การจำและการลืม วิชา จิตวิทยาและการแนะแนวสำหรับเป็นครู (1051203)

Download Report

Transcript การจำและการลืม วิชา จิตวิทยาและการแนะแนวสำหรับเป็นครู (1051203)

การจาและการลืม
วิชา จิตวิทยาและการแนะแนวสาหรับเป็ นครู (1051203)
เสนอ อาจารย์โชติกา ธรรมวิเศษ
โดย นักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
กลุ่มรายงานที่ 3 หมู่เรียนที่ 3 ชั้นปี ที่ 1
สมาชิกกล่ มุ
•
•
•
•
•
•
•
1.นางสาวประภาพรรณ เกษากิจ
2.นางสาวเพ็ญประภา แก้ วนิน
3.นางมุกดา
ทองสั มฤทธิ์
4.นางสาวรัชตกุล ชินรัตน์
5. นางสาวสุ ดาดวง แก้ วสวัสดิ์
6.นางสาวสุ ภตั รา สี ดาเกลีย้ ง
7.นายอนุชา
ศรีลาศักดิ์
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
543410020305
543410020312
543410020318
543410020319
543410020333
543410020334
543410020345
สาระการเรียนรู้
1.การจาและการลืม
2.ความหมาย และความสาคัญของการจา
3.พฤติกรรมการจา
4.ประเภทของการจา
5.ระบบของการจา
6.องค์ ประกอบของการจา
7.เทคนิคและวิธีการจาที่ดี
8.ความหมายของการลืม
9.สาเหตุของการลืม
10.บทบาทของผู้สอนในการนาความรู้เรื่องการจาและการ
ลืมไปใช้
การจาและการลืม เป็ นพฤติกรรม
ทีเ่ กิดขึน้ ภายหลังจากการเรียนรู้และ
รับรู้เหตุการณ์ ทผี่ ่ านเข้ ามาในชีวติ มนุษย์
ทั้งการจาและการลืมล้วนมีความสาคัญ
กับชีวติ มนุษย์ การจาเพือ่ นาประสบการณ์
มาใช้ บริหารชีวติ ตน และการลืมบางครั้งก็
จาเป็ น เช่ น เพือ่ ลืมความทรงจาทีท่ ุกข์ ระทม
การจา (memory) เป็ นกระบวนการ
ทีบ่ ุคคลเก็บสะสมประสบการณ์ จากอดีต
เข้ าไว้ แล้วนามาตอบสนองหรือมามีผล
ต่ อการกระทาตอบสิ่ งเร้ าในปัจจุบันได้
*** การจา มีหลายคาที่นักวิชาการใช้
เช่ น Retention หรือ Memory หรือ Remembering
ให้ มนุษย์ คงความเป็ นมนุษย์
ช่ วยในพฤติกรรมการเรียนรู้ของมนุษย์
ช่ วยประกอบการบริหารชีวติ ของมนุษย์
ช่ วยในการใช้ ชีวติ ในปัจจุบัน
มีการเรียนรู้ เกิดขึน้
มีการสะสมไว้ ซึ่งความรู้ ทไี่ ด้ เรียนรู้ แล้ ว
มีการระลึกได้ เมื่อพบเห็น
มีการกระทาซ้าได้
*** แบ่ งประเภทของความจาตามแนวคิดของ ฮิลการ์ ด
(Hilgard 1962:288-290) ได้ 4 ประเภทดังนี้
การจาแบบรู้จัก หรือ การจาแบบสั มผัสซ้า
เป็ นความจาทีบ่ ุคคลจาได้
เนื่องมาจากได้ สัมผัสหรือ
รับรู้ในสิ่ งนั้นซ้าอีก
จาได้ ว่าเคยเห็น หรือ เคยรู้จักมาก่อน
ลักษณะแบบ “คลับคล้ายคลับคลา”
ตัวอย่ างการจาได้ (Recognition)
ตัวอย่ างการจาได้ (Recognition)
ตัวอย่ างการจาได้ (Recognition)
การสามารถจาสิ่ งทีไ่ ด้ เรียนรู้มาก่อน
โดยไม่ ต้องพบเห็นสิ่ งนั้น
ซึ่งบุคคลแสดงความจา
ออกมาได้ “แบบอัตโนมัติ”
ตัวอย่ างการระลึกได้ (Recall)
แม่ จ๋า ช่ วยหนูด้วย
หนูกนิ กล้ วย อยู่บนหลังคา
ตกลงมา ทายาหม่ อง
ยีส่ ิ บกล่องก็ไม่ หาย
ไปหาหมอ หมอไม่ อยู่
ไปหาปู่ ปู่ กินเหล้ า
ไปหายาย ยายตาหมาก
กระเด็นใส่ ปาก ร้ องไห้ แงแง
ตัวอย่ างการระลึกได้ (Recall)
ตัวอย่ างการระลึกได้ (Recall)
ตัวอย่ างการระลึกได้ (Recall)
ตัวอย่ างการระลึกได้ (Recall)
จาแบบเรียนซ้า หรือ การจาแบบเรียนซ้าใหม่
เป็ นการจาในสิ่ งเดิมซึ่งได้ เรียนรู้ไปแล้ว
และดูเหมือนลืมไปหมดแล้ว
แต่ พอกลับมาเรียนซ้าอีกครั้ง
จะทาให้ จาได้ เร็วและง่ ายกว่ าผู้เริ่มต้ นใหม่
“การเรียนซ้าจะทาให้ เรียนได้ เร็วและง่ ายขึน้ ”
ตัวอย่ างการเรียนใหม่ (Relearning)
ตัวอย่ างการเรียนใหม่ (Relearning)
การจาแบบบูรณาการข้ อมูล หรือ
การจาแบบผสมผสานเหตุการณ์ ทผี่ ่ านมา
ความจาชนิดนีเ้ กิดจากการรวบรวมหรือ
ผสมผสานเหตุการณ์ ทผี่ ่ านมา
โดยอาศัยสิ่ งหนึ่งสิ่ งใดมาดลใจ
“การจาเหตุการณ์ ทเี่ กีย่ วโยงกัน
ในอดีตได้ ”
ตัวอย่ างการระลึกถึงเหตุการณ์ ในอดีต (Reintegration)
ตัวอย่ างการระลึกถึงเหตุการณ์ ในอดีต (Reintegration)
ตัวอย่ างการระลึกถึงเหตุการณ์ ในอดีต (Reintegration)
รูปแบบของการจา (Memory Models)
*** บุตซิน และคนอืน่ ๆ (Bootzin et. Al. 1991:210-219) ได้ กล่าวถึง
รูปแบบของการจาว่ ามี 3 ลักษณะ (three store models of memory) ดังนี้
เป็ นการรับและเก็บข้ อมูลความจาด่ านแรก
ภายหลังจากรับสั มผัสสิ่ งเร้ าภายนอก
สิ่ งเร้ าภายนอก
ประสาทสั มผัส
-แสง
- เสี ยง
- กลิน่
- รส
- สั มผัสทีผ่ วิ หนัง
- ตา
- หู
- จมูก
- ลิน้
- ผิวหนัง
Sensory Memory
*** ถ้ าไม่ มีการรับสั มผัสที่ประสาทสั มผัสดังกล่าว ย่ อมไม่ เกิดความจาขึน้
ตัวอย่ างระบบการจาจากการสั มผัส (Sensory Memory)
ตัวอย่ างระบบการจาจากการสั มผัส (Sensory Memory)
ตัวอย่ างระบบการจาจากการสั มผัส (Sensory Memory)
ตัวอย่ างระบบการจาจากการสั มผัส (Sensory Memory)
เป็ นความจาต่ อเนื่องจากความจาทีป่ ระสาทสั มผัส
*** เป็ นความจาเพือ่ ปฏิบัติงานเฉพาะหน้ า
แปลความหมาย
จากการสั มผัส
มาใช้ ประโยชน์
ในช่ วงสั้ นๆ
เก็บข้ อมูล
ได้ จานวนน้ อย
Short – Term
Memory
(STM)
ตัวอย่ างระบบการจาระยะสั้ น (Short-Term Memory)
ตัวอย่ างระบบการจาระยะสั้ น (Short-Term Memory)
เป็ นความจาทีค่ ่ อนข้ างถาวร อาจอยู่กบั คนๆนั้นจนตลอดชีวติ เขา
เป็ นความจา
ทีค่ ่ อนข้ างถาวร
ดึงออกมาใช้
ได้ ทนั ทีในลักษณะ
การระลึกได้
(recall)
เก็บข้ อมูล
ได้ มาก
ความเข้ าใจอย่างมีความหมาย
โดยเคลือ่ นตัวมาจาก
ความจาระยะสั้ น
ทบทวนและนามาใช้ อยู่เสมอ
มีความตั้งใจจะจา
มีเทคนิควิธีช่วยจา
Long – Term
Memory
(LTM)
ตัวอย่ างระบบการจาระยะยาว (Long-Term Memory)
ตัวอย่ างระบบการจาระยะยาว (Long-Term Memory)
*** นักจิตวิทยาที่ศึกษาเกีย่ วกับการจาและการลืม
เป็ นคนแรก คือ เอบบิงเฮาส์ (Hermann Ebbinghaus)
เอบบิงเฮาส์
ได้ทาการทดลอง
โดยให้ผถู้ ูกทดลองจาคา
ที่ไม่มีความหมาย
สรุป
พบว่าเมื่อเวลาผ่านไป
20 นาที
จาได้ ประมาณ 58%
1 ชั่วโมง จาได้ ประมาณ 42%
9 ชั่งโมง จาได้ ประมาณ 35%
2 วัน
จาได้ ประมาณ 30%
31 วัน
จาได้ ประมาณ 20%
ยิง่ เวลาผ่ านไปความจาของมนุษย์
ในสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งก็ยงิ่ เหลือน้ อยลง
“เวลาเป็ นเครื่องรักษาแผลใจ”
*** เรื่องใดก็ตามทีเ่ ป็ นเหตุการณ์ สาคัญ ๆ
และมีความหมายต่ อชีวติ เราจะจดจาได้ ไม่ รู้ ลมื
ความทรงจาในสิ่ งทีม่ ีความหมาย
มากทีส่ ุ ดย่ อมลบเลือนได้ ยากทีส่ ุ ด
และลืมง่ ายในสิ่ งทีไ่ ร้ ความหมาย
สาหรับตน
1. การเรียนมากๆ หรือเรียนบ่ อยๆ
หรือเรียนให้ เกินพอ (Overleaning)
2. การทบทวนเป็ นระยะๆ
(Periodic Review)
3. การระลึกถึงสิ่ งทีจ่ ะจา
ในขณะทีก่ าลังฝึ กฝนอยู่
(Recall During Practice)
4.การจัดระเบียบ
(Organization)
5.การใช้ รหัสช่ วย
ในการจา (Coding)
6.การจาอย่ างมีหลัก
(Principle)
7.การสร้ างคาสั มผัส
One หนึ่ง
ครึ่ง half calf น่ อง
ห้ อง room groom เจ้ าบ่ าว
อ่ าว bay
day วัน
ฟัน tooth booth แผงลอย
คอย wait bait เหยือ่ ล่ อ
หม้ อ pot
spot จุด
ขุด dig
big ใหญ่
แม่ ไก่ hen
pen ปากกา
ครีบปลา fin in ใน
ใคร who
Two สอง
เพลง หัวลาไย (ทานอง เพลงคุณลาไย)
ความจา ซีรีบรัม ไม่ เลือน คอยเตือน สติ เอาไว้
เมดุลลา การเต้ นหัวใจ
ไฮโป นั่นไง ความดันเลือด มา
หิว-อิม่ ก็ด้วยเป็ นไร
ส่ วน นา้ ลายไหล ก็ พอนด์ นั่นหนา
คิว้ ยักคิว้
สมองส่ วนกลาง ลูกตา
ศูนย์ แยกประสาท ใช่ ว่า
ก็คือ ทาลามัส นั่นไง
เหม็น จริงๆ ออลแฟลกทอรี ของใคร
คุม เคลือ่ นไหว และ ศิลปะ เล่าหนา
ใครก็ร้ ู ซีรีเบลรัม ให้ มา
ไอจาม กระพริบตา ก็ เมดุลลา พาหายใจ
ต่ อม sex 37 องศา มีต้งั มากมายเป็ นของ ไฮโป
หรือว่า นอน เอน ความดัน กระหายนา้ นั้นของฉันก็ยงั ดี
ก้านสมอง ชื่อเท่ห์จะตายก็แล้วทาไมไม่ ท่องกันละนี่
ส่ วนกลาง น้ องพอนด์ น้ องเม เป็ นหยัง่ บ่ เอิน้ กันละคุณพี่
หัวโตดี นา้ หนัก พันสี่ เท่านั้น
สอบเอนทรานซ์ ติดพลัน
ออลแฟลกทอรี ไว้ ดม
ซีรีบรัม ก็ กล้ามเนือ้ ลาย
จะเรียนอะไร คิดดูให้ ดี
สู ตรลัดนี้ เก็บไว้ ร้ องทุกวัน
นาแฟชั่นทีท่ นั สมัย
เส้ นผมก็ทาไฮไลด์
สมองไม่ ใช่ ควาย ควาย
คิด คิดดูให้ ดี คิด คิดดูให้ ดี
8.การจาในสิ่ งทีม่ คี วามหมาย
9.การจาแบบโลไซ (Losi Method)
10.การพักผ่ อนสลับ
11.การจาจะอยู่ได้ นานถ้ ามีการจดบันทึก
12.ควรอ่ านหนังสื อในตอนเช้ าเสมอ
• ความหมายของการลืม (Forgetting)
การลืม (forgetting) คือ การทีบ่ ุคคล
ไม่ สามารถเก็บสะสมประสบการณ์
หรือไม่ สามารถนาประสบการณ์
ที่เคยได้ รับจากอดีตมาตอบสนอง
สิ่ งเร้ าในปัจจุบัน
*** การลืม = การสู ญเสี ยความจา
การลืม ≠ การจา
สาเหตุของการลืม
1. เพราะกาลเวลา
2. การไม่ ได้ นามาใช้
(Decay and Disuse Theory)
3. การเลือ่ นไป (Systematic Distortions)
4. การขัดขวาง (Retroactive)
หรือมีสิ่งรบกวน (Interference)
5. เจตคติ (Attitude)
และความสนใจ (Interest)
6. ขาดการฝึ กฝน
7. การเปลีย่ นแปลงสภาพการณ์
(Situation)
8. การจงใจลืม (Motivated Forgetting)
9. การลืมเนื่องจากสาเหตุทางร่ างกาย (Organic Amnesia)
10. สิ่ งนั้นไม่ มีความหมาย (Meaningless)
บทบาทของผู้สอนในการนาความรู้
เรื่องการจาการลืมไปใช้
1. ควรจัดบทเรียนทีม่ ีเนือ้ หาสาระทีม่ ีความหมายต่ อผู้เรียน
นามาใช้ ในชีวติ ประจาวันได้ ผู้เรียนเรียนแล้วจะจาได้ ดี
2. จัดประสบการณ์ ตรงให้ แก่ผู้เรียนให้ มากทีส่ ุ ด
เพือ่ ส่ งเสริมการจาได้ และปฏิบัติได้
3. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่น่าสนใจ
และเร้ าใจให้ ผู้เรียนสนใจอยู่เสมอ
4. จัดเนือ้ หาสาระทีส่ อนให้ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
5. เมื่อจบบทหนึ่งๆแล้ว ควรมีกจิ กรรมทีจ่ ะทบทวน
สิ่ งทีเ่ รียนไปแล้วด้ วย
6. หลังจากเรียนรู้ เรื่องใดแล้ ว ควรให้ ผ้ เู รียนพักผ่ อน
ก่อนทีจ่ ะเรียนเรื่องใหม่ ต่อไป
7. ควรเสนอแนะ “แนวการเรียนทีด่ ”ี และ “หลักการจา”
ให้ แก่ ผ้ เู รียนเสมอ
8. พยายามสอนให้ เกิดความเข้ าใจที่แจ่ มแจ้ ง
9. ควรชี้แนะให้ ผู้เรียนรับประทานอาหารทีม่ วี ติ ามิน B
เพือ่ พัฒนาระบบสมองให้ มีความจาที่ดขี นึ้
10. ชี้แนะให้ ผู้เรียนรู้จักใช้ เครื่องช่ วยจา เช่ น
การจดโน้ ตย่ อ การใช้ รหัสช่ วยจาการสร้ างสั มผัส
ตลอดจนการจัดระบบการจา
เทคนิคการจาตารางธาตุ
หมู่ VII
แฟน ครับ บ้าน ผม อยู่ นี่
F = แฟน
Cl = ครับ
Br = บ้าน
I = ผม
At = อยูน่ ี่
11. ควรชี้นาให้ เห็นความจาเป็ นในการเลือกเวลาอ่านหนังสื อ
ให้ เหมาะสมกับตนเอง
สรุป
การทบทวน
สิ่ งเร้ า
ฝังตัว
เอกสารอ้างอิง
1. ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะครุ ศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. จิตวิทยาการเรียนการสอน. “การจาการลืม”.
( หน้ า 88 – 97 ). กาฬสิ นธุ์:ประสานการพิมพ์ .
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปราณี รามสู ต. จิตวิทยาทัว่ ไป. “การคิด การจา
และการลืม”(หน้ า 160-168 ). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพฯ : สถาบันราชภัฏธนบุรี,2542.
3. สุ ชา จันทร์ เอม. จิตวิทยาทั่วไป. “ความจา การลืม การคิด และการ
แก้ปัญหา”(หน้ า 202-205). พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุ งเทพฯ :
บริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จากัด,2544.
4. http://www.learners.in.th/blogs/posts/200148 (สื บค้ นวันที่ 24/12/2554)
5. http://www.youtube.com/watch?v=hQzzG3wHuIQ
(สื บค้ นวันที่ 24/12/2554)
6. http://www.youtube.com/watch?v=86bNPXXLvEA
(สื บค้ นวันที่ 24/12/2554)
7. http://www.youtube.com/watch?v=VfaifbH_c8k
(สื บค้ นวันที่ 24/12/2554)
8. http://www.youtube.com/watch?v=V5TvQF7wcp4
(สื บค้ นวันที่ 24/12/2554)
9. http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Memory.htm
(สื บค้ นวันที่ 24/12/2554)
10. http://blog.eduzones.com/anisada/79010 (สื บค้ นวันที่ 24/12/2554)