ไปเป็ น เนื้อเยือ่ ไปเป็ น อวัยวะส่ วน
ต่างๆ โดยผ่านกระบวนการ differentiation
เพื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่าง เช่น ใบ ลาต้น ราก
ดอก ผล ฯลฯ จึงเป็ นการเปลี่ยนแปลงเชิง
ปริ มาณที่สังเกตเห็นได้
Development : The progression through time of organogenetic
events, and ontogeny of each organ is based upon particular patterns
of cell and tissue differentiation
Differentiation :
ตัวอย่าง ของกระบวนการพัฒนาการของพืช จาก เซลล์
เป็ นเนื้อเยือ่ เป็ น อวัยวะ ( Source: Sengbusch , 2001)
ที่มาหรื อประวัติของวิชา
การค้นพบความรู ้พ้นื ฐานทางสรี รวิทยาของพืชมีมาเป็ นลาดับ ระหว่าง
ช่วง ค.ศ.ที่18-19 ในยุโรป เช่น การค้นพบพืชรับ CO2 และคาย
O2 Joseph Priestley ในปี ค.ศ. 1771 ซึ่ งนาไปสู่ การค้นพบ
กระบวนการสังเคราะห์แสงในเวลาต่อมา การค้นพบการดูดธาตุ
อาหารจากดินของพืชในระหว่างปี ค.ศ. 1800-1860 เป็ นต้น
แต่แนวคิดเชิงประยุกต์วิชาการทางสรี รวิทยาพื้นฐานมาใช้เพื่อพัฒนาการ
ผลิตพืชทางการเกษตรโดยเรี ยกวิทยาการใหม่น้ ี วา่ Crop Physiology
ได้แก่นกั วิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ คือ Balls (1915) โดยให้แนวคิดไว้วา่
เป็ นแนวทางการศึกษาการเจริ ญเติบของพืชปลูกโดยศึกษาอิทธิ พลของ
วิธีการจัดการ เช่ น จัดระยะปลูก วันปลูกที่เหมาะสม ตลอดช่ วงของการ
เจริ ญเติบโตที่มผี ลต่ อผลผลิต
สรุ ป
สรี รวิทยาการผลิตพืช เป็ นวิชาที่ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ถึง
อิทธิพลของปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีต่อผลผลิตของพืชปลูก
แต่ละชนิดแต่ละพันธุ์ตลอดระยะการเจริ ญเติบโต อธิบายผล
ที่เกิดขึ้นโดยอาศัยพื้นฐานวิชาการทางด้านสรี รวิทยาของพืช
เป็ นหลัก