การนำเสนอความคาดหวังในทศวรรษที่ 4 ตำบลจัดการสุขภพ

Download Report

Transcript การนำเสนอความคาดหวังในทศวรรษที่ 4 ตำบลจัดการสุขภพ

ความคาดหวังในทศวรรษที่ ๔
ในการดาเนินกิจกรรมตาบลจัดการสุขภาพ
อสม.เขาคิชฌกูฏ
สิ นธุ์ชยั อาจหาญ
นักวิชาการสาธารณสุ ขชานาญการ
กลุ่มงานเวชปฏิบตั ิครอบครัวและชุมชน
1
โรงพยาบาลเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี
ความคาดหวังในทศวรรษที่ ๔
๑. คาดหวังให้ เกิดชุมชนพึ่งตนเองได้ ทางสุขภาพ
๒. มีองค์ กรชุมชนที่เข้ มแข็ง มีความสามารถในการบริหารจัดการให้ เกิด
สุขภาวะในชุมชน
๓. ให้ มีแผนชุมชนเพื่อเป็ นเครื่ องมือในการทางานร่ วมกันของภาคีทุกฝ่ าย
ในการแก้ ปัญหาสุขภาพ
๔. มีนวัตกรรมใหม่ ๆในการทางานสาธารณสุขมูลฐาน โดยเฉพาะอย่ างยิ่ง
ในระดับชุมชนมีการจัดการความรู้ นวัตกรรมในระดับชุมชน
๕. เกิดทัศนคติและความเข้ าใจที่ถูกต้ องว่ าอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)
เป็ นของชุมชน ไม่ ใช่ ของกระทรวงสาธารณสุข รั ฐเป็ นผู้สนับสนุนให้
อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) และชาวบ้ านพึ่งตนเองได้
2
ความคาดหวังในทศวรรษที่ ๔ (ต่ อ)
๖. องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นแสดงบทบาทหลักในการบริหารจัดการ
สนับสนุนงานสาธารณสุขมูลฐาน
๗. อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) มีความเข้ มแข็ง คิดเอง ทาเอง
พึ่งตนเองได้
๘. ให้ อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) มีคุณภาพ มีเทคนิควิชาการที่จาเป็ น
ในการแก้ ปัญหาของชุมชน มีทักษะทางสังคม มีบทบาทเป็ นผู้นาการ
เปลี่ยนแปลงและสามารถก่ อให้ เกิดการเคลื่อนไหวสังคมในระดับ
ต่ างๆ เพื่อมุ่งสู่สังคมแห่ งสุขภาวะได้
๙. เกิดอาสาสมัครสาธารณสุขที่มีความหลากหลายมากขึน้ พัฒนาการ
ไปสู่การเป็ นอาสาสมัครเพื่อสังคม
3
แนวคิดในการทางานตาบลพลวงปี 2555
 เสริมสร้ างศักยภาพ อสม./ชุมชนในการป้องกัน
และเตรียมความพร้ อมรองรับการระบาดของ
โรคไข้ หวัดนก/ไข้ หวัดใหญ่ 2009
 อบรมฟื้ นฟูศักยภาพเฉพาะทางเพือ่ ทางานจิตอาสา
 พัฒนาศักยภาพ โดย อสม.ดีเด่ นของอาเภอ
 กองทุนสุ ขภาพประจาตาบล
 หมู่บ้าน/ตาบลจัดการสุ ขภาพ
 แผนทีท่ างเดินยุทธศาสตร์
4
ส่ งเสริมให้ มีการคัดเลือกอสม.ดีเด่ นประจาปี 2555
จานวน 11 สาขา ได้ แก่
(1) สาขาการเฝ้ าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ อ
(2) สาขาสุ ขภาพจิตในชุ มชน
(3) สาขายาเสพติดในชุ มชน
(4) สาขาการบริการใน ศสมช.
(5) สาขาการคุ้มครองผู้บริโภค
(6) สาขาการแพทย์ แผนไทยและภูมิปัญญาท้ องถิ่นด้ านสุ ขภาพ
(7) สาขาเอดส์ ในชุ มชน
(8) สาขาการส่ งเสริมสุ ขภาพ
(9) สาขาการเฝ้ าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไม่ ตดิ ต่ อ
(10) สาขาการจัดการสุ ขภาพชุ มชน
5
(11) สาขาอนามัยแม่ และเด็ก
รู ปแบบและแนวทางดาเนินงาน
ตาบลจัดการสุ ขภาพ
ตาบลพลวง อาเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี
โดย โรงเรียนนวัตกรรมสุ ขภาพชุ มชนตาบลพลวง
6
เปลีย่ นวิกฤติให้ เป็ นโอกาส
ในขณะที่ระบบสาธารณสุ ขมีการเปลี่ยนแปลงอย่ างต่ อเนื่อง มีองค์ กร
ใหม่ ๆ ผู้แสดงบทบาทเกิดขึน้ โดยเฉพาะในระดับท้ องถิ่นและชุ มชน
หน่ ว ยงานสาธารณสุ ข ซึ่ ง เดิ ม เคยผู ก ขาดงานด้ า นนี้ ก็ ต้ อ งปรั บ บทบาท
ตลอดจนตาแหน่ งแห่ งทีข่ องตนในบริบทใหม่ คือ
ต้ องแข่ งขันกับตัวเองเพือ่ การพัฒนาและความอย่ รู อด
นี่คอื เหตุผลทีท่ ุกคนต้ องหันมาสนใจกับการสร้ าง “นวัตกรรม”
7
โรงเรียนนวัตกรรมสุ ขภาพชุมชน
•นวั ต กรรม คื อ การน าเอาสิ่ ง ใหม่ ๆ หรื อ การปรั บ ปรุ งวิ ธี ก าร/
กระบวนการใหม่ๆ แล้วนามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ซึ่ งจะทาให้
การพัฒนามีความแตกต่างจากการที่เคยดาเนินการอยู่
•โรงเรียน คือ สถานที่เรี ยนรู ้ ให้ความรู ้ และสอนความรู ้
โรงเรียนนวัตกรรมสุ ขภาพชุ มชน คือ อะไร?
- ชุมชนที่มีการนาสิ่ งที่มีอยู่ มาปรับปรุ งให้ให้เกิดประโยชน์ ต่อ
การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพและป้ องกัน โรค โดยมี ก ารใช้แ ผนที่ ท างเดิ น
ยุทธศาสตร์ เป็ นเครื่ องมือในการพัฒนา จนเกิ ดผลสาเร็ จ และสามารถ
ถ่ายทอดความรู ้ ประสบการณ์ การพัฒนาให้ชุมชนอื่นๆ ได้เรี ยนรู ้ และ
นาไปขยายผลต่อได้
8
ใครเป็ นผู้สร้ างโรงเรียนนวัตกรรมสุ ขภาพชุมชน
ต้องร่ วมมือกันหลายกลุ่ม/องค์กร โดย...
•ชุมชน เป็ นฐานสาคัญและเป็ นผูส้ ร้างโครงการ
และมาตรการทางสังคม
•อปท. บริ หารจัดการและสนับสนุนทรัพยากรในการ
ดาเนินงาน รวมทั้งสร้างมาตรการท้องถิ่น
•หน่ วยงานสาธารณสุ ข สนับสนุนการสร้างความร่ วมมือ
และมาตรการทางวิชาการ
•ภาคีเครือข่ ายต่ างๆ ในชุมชน ร่ วมสนับสนุนและดาเนินงาน
9
หลักสู ตร
โรงเรียนนวัตกรรมสุ ขภาพชุมชนตาบลพลวง
1. อสม.จิตอาสาทีม่ าปฏิบัติงาน คลินิกพิเศษ
2. อบรมความร้ ูต่อเนื่อง ในวันประชุมประจาเดือน
3. การศึกษาขั้นพืน้ ฐานกับ กศน.ของ อสม.ทุกวันศุกร์ 3 ชั่วโมง
4. การศึกษาดูงาน / อบรม กับโครงการ สสส.
5. การจัดการอบรม / จัดกิจกรรมต่ าง ๆ ด้ านส่ งเสริ มสุขภาพ
โดยการบูรณาการโครงการให้ อสม.คณะทางาน โรงเรี ยนฯ จัด
10
การสร้างและใช้แผนที่ยทุ ธศาสตร์
1
วิเคราะห์ บริบท / สถานการณ์
2
3 ขัน้ ตอนการสร้าง
กาหนดจุดหมายปลายทาง/เป้ าประสงค์ /กลยุทธ์
สร้ างแผนทีย่ ุทธศาสตร์ และตรวจสอบกับยุทธศาสตร์
3
4
สร้ างแผนทีย่ ุทธศาสตร์ ฉบับปฏิบัติการและกลุ่มงาน
จัดทาแผนกลยุทธ์ / กาหนดตัวชี้วดั
5
6
4 ขัน้ ตอนการใช้
สร้ างแผนปฏิบัตกิ าร (Mini-SLM)
7
เปิ ดงานและติดตามผล
11
้ ฐาน
พืน
กระบวนการ
ภาคี
ประชาชน
แ ผ น ที่ ท า ง เ ดิ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ป ฏิ บั ติ ก า ร ( S L M ) ร่ ว ม ( ก ร ม อ น า มั ย กั บ ก ร ม ค ว บ คุ ม โ ร ค )
แ ส ด ง R o a d M a p ( เ ส ้น ส ี แ ด ง )
1. ประชาชน
ปรับเปลี่ยนพฤติ กรรม
3.ชุมชน
มีมาตรการทางสังคม
7.อปท.ร่วมตัดสิ นใจ
ขับเคลื่อนและสนับสนุน
ทรัพยากรอย่างเพียงพอและ
ต่อเนื่ อง
5.ระบบสื่อสารสารสนเทศมี
ประสิ ทธิ ภาพ
4.ชุมชน มีระบบเฝ้ าระวัง
ที่มีประสิ ทธิ ภาพ
หน่ วยงานภาครัฐทุกระดับ
สนับสนุนและประสานงาน
อย่างเข้มแข็ง
2.ชุมชนมีโครงการของชุมชน
โดย ชุมชน
กลุ่ม องค์กรในและนอกพืน้ ที่มี
บทบาท
การจัดการนวัตกรรมที่ดี
ระบบบริ หารจัดการองค์กรและ
ภาคีเครือข่ายมีประสิ ทธิ ภาพ
องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออานวยต่อ
การทางาน
ระบบข้อมูลมีคณ
ุ ภาพ
6.บุคลากร แกนนามีสมรรถนะที่
เหมาะสม
12
้ ฐาน
พืน
กระบวนการ
ภาคี
ประชาชน
ปฏิบต
ั ก
ิ ารเชงิ รุกผ่านแผนทีท
่ างเดินยุทธศาสตร์ปฏิบต
ั ก
ิ าร
้ แ
ี ดง))
(SLM)ร่วม (แสดง Road Map (เสนส
ชุมชน มีมาตรการทางสั งคม
ประชาชนปรับเปลีย่ น
กระบวนทัศน์ /พฤติกรรม
ชุมชน มีระบบเฝ้ าระวังทีม่ ี
ประสิ ทธิภาพ
อปท.ร่ วมตัดสิ นใจ ขับเคลือ่ นและ
สนับสนุนทรัพยากรอย่ างเพียงพอและ
ต่ อเนื่อง
ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดย
ชุมชน
กลุ่ม องค์ กรในและนอกพืน้ ทีม่ บี ทบาท
หน่ วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและ
ประสานงานอย่ างเข้ มแข็ง
ระบบสื่ อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ
การจัดการนวัตกรรมทีด่ ี
ระบบบริหารจัดการองค์ กรและภาคี
เครือข่ ายมีประสิ ทธิภาพ
ระบบข้ อมูลมีคุณภาพ
บุคลากร แกนนามีสมรรถนะที่
เหมาะสม
องค์ กรมีบรรยากาศเอือ้ อานวยต่ อการ
ทางาน
13
เทศบาล
 อบจ./อบต.
 สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัด
 สานักงานสาธารณสุ ขอาเภอ
 สถานีอนามัย,รพ.สต.
 ศูนย์ สุขภาพชุ มชน
 โรงพยาบาล,นคม.
 แกนนาประชาชน,อสม.
 ผู้รับผิดชอบกองทุนสุ ขภาพ
แผนที
่
ร่ วมสร้ าง
ทางเดินยุทธศาสตร์
14
แผนปฏิบต
ั ก
ิ าร(Micro-SLM) สร ้างจากยุทธศาสตร์การปรับเปลีย
่ นพฤติกรรมระดับประชาชน
(สนั บสนุนด ้วยการพัฒนากระบวนการและพืน
้ ฐานทีว่ างไว ้ใน SLM)
กลุม
่ เป้าหมายปร ับเปลีย
่ น
พฤติกรรม/ กระบวนท ัศน์
CSF (ห ัวใจของความสาเร็ จ)
ั
ดาเนินมาตรการทางสงคม
(กิจกรรมสาค ัญ)
สร้างโครงการชุมชน
(กิจกรรมสาค ัญ)
้ อ
ื่ สาร/
ใชข
้ มูล /สอ
ความรู(้ กิจกรรมเสริม)
ดาเนินงานค ัดกรอง/เฝ้า ระว ัง
ประชาชน
ภาคี
อปท.ข ับเคลือ
่ น
CSF (ห ัวใจของความสาเร็จ)
สาธารณสุขสน ับสนุน
วิชาการ/สร้างความร่วมมือ
องค์กรใน / นอก
้ ทีม
พืน
่ บ
ี ทบาท
15
แผนปฏิบตั ิการพื้นฐาน(Micro-SLM) สร้างจากยุทธศาสตร์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับประชาชน
(สนับสนุนด้วยการพัฒนากระบวนการและพื้นฐานที่วางไว้ใน SLM)
กลุ่มเป้ าหมายปรับเปลีย่ น
กระบวนทัศน์ /พฤติกรรม
ดาเนินมาตรการทางสั งคม
สร้ างโครงการชุ มชน
ใช้ ข้อมูล /สื่ อสาร/ ความรู้
(กิจกรรมเสริม)
ดาเนินงานคัดกรอง/ เฝ้ าระวัง
ประชาชน
ภาคี
กิจกรรมเพิม่ ทักษะ
ประชุ มตกลงร่ วมงานระหว่ างสาขา
16
ตารางชว่ ยนิยามเป้ าประสงค์ องแผนที่ SLM
ตาราง
ใช้ กจิ กรรมในช่ อง 3 เฉพาะระดับประชาชนและภาคี
สร้ างแผนปฏิบัติการ
เป้าประสงค์
ของ
ยุทธศาสตร์
กลยุทธ์
กิจกรรม
มาตรการ
การกระทาหรืองานที่ทา
วิชาการ
#1
จากกล่ อง
ต่างๆของ
SLM
- ข้ อต่อ
เป้าประสงค์
ในจานวนนีมี้
กลยุทธ์
สาคัญ ที่
ผู้บริหาร
เลือกไว้
- ข้ อ ต่อ
กลยุทธ์
ในจานวน
นีม้ ี
กิจกรรม
สาคัญ ที่
ผู้จัดการ
เลือกไว้
ช่ องที่ 1-3 ดำเนินกำรโดย
# 3 ภำคีระดับกรม/สำนัก/กอง
และผู้เกี่ยวข้ องในพืน้ ที่
เป้ำหมำย
่ ง
ชอ
ตัวชีว้ ดั
ผลงาน
PI)
ปริมาณ งบ
ตัวชีว้ ดั
ระยะ
ผลสาเร็จ งาน
ประมาณ เวลา
KPI)
ดาเนิน
การ
เลือก
เฉพาะที่
ต้องใช้
ทรัพยากร
หรือ
ตามที่
ผู้บริหาร
ต้องการ
แสดงเป็ น
ผลผลิต
มาจาก
งาน
วิชาการ
หรือ
สังคม
แสดง
เป็ น
กระบวน
การ
สังคม
ออกโดย
แนะนาโดย
ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ
แต่ออกโดย
ท้ องถิ่น
ชุมชน
สร้ าง
นวัตกรรม
ช่อง 4
ดำเนินกำรโดย
ระดับเขตฯ /
สสจ.และภำคีที่
เกี่ยวข้อง
ผู้รับ
ผิดชอบ
ช่ อง 5-11 ดำเนินกำรโดยท้ องถิ่น/ชุมชน
17
แผนปฏิบัตกิ ารพัฒนาสุ ขภาพชุมชนตาบลพลวง
1. ชุมชนพลวง ร่ วมมือ ร่ วมใจ พิชิตภัยไข้ เลือดออก
2. คนพลวงร่ วมใจพิชิตภัยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสู ง
3. ผู้สูงอายุ ร่ มโพธิ์ไทรให้ ลูกหลาน ร่ วมกันดูแลอย่ างห่ วงใย
แผนปฏิบัติการพัฒนาสุ ขภาพชุมชนตาบลพลวง
แผนปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุ
18
แผนปฏิบัตกิ ารพัฒนาสุ ขภาพชุมชนสู่ โครงการ
โครงการ “ผู้สูงอายุ ร่ มโพธิ์ไทรให้ ลูกหลาน ร่ วมกันดูแลอย่ างห่ วงใย”
หลักการและเหตุผล
- ตาบลพลวงมีประชากรกว่ า 6,000 คน ใน 2,200 หลังคาเรือน
- ประมาณ 1,000 คน เป็ นผู้สูงอายุ เป็ นผู้ป่วยเรื้อรัง 125 คน
- ผู้สูงอายุเป็ นบุคคลทีม่ ีภูมิปัญญาทีส่ ามารถสื บทอดวิถีชีวติ ได้
- สื บสาน ส่ งเสริมวัฒนธรรมเชิดชูผู้สูงอายุเป็ นร่ มโพธิ์ ร่ มไทร
19
แผนปฏิบัตกิ ารพัฒนาสุ ขภาพชุมชนสู่ โครงการ
โครงการ “ผู้สูงอายุ ร่ มโพธิ์ไทรให้ ลูกหลาน ร่ วมกันดูแลอย่ างห่ วงใย”
วัตถุประสงค์
1. ผู้สูงอายุมีการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมทีเ่ หมาะสมในการดูแล
สุ ขภาพของตนเอง
2. มีโครงการ ดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุในชุมชนโดยชุมชน
3. ชุมชนมีและใช้ระบบเฝ้ าระวังสุ ขภาพผูส้ ู งอายุ
4. โรงเรี ยนนวัตกรรมเป็ นแหล่งเรี ยนรู้วถิ ีชีวติ พอเพียงของผูส้ ู งอายุ
5. ส่ งเสริ มสุ ขภาพผูส้ ู งอายุตาม “ปฏิญญาผูส้ ูงอายุไทย ปี ๒๕๕๒”
20
ข้อ 1 ผสอ.ได้รับปั จจัยพื้นฐานได้รับการพิทกั ษ์ ไม่ถูกทอดทิ้ง
ข้อ 2 ผสอ.ได้รับความเคารพรัก ความเข้าใจ ความเอื้ออาทร
การดูแลเอาใจใส่
ข้อ 3 ผสอ.ได้รับโอกาสในการศึกษา เรี ยนรู้ และเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
ข้อ 4 ผสอ.ได้ถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ให้สงั คม
ข้อ 5 ผสอ.ได้เรี ยนรู้ในการดูแลสุ ขภาพอนามัยของตนเอง
21
ข้อ 6 ผสอ. ควรได้มีส่ วนร่ วมในกิ จกรรม ครอบครั ว ชุ ม ชน สังคม
โดยเฉพาะการรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้
ข้อ 7 รัฐโดยการมีส่วนร่ วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน ส ถ า บั น
สังคมต้องกาหนดนโยบายและแผนด้านผูส้ ู งอายุ
ข้อ 8 รัฐ&เอกชน ประชาชน ร่ วมกับสถาบันสังคมต้องตรากฎหมาย
ว่าด้วยผูส้ ูงอายุ
ข้อ 9 รั ฐ &เอกชน ประชาชน สถาบัน สั ง คม ต้อ งรณรงค์ป ลู ก ฝั ง
ค่านิยมให้สงั คมตระหนักถึงคุณค่าผูส้ ู งอายุตามวัฒนธรรมไทย
ที่เน้นความกตัญญูกตเวทีและความเอื้ออาทรต่อกัน
22
แผนปฏิบัตกิ ารพัฒนาสุ ขภาพชุมชนสู่ โครงการ
โครงการ “ผู้สูงอายุ ร่ มโพธิ์ไทรให้ ลูกหลาน ร่ วมกันดูแลอย่ างห่ วงใย”
เป้ าหมาย
10 หมู่บ้าน ในเขตเทศบาลตาบลพลวง โดยมี หมู่ 6 นาร่ อง
ระยะเวลาดาเนินการ
1 ตุลาคม 2554 – 30 กันยายน 2555
งบประมาณ
- กองทุนหลักประกันสุ ขภาพตาบลพลวง
23
สวัสดี
24