ตัวอย่างตัวบ่งชี้และเกณฑ์มาตรฐาน

Download Report

Transcript ตัวอย่างตัวบ่งชี้และเกณฑ์มาตรฐาน

ตัวอย่ าง
ตัวบ่ งชีแ้ ละเกณฑ์ มาตรฐานข้ อต่ างๆ
ที่ยังมีการความเข้ าใจที่แตกต่ างกัน
ตัวบ่ งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน
เกณฑ์ มาตรฐานข้ อที่ 7 มีการประเมินผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้
ของแผนกลยุทธ์ ....
การประเมินตามเกณฑ์ฯ ข้อนี้ ต้องสอดคล้องกับเกณฑ์การ
ประเมินตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ในมาตรฐานข้อ 5 ต้องส่ งผลให้มีการพัฒนา
ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ที่ไม่บรรลุเป้ าหมายจึง
จะได้คะแนน
ตัวบ่ งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักูต ตร
เกณฑ์ มาตรฐานข้ อที่ 3 “...มีการดาเนินงานให้เป็ นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสู ตรและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ
....” (การดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา หมายถึง
ต้องมีการประเมินผลตาม “ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานตามประกาศ
มาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรื อสาขาวิชา เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตร
และการเรี ยนการสอน”) KPI เหล่านี้จะปรากฏในหลักสูตรทุกหลักสูตร
ที่เป็ นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2552
ตัวบ่ งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการูอน
ผลการประเมินการเรี ยนการสอนของแต่ละรายวิชา
ให้ใช้ค่าเฉลี่ยของผูส้ อนในวิชานั้นๆ หรื อมีการสอนวิชานี้
หลายกลุ่ม ให้ใช้ค่าเฉลี่ยของทุกกลุ่มในการประเมินความ
พึงพอใจ หากเกินกว่า 3.51 ถือว่าผ่านเกณฑ์ขอ้ นี้ใน
รายวิชานั้นๆ
ตัวบ่ งชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการู่ งเูริมกิจกรรมนักึกก า
เกณฑ์มาตรฐานข้อ 5 มีการประเมินความสาเร็ จตามวัตถุประสงค์
ของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
เป็ นการประเมินความสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ ของแผนการ
จัดกิจกรรมไม่ ใช่ ประเมินผลการจัดกิจกรรมหรื อโครงการ
ตัวบ่ งชี้ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานูร้ างูรรค์
เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 5 มีการสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจยั หรื องาน
สร้างสรรค์ตามอัตลัก ณ์ ของสถาบัน (อัตลักษณ์ของสถาบันจะ
สอดคล้องตามกลุ่มสถาบันที่กาหนดในมาตรฐานสถาบันที่ ม/ส เลือก
และสอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ 9.1 เกณฑ์มาตรฐานข้อ 3 มีการกาหนดตัว
บ่งชี้เพิม่ เติมตามอัตลักษณ์ของสถาบัน)
ตัวบ่ งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริ การทางวิชาการแก่สังคม
และตัวบ่ งชี้ที่ 6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม
เกณฑ์มาตรฐานข้อ 4 มีการประเมินผลความสาเร็ จของ
การบูรณาการงานบริ การทางวิชาการแก่สงั คมกับการเรี ยนการสอน
และการวิจยั (5.1)
เกณฑ์มาตรฐานข้อ 4 มีการประเมินผลความสาเร็ จของ
การบูรณาการงานด้านทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการ
เรี ยนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา (6.1)
เป็ นการประเมินผลการบูรณาการไม่ ใช่ ประเมินผลโครงการ
ตัวบ่ งชี้ 6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุงึิลปะและวัฒนธรรม
เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 6 มีการกาหนดหรื อสร้างมาตรฐานคุณภาพด้าน
ศิลปะและวัฒนธรรมและมีผลงานเป็ นที่ยอมรับในระดับชาติ (การสร้าง
มาตรฐานด้านศิลปะ ที่เป็ นที่ยอมรับระดับชาติ ไม่ใช่วา่ สถานศึกษา
ดาเนินการเองและถือว่าเป็ นมาตรฐานของตัวเอง ข้อนี้ถา้ สถานศึกษาที่
ไม่มีสาขาด้านศิลปะ ไม่ น่าได้ คะแนน ยกเว้ นดาเนินการและเป็ นที่
ยอมรับระดับชาติจริงๆ )
ตัวบ่ งชี้ 7.2 การพัฒนาูถาบันูต่ ูถาบันเรียนรต้
คาว่า “การจัดการความรู้” เพียงแค่มีวทิ ยากรมาบรรยายให้ฟัง 1
ครั้ง และนาไปดาเนินการถือว่าเป็ น KM หรื อไม่
จะต้องมีการ share & learn และมีการพูดคุยกันเป็ นประจา จึงจะถือ
ว่ามีกระบวนการจัดการความรู้
ตัวบ่ งชี้ที่ 7.3 ระบบูารูนเทึเพือ่ การบริหารและการตัดูิ นจจ
แผนระบบสารสนเทศเป็ นแผนระยะยาวที่สอดคล้องกับ
แผนกลยุทธ์ขององค์กร ไม่ใช่คาขอตั้งงบประมาณทางด้านระบบ
สารสนเทศประจาปี
ตัวบ่ งชี้ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการึกก าภายจน
เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 9 มีแนวปฏิบตั ิที่ดีหรื องานวิจยั ด้านการ
ประกันคุณภาพการศึกษาที่หน่วยงานพัฒนาขึ้นและเผยแพร่ ให้
หน่วยงานอื่นสามารถนาไปใช้ประโยชน์
(1. แนวปฏิบตั ิที่ดี หมายถึง มีข้นั ตอนการทางานที่ชดั เจน เป็ น
ตัวอย่างได้ มีหลักฐานของความสาเร็ จ (Evidence of success) มีปัจจัย
เกื้อหนุนความสาเร็ จ
2. เผยแพร่ ให้หน่วยงานอื่น หมายความถึง มีการเผยแพร่ ให้กบั
หน่วยงานภายนอกสถาบัน หลักฐานอาจมาจากการศึกษาดูงาน)
ร่ องรอยหลักฐานและการตรวจูอบเอกูาร
การตรวจสอบร่ องรอยหลักฐานและเทคนิค
ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่ างๆ
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการ
ตัดสินใจ
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ
เอกสารแผนกลยุทธ์ แผนระบบสารสนเทศ หรื อแผนกลยุทธ์
ทางการเงิ น ทีเ่ ป็ นเอกสารหลักฐานในการประเมิ นแต่ละปี การศึกษา
หากยังเป็ นแผนเดิ มฯ ใช้เป็ นหลักฐานอ้างอิ งในทุกรอบการประเมิ นฯ
จนกว่าจะถึงรอบการจัดทาแผนฯ เหล่านัน้ ใหม่
การตรวจสอบร่ องรอยหลักฐานและเทคนิค
ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่ างๆ
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร
เกณฑ์มาตรฐานข้ อที่ 3 การประเมินระดับสถาบัน ควรพิจารณา
ร่วมกับผลการประเมินระดับคณะ และตรวจสอบกับข้ อมูลพื ้นฐาน
(CDS)
เกณฑ์มาตรฐานข้ อที่ 6,7 และ ข้ อที่ 8 ซึง่ เป็ นเกณฑ์มาตรฐาน
เพิ่มเติมเฉพาะกลุม่ นัน้ ข้ อมูลจานวนหลักสูตรควรสอดคล้ องกันทัง้
ในรายงานส่วนนา และในข้ อมูลพื ้นฐาน (CDS)
การตรวจสอบร่ องรอยหลักฐานและเทคนิค
ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่ างๆ
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.2 อาจารย์ ประจาที่มีคุณวุฒปิ ริญญาเอก
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.3 อาจารย์ ประจาที่ดารงตาแหน่ งทางวิชาการ
ข้อมูลควรสอดคล้องกันทัง้ ในรายงานส่วนนา และในข้อมูล
พืน้ ฐาน (CDS) จานวนอาจารย์ทม่ี คี ุณวุฒแิ ละตาแหน่ งทาง
วิชาการในแต่ละระดับ
อาจารย์ ประจา หมายถึง บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาที่มี
หน้ าที่หลักทางด้ านการสอนและการวิจยั และปฏิบตั ิหน้ าที่เต็มเวลา
ตามภาระงานที่รับผิดชอบในหลักสูตรที่เปิ ดสอน (มิใช่เต็มเวลาตาม
เวลาทาการ) ทังนี
้ ้ อาจารย์ ประจาในแต่ ละหลักสูตรจะเป็ น
อาจารย์ประจาเกินกว่า 1 หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ และต้ อง
ทาหน้ าที่เป็ นอาจารย์ประจาตามที่ระบุไว้ ในหลักสูตรหนึง่ หลักสูตร
ใดในขณะหนึง่ ๆ เท่านัน้
(นิยามจาก ประกาศกระทรวงฯ เรื่ องแนวทางการ
บริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 )
การตรวจสอบร่ องรอยหลักฐานและเทคนิค
ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่ างๆ
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน
เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 6 ผลการประเมินความพึงพอใจแต่ละ
รายวิชา... ในการประเมินระดับสถาบัน ควรพิจารณากับผลการ
ประเมินระดับคณะ และข้อมูลควรสอดคล้องกันทัง้ ในรายงาน
ส่วนนาและในข้อมูลพืน้ ฐาน (CDS)
การตรวจสอบร่ องรอยหลักฐานและเทคนิค
ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่ างๆ
ตัวบ่ งชีส้ มศ.1 บัณฑิตปริญญาตรีท่ ไี ด้ งานทาหรื อประกอบ
อาชีพอิสระภายใน 1 ปี
ข้อมูลควรสอดคล้องกันทัง้ ในรายงานส่วนนาและในข้อมูล
พืน้ ฐาน (CDS) และผลการคานวณไม่ควรเกิน 100 %
ชื่อข้อมูลพืน้ ฐาน
มหาวิทยาลัย A
องค์ประกอบที่ 2
จานวนผูส้ าเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีทงั ้ หมด
315
จานวนผูส้ าเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีทต่ี อบแบบสารวจเรื่อง
การมีงานทา
298
จานวนผูส้ าเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีทไ่ี ด้งานทาหลังสาเร็จ
การศึกษา
293
จานวนผูส้ าเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีทป่ี ระกอบอาชีพอิสระ
25
จานวนผูส้ าเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีทม่ี งี านทาก่อนเข้า
ศึกษา
1
จานวนผูส้ าเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีทศ่ี กึ ษาต่อระดับ
บัณฑิตศึกษา
4
ตัวตัง้
318
ตัวหาร
293
108.53
คิดเป็ นร้อยละ
มหาวิทยาลัย B
มหาวิทยาลัย C
มหาวิทยาลัย D
มหาวิทยาลัย E
149
560
110
457
120
506
110
446
105
490
81
277
105
63
7
180
7
38
25
0
1
210
112
187.50
13
553
455
121.54
0
88
85
103.53
37
457
409
111.74
การตรวจสอบร่ องรอยหลักฐานและเทคนิค
ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่ างๆ
ตัวบ่ งชีส้ มศ.ที่ 4 ผลงานผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก
ที่ได้ รับการตีพมิ พ์ เผยแพร่
ตัวบ่ งชีส้ มศ.ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ท่ ไี ด้ รับการ
ตีพมิ พ์ เผยแพร่
ข้อมูลควรสอดคล้องกันทัง้ ในรายงานส่วนนาและในข้อมูล
พืน้ ฐาน (CDS) และเมือ่ กรอกลงในข้อมูลพืน้ ฐานช่องใดแล้ว
ไม่กรอกซ้าอีก
นักวิจัยประจา หมายถึง ข้ าราชการหรื อพนักงาน หรื อบุคลากรที่มี
สัญญาจ้ างกับสถาบันอุดมศึกษาทังปี
้ การศึกษา ที่มีตาแหน่งเป็ น
เจ้ าหน้ าที่วิจยั หรื อนักวิจยั
หากชื่อตาแหน่งไม่เหมือนกัน ให้ พิจารณาจากหน้ าที่ความ
รับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบตั ิตามแบบบรรยายลักษณะงาน
(job description) ที่กาหนดให้ ทางานวิจยั เป็ นหลัก
การตรวจสอบร่ องรอยหลักฐานและเทคนิคในการ
ตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่ างๆ
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 7.1 ภาวะผู้นาของสภาสถาบันและผู้บริหารทุก
ระดับของสถาบัน
เกณฑ์ มาตรฐานข้อที ่ 2 ผูบ้ ริ หารมีวิสยั ทัศน์ กาหนดทิ ศทางการ
ดาเนิ นงาน และสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถใน
การวางแผนกลยุทธ์ มีการนาข้อมูลสารสนเทศเป็ นฐานในการปฏิ บตั ิ งาน
และพัฒนาสถาบัน
การตรวจสอบร่ องรอยหลักฐานและเทคนิคในการ
ตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่ างๆ
ประเด็นการใช้ขอ้ มูลของผูบ้ ริหาร ควรพิจารณาผลการประเมินร่วมกับ
ผลการประเมินตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ
เกณฑ์มาตรฐานข้อ 5 มีการนาข้อมูลทางการเงินไปใช้ในการวิเคราะห์
ค่าใช้จ่าย และวิเคราะห์สถานะทางการเงินและความมันคงของสถาบั
่
นอย่าง
ต่อเนือ่ ง
และตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน เกณฑ์มาตรฐานข้อ 6 มี
การติดตามผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี อย่าง
น้อยปีละ 2 ครัง้ ... และเกณฑ์มาตรฐานข้อ 7 มีการประเมินผลการดาเนินงาน
ตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ อย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ ...
การตรวจสอบร่ องรอยหลักฐานและเทคนิคในการ
ตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่ างๆ
ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ
เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 2 มีระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารและการ
ตัดสินใจตามพันธกิจของสถาบันโดยอย่างน้อยต้องครอบคลุมการจัดการ
เรียนการสอน การวิจยั การบริหารจัดการ และการเงิน และสามารถ
นาไปใช้ในการดาเนินงานประกันคุณภาพควรพิจารณาผลการประเมิน
ร่วมกับผลการประเมินของตัวบ่งชีท้ ่ี 9.1 ระบบและกลไกการประกัน
คุณภาพการศึกษาภายใน เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 6 มีระบบสารสนเทศทีใ่ ห้
ข้อมูลสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในครบทัง้ 9
องค์ประกอบ
การตอบข้ อหารื อต่างๆ
1) การพิจารณาเลือกกลุ่มสถาบัน
คณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา (คปภ.)
ในการประชุมครัง้ ที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2553 ได้ มีมติ
เกี่ยวกับการเลือกกลุม่ สถาบันของหน่วยงานระดับคณะ/สานักวิชาที่
มีการจัดการเรี ยนการสอน ดังนี ้
“สาหรับคณะ/สานักวิ ชา หากสถาบันเลือกอยู่ในประเภท/กลุ่มใด
คณะ/สานักวิ ชาก็ให้เลือกตามประเภท/กลุ่มนัน้ ๆ หรื ออาจจะมีการ
เลือกต่างจากสถาบันได้ ซึ่งให้เป็ นตามความเห็นชอบของสภา
สถาบันนัน้ ๆ “
2) ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการ
เรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต
เกณฑ์ มาตรฐานข้ อที่ 1 มีการสารวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์
ตามความต้ องการของผู้ใช้ บณ
ั ฑิตอย่างน้ อยทุกหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทุก
รอบระยะเวลาตามแผนกาหนดการศึกษาของหลักสูตร
เอกสารที่ใช้ ประกอบการประเมินตามเกณฑ์ฯ ข้ อนี ้ คือ เอกสารการสารวจ
คุณลักษณะบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ตามความต้ องการของผู้ใช้ บณ
ั ฑิตตามรอบการปรับปรุง
หลักสูตรนัน้ ๆ ในทุกรอบตามแผนในแต่ละหลักสูตร เช่น หลักสูตรปรับปรุงปี 2553 เมื่อมี
การประเมินคุณภาพในรอบปี 2554 – 2555 เอกสารยังคงเป็ นเอกสารการสารวจฯ เพื่อ
การปรับปรุงหลักสูตรเมื่อรอบปี ปรับปรุง 2553 จนกว่าจะมีการปรับปรุงหลักสูตรนัน้ ๆ ใน
รอบถัดไป
3) การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ ภาควิชา
สาขาวิชา หากโครงสร้ างการบริหารของสถาบันใดในระดับคณะ
วิชา ไม่มีภาควิชา/สาขาวิชา แต่มีการจัดการเรี ยนการสอนในรูป
โปรแกรมวิชา โดยมีคณะกรรมการประจาหลักสูตรทาหน้ าที่
รับผิดชอบ โดยปฏิบตั ิหน้ าที่ขึ ้นตรงต่อคณบดี/คณะวิชานัน้
สามารถดาเนินการกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษา ตังแต่
้ ระดับคณะวิชาขึ ้นมา ซึง่ จะเป็ นไปตามคูม่ ือ
การประกันคุณภาพฯ 2553 และแนวปฏิบตั ิที่กาหนดในกฎกระทรวง
ว่าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินฯ คุณภาพการศึกษา
พ.ศ.2553
ประเด็นที่พงก ระวังจนการประเมิน
ผ่ านระบบ CHE QA-On line
www.cheqa.mua.go.th