การจดจำรูปแบบได้

Download Report

Transcript การจดจำรูปแบบได้

การจดจารู ปแบบได้
(Pattern recognition)
โดย
่
พระมหาเผือน
กิตฺตโิ สภโณ
Perceptual theories
• ทฤษฎีทอ
ี่ ธิบายการรับรู ้โลกรอบตัวของมนุษย์ท ี่
นักจิตวิทยาได ้สร ้างขึน
้ แบ่งออกเป็ น 2 กลุม
่ ใหญ่ คือ
• ทฤษฎีการร ับรู ้แบบมีโครงสร ้าง(Constructive
ื่ ว่า เราสร ้าง
perception) โดยทฤษฎีกลุม
่ นีเ้ ชอ
โครงสร ้างการรับรู ้โดยการคัดเลือกสงิ่ เร ้าและ
ผสานสงิ่ ทีเ่ ห็น ได ้ยิน ฯลฯ เข ้ากับความจา
• ทฤษฎีการร ับรู ้โดยตรง(Direct perception)
ทฤษฎีกลุม
่ นีม
้ องว่า ข ้อมูลทีไ่ ด ้ในสภาพแวดล ้อม
่ สญ
ั ญาณชน
ี้ าการเห็น() มุมมองเสนตรง()
้
เชน
ั พันธ์กน
ขนาดทีส
่ ม
ั และอืน
่ ๆ คือองค์ประกอบสาคัญ
ของการรับรู ้ สว่ นการเรียนรู ้(Learning)และการคิด
(Cognition)
กระบวนการจาแนกแบบ
เกิดการสร ้างลักษณะของแบบ
มีสงเร
ิ่ ้าเข้ามาเกิดกระบวนการร ับ
สัมผัส
นาลักษณะของแบบเก่าและใหม่
มาเปรียบเทียบกัน
สามารถจาแนกและจดจาแบบได้
เกิดการจับคู ร
่ ะหว่างลักษณะแบบ
เก่าและแบบใหม่
ทฤษฎีเกสตัลท ์
(Gestalt theory)
ทฤษฎีเกสตัลท ์
(Gestalt theory)
ทฤษฎีเกสตัลท ์
(Gestalt theory)
กระบวนจัดการแบบล่าง-บนและ
บน-ล่าง
Bottom-Up versus Top-Down
processing
• กระบวนการจัดการแบบล่าง-บน (Bottom-Up
processing)เกิดจากการทีผ
่ ู ้รับรู ้พิจารณาสว่ นย่อ
ของสงิ่ ทีร่ ับรู ้ทีจ
่ ะระบุวา่ สว่ นย่อยดังกล่าวนัน
้ เป็ น
สว่ นประกอบย่อยของของสงิ่ ใด
กระบวนจัดการแบบล่าง-บนและ
บน-ล่าง
Bottom-Up versus Top-Down
processing
• ในทางตรงกันข ้ามกระบวนการจัดการแบบบนล่าง ผู ้
รับรู ้จะตัง้ สมมติฐานเกีย
่ วกับสงิ่ ทีร่ ับรู ้ก่อนว่า คืออะไร
จากนั น
้ จึงพยายามพิจารณาหาสว่ นย่อยทีส
่ นั บ
สมมติฐานของตน
ทฤษฎีการจับคู ก
่ ับตัวแบบ
Template Matching
ื่ ว่า แม่แบบจานวนมากถูกสร ้าง
• ทฤษฎีจับคูแ
่ ม่แบบเชอ
ขึน
้ จากประสบการณ์ในชวี ต
ิ ของเรา แม่แบบแต่ละ
ื่ มโยงกับความหมาย ดังนัน
อย่างเชอ
้ ลักษณะต่างๆ
่ รูปร่าง(Shape) หรือรูปทรงเลขาคณิต
เชน
(Geomatric form) จะเกิดขึน
้ จากการทีพ
่ ลังงานแสง
ฟุ้ งออกมาจากรูปแบบและตกทีเ่ รตินาและถูกแปลง
เป็ นกระแสประสาทและถูกสง่ ไปยังสมอง จากนัน
้ การ
ค ้นหาแม่แบบทีม
่ อ
ี ยูจ
่ ะเกิดขึน
้ หากพบแม่แบบทีต
่ รง
กับสงิ่ ทีร่ ับรู ้ เมือ
่ นัน
้ การรับรู ้ก็จะเกิดขึน
้
ทฤษฎีวเิ คราะห ์ลักษณะเด่น
Feature analysis
• ทฤษฎีการวิเคราะห์รายละเอียดมองว่า การจาได ้เกิด
จากการทีผ
่ ู ้รับรู ้มองหาลักษณะเด่นของสงิ่ ทีถ
่ ก
ู รับรู ้
่ ารรู ้จักว่าสงิ่ ทีร่ ับรู ้
และเมือ
่ จาลักษณะเด่นได ้ก็จาไปสูก
นัน
้ คืออะไร
• ออวิง บีเดอร์แมน(Irving Biedermann) ได ้นาเสนอ
ทฤษฎีทเี่ รียกว่า Geon theory ซงึ่ อธิบายว่า การจา
ได ้เกิดจากการทีผ
่ ู ้รับรู ้จดจารูปร่างพืน
้ ฐานของวัตถุท ี่
เขาเรียกว่า Geon(Geomatrical ions) ได ้ ซงึ่ บีเดอร์
แมนอธิบายว่า รูปร่างพืน
้ ฐานดังกล่าวนีม
้ อ
ี ยูป
่ ระมาณ
ื่ เพียง 3,000 รูปแบบ
30,000 รูปแบบ แต่มก
ี ารตัง้ ชอ
เท่านัน
้
• การทดลองของบีเดอร์แมนพบว่า แม ้จะลด
Geon
Pandemonium model
ปี 1959 โอลิเวอร์ เซลฟริด(์ Oliver Selfridge) ได ้
นาเสนอการจับคูล
่ ักษณะเด่นทีเ่ รียกว่า แพนเดโมเนียม
(Pandemonium)ทีเ่ สนอการวิเคราะห์ 4 ระดับ คือ
การรับรู ้ภาพ การรับรู ้ลักษณะเด่น ความรู ้ความเข ้าใจ
ิ ใจ
และการตัดสน
ั เชพฟิ โร และโยนัส พบว่า
การวิจัยของของกิบสน
้
คนเราจะใชเวลาในการแยกแยะมากกว่
าหากอักษรมี
่ P กับ R และจะใชเวลาใน
้
ลักษณะเด่นคล ้ายกัน เชน
่
การแยะแยะน ้อยลงหากอักษรมีลักษณเด่นต่างกัน เชน
G กับ M
ทฤษฎีการจับคู แ
่ ม่แบบ
Prototype matching
ทฤษฎีนม
ี้ แ
ี นวคิดคล ้ายกับการจับคูต
่ วั แบบคือมองว่า
การจาได ้เกิดจากการมีบค
ุ คลสะสมแม่แบบจากการมี
ประสบการณ์กบ
ั สงิ่ ต่างๆ เมือ
่ บุคคลรับรู ้วัตถุตา่ ง สงิ่ ที่
รับรู ้จะถูกนาไปเปรียบเทียบกับแม่แบบ หากตรงกันจะ
เกิดการจาได ้ สว่ นทีต
่ า่ งกันคือ ทฤษฎีการจับคูแ
่ ม่แบบ
่
มองว่า แม่แบบนัน
้ มีลักษณะยืดหยุน
่ กว่าตัวแบบ เชน
ื้ ผ ้า รองเท ้า
จาสามารถจาเพือ
่ เราได ้ แม ้ว่าเขาจะใสเ่ สอ
ทรงผม แว่นตา ฯลฯ แตกต่างจากครัง้ ก่อนได ้เพราะเรา
มีแนวคิดเกีย
่ วกับแม่แบบของเพือ
่ เราอยูใ่ นความทรงจา
ระยะยาวของเรา
Prototype matching
Direct perception
ั (James
• ทฤษฎีการรับรู ้โดยตรงของเจมส ์ กิบสน
Gibson) เห็นต่างจากกลุม
่ ทฤษฎีการรับรู ้แบบมี
โครงสร ้างโดยปฏิเสธว่า ผู ้รับรู ้สร ้างตัวแทนในใจ
(Mental representation)จากความจาเกีย
่ วกับ
ประสบการณ์ในอดีตเกีย
่ วกับวัตถุและเหตุการณ์ท ี่
ื่ ว่าตัวผู ้รับรู ้มี
คล ้ายคลึงกัน ทฤษฎีการรับรู ้โดยตรงเชอ
บทบาทน ้อยมาก เนือ
่ งจากสงิ่ แวดล ้อมรอบตัวจะเป็ น
ตัวให ้ข ้อมูลเพือ
่ ให ้เกิดการจาได ้(Recognition) โดย
ไม่จาเป็ นต ้องสร ้างตัวแทนหรือการอนุมานเลย
• แนวคิดนีม
้ องว่า วัตถุตา่ งรอบตัวเรามีสงิ่ คุณสมบัตท
ิ ี่
ทาให ้เราสามารถตอบสนองกับมันได ้โดยธรรมชาติ
่ เก ้าอีเ้ ราสามารถนั่งได ้ กระจก
(Affordance) เชน
แนวคิดทีส
่ าคัญของทฤษฎี Direct
perception
่
1. รู ปแบบการเคลือนขอภาพ(Optic
Flow
Pattern)
่ คงทีของวัตถุ
่
2. ลักษณะทีไม่
(Invariant Features)
3. คุณสมบัตข
ิ องวัตถุ(Affordances)