chapter4 - UTCC e

Download Report

Transcript chapter4 - UTCC e

บทที่ 4
ทฤษฏีพฤติกรรมผู ้บริโภค
o
อรรถประโยชน์
o
ทฤษฏีอรรถประโยชน์
o
้
ทฤษฏีเสนความพอใจเท่
ากัน
o
ความพอใจสว่ นเกินของผู ้บริโภค
1
4.1 อรรถประโยชน์ (Utility)
4.1.1 ความหมายของอรรถประโยชน์
ิ ค ้าและบริการทีส
อรรถประโยชน์ หมายถึง อานาจของสน
่ ามารถสนอง
ความต ้องการของผู ้บริโภคได ้ หรือเป็ นความพอใจทีผ
่ ู ้บริโภคได ้รับ
ิ ค ้าและบริการชนิดใดชนิดหนึง่ ในระยะเวลาหนึง่
จากการบริโภคสน
ิ ค ้าและบริการจะให ้อรรถประโยชน์แก่ผู ้บริโภคได ้เมือ
o สน
่ ผู ้บริโภคมี
ิ ค ้าเกิดขึน
ความต ้องการในสน
้
ิ ค ้าต่าง ๆ จะให ้อรรถประโยชน์แก่ผู ้บริโภคได ้มากหรือน ้อย
o สน
ขึน
้ อยูก
่ บ
ั ระดับความต ้องการของผู ้บริโภค กล่าวคือ
ิ ค ้ามาก  อรรถประโยชน์จะสูง
o ผู ้บริโภคมีความต ้องการสน
ิ ค ้าน ้อย  อรรถประโยชน์จะตา่
o ผู ้บริโภคมีความต ้องการสน
2
4.1.2 ข ้อสงั เกตเกีย
่ วกับอรรถประโยชน์
o
o
o
o
4.1.3
ประโยชน์กบ
ั อรรถประโยชน์มค
ี วามแตกต่างกัน
ิ ค ้าแต่ละชนิดทีผ
อรรถประโยชน์ของสน
่ ู ้บริโภคได ้รับเหมือนกัน
อาจไม่เท่ากัน
ิ ค ้า
อรรถประโยชน์ทผ
ี่ ู ้บริโภคแต่ละรายได ้รับจากการบริโภคสน
ชนิดเดียวกันจะไม่เท่ากัน
อรรถประโยชน์ของผู ้บริโภคคนเดียวกันทีจ
่ ะได ้รับจากการบริโภค
ิ ค ้าชนิดเดียวกัน อาจจะไม่เท่ากันหากเป็ นคนละระยะเวลา
สน
ชนิดของอรรถประโยชน์
อรรถประโยชน์ทน
ี่ ับหน่วยได ้ (Cardinal Utility)
อรรถประโยชน์ทน
ี่ ับเป็ นหน่วยไม่ได ้ (Ordinal Utility)
ทฤษฎีทอ
ี่ ธิบายพฤติกรรมของผู ้บริโภค
o ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory)
้
o ทฤษฎีเสนความพอใจเท่
ากัน (Indifference Curve Theory)
3
4.2 ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory)
ข ้อสมมติฐานการวิเคราะห์
o
อรรถประโยชน์จากการบริโภคนับเป็ นหน่วยได ้ เป็ น “UTIL”
(Cardinal Utility)
o
ผู ้บริโภคจะเป็ นผู ้บริโภคทีม
่ เี หตุผล (Rational Consumer) คือจะ
เลือกโดยแสวงหาความพอใจสูงสุดเท่าทีจ
่ ะทาได ้จากรายได ้ทีม
่ อ
ี ยู่
จากัด
o
ิ ค ้าทีเ่ ขา
ผู ้บริโภคต ้องมีความรู ้ในเรือ
่ งของราคาและคุณภาพของสน
ิ ใจเลือก
จะตัดสน
o
ิ ค ้าสามารถแยกเป็ นหน่วยย่อย ๆ ได ้
สน
o
่ รายได ้ รสนิยม และราคาสน
ิ ค ้าอืน
กาหนดให ้ปั จจัยอืน
่ ๆ คงที่ เชน
่ ๆ
4
4.2.1 อรรถประโยชน์รวมและอรรถประโยชน์หน่วยท ้ายสุด
(Total Utility and Marginal Utility)
o อรรถประโยชน์รวม(Total Utility:TU)
o ผู ้บริโภคดืม
่ น้ าแก ้วแรก ได ้อรรถประโยชน์ 10 ยูทล
ิ
o ผู ้บริโภคดืม
่ น้ าแก ้วสอง ได ้อรรถประโยชน์ 8 ยูทล
ิ
อรรถประโยชน์รวม(TU) เท่ากับ 18 ยูทล
ิ
o อรรถประโยชน์หน่วยท ้ายสุด (Marginal Utility:MU)
o ผู ้บริโภคดืม
่ น้ าแก ้วแรก ได ้อรรถประโยชน์ รวม 10 ยูทล
ิ
o ผู ้บริโภคดืม
่ น้ าแก ้วสอง ได ้อรรถประโยชน์ รวม 18 ยูทล
ิ
อรรถประโยชน์หน่วยท ้ายสุด (MU) เท่ากับ 8 ยูทล
ิ
การหาค่า MU
MU1 = TU1 – TU0
MU
= TU
X
ในกรณีทบ
ี่ ริโภค
ครัง้ ละหลายหน่วย
5
ิ ค ้า X
ปริมาณสน
(หน่วยที)่
0
1
2
3
4
5
6
7
อรรถประโยชน์รวม
(TU)
0
4
10
17
22
24
24
21
อรรถประโยชน์หน่วยท ้ายสุด
(MU)
0
4
6
7
5
2
0
-3
6
ั พันธ์ของ TU และ MU ได ้ดังนี้
สรุปความสม
TU
24
22
21
17
 TU และ MU สาหรับ
ิ ค ้า
การบริโภคสน
หน่วยแรกๆ มีคา่
เพิม
่ ขึน
้ เรือ
่ ยๆ
TU
10
4
0
MU
7
6
5
4
2
0
–3
1
2
3
4
5
6
QX
7
 เมือ
่ MU เป็ นบวก 
TU จะมีคา่ เพิม
่ ขึน
้
เรือ
่ ยๆ
 เมือ
่ MU เป็ นศูนย์ 
TU จะมีคา่ สูงสุด
1
2
3
4
5
6
QX
7
MU
 เมือ
่ MU เป็ นลบ 
TU จะมีคา่ ลดลง
เรือ
่ ย
7
ั พันธ์ของ TU และ MU เป็ นไปตามกฎแห่งการลดน ้อยถอยลงของ
ความสม
อรรถประโยชน์หน่วยท ้ายสุด (Law of Diminishing Marginal Utility) ในชว่ งที่
MU มีคา่ ลดลง คือตัง้ แต่หน่วยที่ 3 เป็ นต ้นไป
ิ ค ้าหรือบริการมาบาบัดความต ้องการเพิม
 กฎนีม
้ วี า่ “เมือ
่ ผู ้บริโภคได ้รับสน
่ ขึน
้
ิ ค ้าหรือบริการนัน
เรือ
่ ยๆ ทีละหน่วย อรรถประโยชน์หน่วยท ้ายสุดของสน
้ จะลดลง
ตามลาดับ”
ั (Slop) ของเสน้ TU
MU คือความชน
TU = dTU
X
dx
ตัวอย่างการหา MU จากสมการ TU
MU =
TU =
MU =
10X - X2
10 – 2X
8
4.2.2 ดุลยภาพของผู ้บริโภควิเคราะห์โดยทฤษฎีอรรถประโยชน์
ดุลยภาพของผู ้บริโภค (Consumer’s Equilibrium)
 หมายถึง สภาวการณ์ทผ
ี่ ู ้บริโภคได ้รับความพอใจสูงสุด จากการ
ิ ค ้าหรือบริการ จากรายได ้ทีม
เลือกบริโภคสน
่ อ
ี ยูอ
่ ย่างจากัด ซงึ่
เป็ นปริมาณทีเ่ หมาะสมทีส
่ ด
ุ ทีไ่ ม่คด
ิ จะเปลีย
่ นแปลงไปอีก
 ดุลยภาพของผู ้บริโภค แยกเป็ น 4 กรณี คือ
ื้ สน
ิ ค ้าเพียงชนิดเดียว
 กรณีซอ
ื้ สน
ิ ค ้า 2 ชนิด
 กรณีซอ
ิ ค ้า 2 ชนิด มีราคาเท่ากัน
 สน
ิ ค ้า 2 ชนิด มีราคาไม่เท่ากัน
 สน
ิ ค ้ามากกว่า 2 ชนิด
 สน
9
ิ ค ้า 1 ชนิด
การแสวงหาความพอใจสูงสุดจากการเลือกบริโภคสน
ผู ้บริโภคจะมีความพอใจสูงสุดโดยการเปรียบเทียบอรรถประโยชน์หน่วยท ้ายสุด
ิ ค ้านัน
ี ไปจากการซอ
ื้ สน
ิ ค ้านัน
ทีไ่ ด ้จากการบริโภคสน
้ กับ MU ของเงินทีต
่ ้องเสย
้
เงือ
่ นไขดุลยภาพของผู ้บริโภค
MUx = MUm
ตัวอย่าง ถ ้าราคา X หน่วยละ 1 บาท และ MUm ของเงิน 1 บาท เท่ากับ 2 Utils
และมีตารางข ้อมูลการแสวงหาความพอใจสูงสุดในการเลือกบริโภค X
ิ ค ้า X (หน่วยที)่
ปริมาณสน
MUX
1
2
3
4
3
2
2
2
2
1
1
1
4
5
1
2
1
0
2
1
MUm ของเงิน 1 บาท MUm ของเงิน 0.5บาท
หาก X มีราคาลดลงเป็ นหน่วยละ 0.50 บาท
ผู ้บริโภคจะเปลีย
่ นแปลงการบริโภค X ใหม่ เพือ
่ ให ้ได ้ดุลยภาพ
จาก 3 หน่วย เป็ น 4 หน่วย
10
ิ ค ้าชนิดเดียวทีไ่ ด ้รับความพอใจสูงสุด นาราคา X
จากการเลือกบริโภคสน
ั พันธ์ในรูปตาราง และกราฟ
กับปริมาณการบริโภค X มาแสดงความสม
Px
Qx
1
3
0.50
4
P
1
0.50
D
0
3
4
Q
ั พันธ์เป็ นไปตามกฎของอุปสงค์ เสน้ D คือเสนอุ
้ ปสงค์สว่ นบุคคล
ความสม
11
ิ ค ้าหลายชนิด
การแสวงหาความพอใจสูงสุดจากการเลือกบริโภคสน
ิ ค ้า 2 ชนิด มีราคาเท่ากัน
1. สน
ผู ้บริโภคจะมีความพอใจสูงสุดโดยการเปรียบเทียบอรรถประโยชน์
ิ ค ้า 2 ชนิด
หน่วยท ้ายสุดทีไ่ ด ้จากการบริโภคสน
เงือ
่ นไขดุลยภาพของผู ้บริโภค
MUX = MUY
้
โดยใชงบประมาณทั
ง้ หมด
ิ ค ้า 2 ชนิด คือ
ตัวอย่าง ผู ้บริโภคคนหนึง่ มีรายได ้ 10 บาท มีสน
ิ ใจเลือก ภายใต ้งบประมาณจากัดทีม
X และ Y ให ้ตัดสน
่ อ
ี ยู่ โดย
ิ ค ้าทัง้ 2 ชนิดมีราคาเท่ากัน คือ หน่วยละ 1 บาท
ราคาสน
12
ิ ค ้า
สน
หน่วยที่
ิ ค ้า X (PX = 1)
สน
ิ ค ้า Y (PY = 1)
สน
MUX
TUX
MUY
TUY
1
21
21
10
10
2
18
39
9
19
3
15
54
7
26
4
12
66
6
32
5
9
75
4
36
6
6
81
2
38
7
0
81
0
38
8
-6
75
-2
36
้ น 14 บาท ได ้ TU = 119 util
1. X = 7, Y = 7 ใชเงิ
MUx = MUy 2. X = 6, Y = 4 ใชเงิ
้ น 10 บาท ได ้ TU = 113 util
้ น 7 บาท ได ้ TU = 94 util
3. X = 5, Y = 2 ใชเงิ
สรุป ผู ้บริโภคจะได ้ความพึงพอใจ (อรรถประโยชน์รวม) สูงสุด และมีเงินพอ
ื้ X = 6, Y=4
โดยซอ
13
ิ ค ้าหลายชนิด
การแสวงหาความพอใจสูงสุดจากการเลือกบริโภคสน
ิ ค ้า 2 ชนิด มีราคาไม่เท่ากัน
2. สน
ผู ้บริโภคจะมีความพอใจสูงสุดโดยการเปรียบเทียบอรรถประโยชน์
ิ ค ้าชนิดนัน
ิ ค ้า 2 ชนิด
หน่วยท ้ายสุดทีไ่ ด ้รับต่อราคาสน
้ ของสน
เงือ
่ นไขดุลยภาพของผู ้บริโภค
MUX = MUY
Px
Py
้
โดยใชงบประมาณทั
ง้ หมด
ิ ค ้า 2 ชนิด คือ X
ตัวอย่าง ผู ้บริโภคคนหนึง่ มีรายได ้ 10 บาท มีสน
ิ ใจเลือก ภายใต ้งบประมาณจากัดทีม
และ Y ให ้ตัดสน
่ อ
ี ยู่ โดยราคา
X หน่วยละ 3 บาท และราคา Y หน่วยละ 1 บาท
14
ิ ค ้า
สน
ิ ค ้า X (PX = 3)
สน
หน่วยที่ MUX
TUX
ิ ค ้า Y (PY = 1)
สน
MUX/PX MUY
TUY
MUY/PY
1
21
21
7
10
10
10
2
18
39
6
9
19
9
3
15
54
5
7
26
7
4
12
66
4
6
32
6
5
9
75
3
4
36
4
6
6
81
2
2
38
2
7
0
81
0
0
38
0
8
-6
75
-2
-2
36
-2
้ น 6 บาท ได ้ TU = 47 util
MUx = MUy 1. X = 1, Y = 3 ใชเงิ
Px
Py
้ น 10 บาท ได ้ TU = 71 util
2. X = 2, Y = 4 ใชเงิ
้ น 17 บาท ได ้ TU = 102 util
3. X = 4, Y = 5 ใชเงิ
้ น 24 บาท ได ้ TU = 119 util
4. X = 6, Y = 6 ใชเงิ
้ น 28 บาท ได ้ TU = 119 util
5. X = 7, Y = 7 ใชเงิ
้ น 32 บาท ได ้ TU = 111 util
6. X = 8, Y = 8 ใชเงิ
สรุป ผู ้บริโภคจะได ้ความพึงพอใจ (อรรถประโยชน์รวม) สูงสุด และมีเงินพอ
ื้ X = 2, Y=4
โดยซอ
15
ั พันธ์ของราคาและปริมาณซอ
ื้ X
จากการเปลีย
่ นแปลงราคา X แสดงความสม
้ ปสงค์สว่ นบุคคลในการซอ
ื้ X ได ้
เป็ นตาราง และเสนอุ
Px
Qx
1
3
6
2
P
3
1
0
D
2
6
Q
16
ิ ค ้าหลายชนิด
การแสวงหาความพอใจสูงสุดจากการเลือกบริโภคสน
ิ ค ้ามากกว่า 2 ชนิด
3. สน
ผู ้บริโภคจะมีความพอใจสูงสุดโดยการเปรียบเทียบอรรถประโยชน์หน่วย
ิ ค ้าชนิดนัน
ิ ค ้าทุกชนิดทีเ่ ลือกบริโภค
ท ้ายสุดทีไ่ ด ้รับต่อราคาสน
้ ของสน
เงือ
่ นไขดุลยภาพของผู ้บริโภค
ิ ค ้า n = ชนิด
ในการบริโภคสน
MUA = MUB = MUC = … = MUn
PA
PB
PC
Pn
้
โดยใชงบประมาณทั
ง้ หมด
และในกรณีทก
ี่ าหนด MU ของเงินมาให ้ ดุลยภาพของผู ้บริโภค คือ
MUA = MUB = MUC = … = MUn = MUm
PA
PB
PC
Pn
Pm
้
โดยใชงบประมาณทั
ง้ หมด
17
การหาอุปสงค์ไขว ้จากดุลยภาพการบริโภค
ั พันธ์ของราคา X กับปริมาณการบริโภค Y โดยกาหนดให ้สงิ่
นาความสม
อืน
่ ๆ คงที่ มาแสดงเป็ นอุปสงค์ไขว ้ของ Y
Px
1
Qy
4
3
4
Px
Dc
3
1
0
4
Qy
้ ง้ ฉาก แสดงว่าสน
ิ ค ้า X และ Y ไม่มค
เสน้ Dc เป็ นเสนตั
ี วามเกีย
่ วข ้องกัน
18
การหาอุปสงค์ตอ
่ รายได ้จากดุลยภาพการบริโภค
ั พันธ์ของรายได ้หรือเงินงบประมาณทีม
นาความสม
่ ี กับปริมาณการบริโภค X
โดยกาหนดให ้สงิ่ อืน
่ ๆ คงที่ จะเป็ นอุปสงค์ตอ
่ รายได ้ของ X
ื้ X = 2 หน่วย
ตัวอย่างเดิม เมือ
่ ผู ้บริโภคมีรายได ้ 10 บาท ดุลยภาพเกิดขึน
้ โดยซอ
และ Y = 4 หน่วย หากรายได ้ของผู ้บริโภคเพิม
่ เป็ น 17 บาท ในขณะทีร่ าคา X และ
Y ยังคงเดิม ดุลยภาพของผู ้บริโภคจะเปลีย
่ นไป โดย บริโภค X = 4 หน่วย, Y = 5
้
หน่วย ใชรายได
้หมด 17 บาทพอดี
้ ปสงค์ตอ
ิ ค ้า X และ Y
นาตัวเลขในตารางมาสร ้างเสนอุ
่ รายได ้ของสน
Y(รายได ้)
รายได ้
Qx
Qy
10
2
4
17
4
5
Px =3 ,Py = 1
DX
Y(รายได ้)
17
17
10
10
DY
Qy
Qx 0
4
5
ิ ค ้า X และ Y เป็ นสน
ิ ค ้าปกติ (Normal goods) 19
สน
0
2
4
้
4.1 ทฤษฎีเสนความพอใจเท่
ากัน (Indifference Curve Theory)
ิ ค ้าไม่สามารถนับออกมา
Hicks เสนอแนวคิดว่า อรรถประโยชน์ทไี่ ด ้รับจากการบริโภคสน
ิ ค ้าได ้ว่ามีมากน ้อย
เป็ นหน่วยได ้ แต่สามารถลาดับความพอใจทีไ่ ด ้รับจากการบริโภคสน
้
กว่ากัน จึงเรียกอรรถประโยชน์แบบนีว้ า่ Ordinal Utility โดยมีเสนความพอใจเท่
ากัน
(Indifference Curve) เป็ นเครือ
่ งมือในการวิเคราะห์
้
 การวิเคราะห์ตามทฤษฎีเสนความพอใจเท่
ากัน อยูภ
่ ายใต ้สมมติฐาน 3 ประการ คือ
1. ผู ้บริโภคสามารถเปรียบเทียบความพอใจและเรียงลาดับความพอใจโดยบอกได ้
ิ ค ้าชุดหนึง่ มากกว่าหรือน ้อยกว่าหรือเท่ากับ
ว่ามีความพอใจในสว่ นผสมของสน
่ ชอบสว่ นผสม A มากกว่า สว่ นผสมของ B หรือชอบสว่ นผสมของ
สว่ นผสมอืน
่ ๆ เชน
มากกว่าสว่ นผสมของA หรือชอบสว่ นผสมของ A เท่ากับสว่ นผสมของ B
่ ชอบ
2. แบบแผนความพอใจของผู ้บริโภคมีความสอดคล ้องและต่อเนือ
่ งกัน เชน
สว่ นผสม A > B แต่ชอบสว่ นผสม B > C แสดงว่าต ้องชอบสว่ นผสม A > C ด ้วย
ิ ค ้าทีม
ิ ค ้ามากขึน
3. สว่ นผสมของสน
่ ป
ี ริมาณสน
้ กว่าสว่ นผสมเดิม ต ้องใหความ
้
พอใจแก่ผู ้บริโภคในระดับทีส
่ งู ขึน
้ กว่าเดิมเสมอ
20
้
4.3.1 เสนความพอใจเท่
ากัน (Indifference Curve: IC)
้ แ
ิ ค ้า 2 ชนิดในสด
ั สว่ นต่างๆ ทีท
เสน้ IC หมายถึง เสนที
่ สดงสว่ นผสมของสน
่ า
ให ้ผู ้บริโภคได ้รับความพอใจเท่ากัน
ตารางแสดงความพอใจเท่ากัน (Indifference Schedule)
ิ ค ้า 2 ชนิดทีใ่ ห ้ความพอใจแก่
เป็ นตารางทีแ
่ สดงสว่ นผสมต่างๆ ของสน
ิ ค ้า 2 ชนิด คือ X และ Y ซงึ่ มี
ผู ้บริโภคเท่ากัน โดยสมมติให ้ผู ้บริโภคบริโภคสน
ั สว่ นต่างๆ
สว่ นผสมของ X และ Y ในสด
สว่ นผสม
X (หน่วย)
Y (หน่วย)
A
5
30
B
10
18
C
15
13
D
20
10
E
25
8
F
30
7
21
Y
A
30
B
18
C
13
D
10
8
7
0
5
10
15
20
E
F
25
30
IC
X
ิ ค ้า 2 ชนิด ทีใ่ ห ้ระดับความพอใจเท่าเดิม เป็ นไปตาม Law of
การทดแทนกันของสน
ิ ค ้าเพิม
Diminishing Marginal Utility คือ เมือ
่ บริโภคสน
่ ขึน
้ เรือ
่ ยๆ MU ทีไ่ ด ้รับจาก
ิ ค ้าจะลดลงเรือ
การบริโภคสน
่ ย ๆ เพราะเมือ
่ เริม
่ บริโภค ความพอใจทีไ่ ด ้รับจะสูงมาก
ิ ค ้าอีกชนิดหนึง่ จานวนมากเพือ
ในหน่วยแรกๆ จึงยินดีสละสน
่ แลกกับการบริโภค
ิ ค ้านี้ 1 หน่วย แต่เมือ
ิ ค ้านีเ้ พิม
สน
่ บริโภคสน
่ ขึน
้ เรือ
่ ยๆ ความพอใจทีไ่ ด ้รับจะค่อยๆ
ิ ค ้าอีกชนิดหนึง่ น ้อยลง เพือ
ิ ค ้านี้ 1 หน่วย เสน้
ลดลง ผู ้บริโภคจึงยินดีสละสน
่ แลกสน
ความพอใจเท่ากันโค ้งเว ้าเข ้าหาจุด origin
22
แผนภาพความพอใจเท่ากัน (Indifference Map)

้
เสน้ IC ของผู ้บริโภคคนหนึง่ จะมีได ้หลายเสนตามระดั
บความ
พอใจของผู ้บริโภคทีม
่ ห
ี ลายระดับ ชุดของเสน้ IC ของผู ้บริโภค
เรียกว่า แผนภาพความพอใจเท่ากัน (Indifference Map)
Y
IC3
IC2
IC1
0
X
23
้
คุณสมบัตข
ิ องเสนความพอใจเท่
ากัน
้
้
ั เป็ นลบ) แสดง
o เสน้ IC เป็ นเสนตรงหรื
อโค ้ง ทีท
่ อดลงจากซายไปขวา
(มีความชน
ิ ค ้าชนิดหนึง่ เพิม
ี สละสน
ิ ค ้าอีกชนิดหนึง่ ลดลง ความ
ถึงการทีไ่ ด ้สน
่ ขึน
้ ต ้องเสย
พอใจจึงจะเท่าเดิม slope ของเสน้ IC เรียกว่าอัตราหน่วยท ้ายสุดของการทดแทน
ิ ค ้า 2 ชนิด (Marginal Rate of Substitution: MRS)
ของสน
้ อ
้
o เสน้ IC ทีอ
่ ยูท
่ างขวามือ แสดงความพอใจของผู ้บริโภคทีส
่ งู กว่าเสนที
่ ยูท
่ างซาย
้ ้องต่อเนือ
ิ ค ้าสามารถ
o เสน้ IC ในแต่ละเสนต
่ งกันตลอดไม่ขาดชว่ ง โดยกาหนดให ้สน
แยกเป็ นหน่วยย่อยในการบริโภคได ้
้
ิ ค ้า 2 ชนิดทดแทนกันได ้แต่
o เสน้ IC มักเป็ นเสนโค
้งเว ้าเข ้าหาจุดกาเนิด เพราะสน
ั จะลดลงเรือ
ไม่สมบูรณ์ ค่าความชน
่ ยๆ ตามกฎการลดน ้อยถอยลงของ MU คือเมือ
่
ิ ค ้าชนิดหนึง่ เพิม
ิ ค ้าอีกชนิดหนึง่ ในจานวนทีล
บริโภคสน
่ ขึน
้ เรือ
่ ยๆ ต ้องสละสน
่ ดลง
ั ผัสกันไม่ได ้
o เสน้ IC ในแผนภาพเดียวกันจะตัดกันหรือสม
Y
.A .C
.
B
IC2
IC1
0
X
24
ิ ค ้า 2 ชนิด
อัตราหน่วยท ้ายสุดของการทดแทนกันระหว่างสน
(Marginal Rate of Substitution: MRS)
ิ ค ้าชนิดหนึง่ เมือ
ิ ค ้าอีกชนิด
MRS หมายถึง อัตราการลดลงของสน
่ ได ้รับสน
หนึง่ เพิม
่ ขึน
้ 1 หน่วย ทัง้ นีเ้ พือ
่ รักษาระดับความพอใจให ้คงเดิม
ิ ค ้า 2 ชนิด ในทิศทางตรงกันข ้าม
MRS แสดงถึงการทดแทนกันของสน
โดยให ้ความพอใจแก่ผู ้บริโภคเท่าเดิม MRS นีเ้ ป็ นค่า slope ของเสน้ IC
ิ ค ้าให ้เลือกบริโภคคือ สน
ิ ค ้า X และ Y สามารถเขียนค่า
หากผู ้บริโภคมีสน
ของ MRS ได ้ 2 รูปแบบ คือ
MRSYX = Y
X
เรียกว่า Marginal Rate of Substitution of Y for X
ิ ค ้า Y ทดแทนสน
ิ ค ้า X คือ Y X
หมายถึงบริโภคสน
MRSXY = Y
X
เรียกว่า Marginal Rate of Substitution of X for Y
ิ ค ้า X ทดแทนสน
ิ ค ้า Y คือ X Y
หมายถึงบริโภคสน
ค่า MRS เป็ นตัวกาหนดลักษณะของเสน้ IC ว่าเป็ นอย่างไร
25
ิ ค ้า 2 ชนิดมักทดแทนกันได ้แต่ไม่สมบูรณ์ จึงมีคา่ MRS ลดลงเรือ
สน
่ ยๆ
้
เสน้ IC เป็ นเสนโค
้งเว ้าเข ้าหาจุดกาเนิด (convex to the origin)
Y
A
8
B
5
0
IC
2
3
X
จากรูป slope ของเสน้ IC เขียนได ้ 2 แบบ คือ
MRSXY = - Y = - 3
X
1
MRSYX = - Y = - 3
X
1
(A→B)
(B→A)
26
ิ ค ้า 2 ชนิดสามารถทดแทนกันได ้อย่างสมบูรณ์
สน
Y
ค่า MRS คงที่
้
้
เสน้ IC เป็ นเสนตรงทอดลงจากซ
ายไปขวา
ิ ค ้าชนิดหนึง่ ลงในลักษณะ
ผู ้บริโภคลดการบริโภคสน
ิ ค ้าอีกชนิดเพิม
คงที่ เพือ
่ ให ้ได ้สน
่ ขึน
้ ทีละ 1 หน่วย
IC
0
X
Y
ิ ค ้า 2 ชนิดไม่สามารถนามาทดแทนกัน
สน
้
ได ้เลย (ต ้องใชประกอบกั
น)
ค่า MRS มี 2 ค่า คือศูนย์และอนันต์ ()
้ กงอเป็ นมุมฉาก
เสน้ IC เป็ นเสนหั
IC
2
0
1
X
27
้
้
4.3.2 เสนงบประมาณหรื
อเสนราคา
(Budget line or Price line)
้ แ
ิ ค ้า 2 ชนิด ซงึ่ สามารถซอ
ื้
หมายถึงเสนที
่ สดงให ้เห็นถึงจานวนต่าง ๆ ของสน
ได ้ด ้วยเงินจานวนหนึง่ ตามทีก
่ าหนดไว ้ ณ ราคาตลาดในขณะนัน
้
้
้ อ
ื้
ทุกๆ จุดบนเสนงบประมาณ
แสดงถึงงบประมาณทีเ่ ท่ากันของผู ้บริโภคทีใ่ ชซ
ิ ค ้า ในสด
ั สว่ นของสน
ิ ค ้าแตกต่างกันไปในแต่ละจุด
สน
้
การสร ้างเสนงบประมาณจะต
้องทราบถึงรายได ้ (I) ของผู ้บริโภคทีม
่ อ
ี ยูอ
่ ย่าง
ิ ค ้า 2 ชนิด เชน
่ สน
ิ ค ้า X และสน
ิ ค ้า Y
จากัด และราคาสน
สมการงบประมาณ:
I = (Px .X)+(Py .Y)
(Py .Y) = I – (Px . X)
Y = I – Px (X)
Py Py
้
Slope เสนงบประมาณ
– I/Py = –Px
I/Px
Py
ิ ค ้าเพือ
การเลือกบริโภคสน
่ Maximize Utility ต ้อง
้
ิ ค ้า 2
ใชงบประมาณหมดพอดี
จุดเลือกบริโภคสน
้
ชนิด จึงต ้องอยูบ
่ นเสนงบประมาณเท่
านัน
้
Y
I
Py
●
Q
Slope = - Px
Py
Y
●
●
0
A
X
B
●
R
X
I
Px
28
้
การเปลีย
่ นแปลงเสนงบประมาณ


ิ ค ้าเปลีย
ราคาสน
่ นแปลง
รายได ้ของผู ้บริโภคเปลีย
่ นแปลง
ิ ค ้าเปลีย
1. ราคาของสน
่ นแปลงโดยรายได ้ทีเ่ ป็ นตัวเงินคงที่
Y
Y
B1
A
B
B2
0
B2
B
B1
Px  I และ Py คงที่
X
0
A
Py  I และ Px คงที่
X
29
2. รายได ้ทีแ
่ ท ้จริง (real income) เปลีย
่ นแปลง


ิ ค ้าทัง้ 2 ชนิดไม่
รายได ้ทีเ่ ป็ นตัวเงินเปลีย
่ นแปลงโดยราคาสน
เปลีย
่ นแปลง
ิ ค ้า 2 ชนิดเปลีย
ั สว่ นเดียวกันโดยรายได ้ทีเ่ ป็ น
ราคาสน
่ นแปลงในสด
ตัวเงินไม่เปลีย
่ นแปลง
้
้ ม
เสนงบประมาณจะ
shift ขนานกับเสนเดิ
Y
A1
A
A2
0
B2
B
B1
X
30
้
4.3.3 ดุลยภาพของผู ้บริโภควิเคราะห์โดยทฤษฎีเสนความพอใจเท่
ากัน
ิ ค ้าแล ้วมีความ
ดุลยภาพของผู ้บริโภค เป็ นจุดซงึ่ ผู ้บริโภคเลือกบริโภคสน
ั ผัสของเสน้
พอใจสูงสุด (Maximize Utility) ดุลยภาพจะเกิดขึน
้ ณ จุดสม
้
ความพอใจเท่ากันกับเสนงบประมาณ
ซงึ่ ผู ้บริโภคมีความพอใจสูงทีส
่ ด
ุ
เท่าทีจ
่ ะเป็ นไปได ้ภายใต ้งบประมาณทีจ
่ ากัด
Y
A
ดุลยภาพการบริโภคอยูท
่ จ
ี่ ด
ุ E
slope IC = slope budget line
E1
MRSxy =
 E2
Y
0
E
X
ดุลยภาพการบริโภคอยูท
่ อ
ี่ ต
ั ราการ
ิ ค ้า มี
ทดแทนหน่วยท ้ายสุดของสน
ิ ค ้า
ค่าเท่ากับอัตราสว่ นของราคาสน
IC3
IC2
IC1
B
Px
Py
X
31
้ โ่ ค ้งเว ้าเข ้าหา origin ดุลยภาพของการ
ในกรณีทเี่ สน้ IC ไม่ใชเ่ สนที
ั ผัสของ IC และ budget line เชน
่ กัน
บริโภคก็ยงั คงเกิดทีจ
่ ด
ุ สม
้ กงอเป็ นมุมฉาก
เมือ
่ เสน้ IC เป็ นเสนหั
Y
A
Y
IC2
E
IC1
0
X
B
X
ิ ค ้า 2 ชนิดนีท
สน
้ ดแทนกันไม่ได ้เลย
32
้
เมือ
่ เสน้ IC เป็ นเสนตรง
Y
Y
A E

A
IC1
0
B
IC
IC2 3
IC3
IC2
IC1
X
0
ิ ค ้า 2 ชนิดนีท
สน
้ ดแทนกันสมบูรณ์
ดุลยภาพ: Corner solution
E
B

X
33
หาระดับการบริโภคจากเงือ
่ นไขดุลยภาพ

ิ ค ้า 2 ชนิด สามารถหาดุลยภาพการบริโภคได ้
หากมีคา่ MRS และราคาของสน
เงือ
่ นไขดุลยภาพ => MRSXY = - Px
PY
หรือ Y = - Px
X
Py
ตัวอย่าง ผู ้บริโภคมีรายได ้ 100 บาท Px = 10 บาท และ Py = 5 บาท และมีข ้อมูล
การบริโภคดังตาราง

สว่ น
ผสม
ิ ค้า X
สน
ิ ค้า Y
สน
MRSXY
QX
QX
QY
QY (-Y/X)
a
1
-
24
-
-
b
2
1
19
5
-5
c
3
1
15
4
-4
d
4
1
12
3
-3
e
5
1
10
2
-2
f
6
1
9
1
-1
- Px/Py = 10/5 = -2
ผู ้บริโภคจะบริโภค X=5 หน่วย
บริโภค Y=10 หน่วย
้ น = 50+50 = 100 บาท
ใชเงิ
34
4.3.4 การเปลีย
่ นแปลงดุลยภาพของผู ้บริโภค
ดุลยภาพของผู ้บริโภคเปลีย
่ นแปลงได ้จาก
ิ ค ้าเปลีย
 ราคาสน
่ นแปลงโดยรายได ้ทีเ่ ป็ นตัวเงินคงที่
 รายได ้ทีแ
่ ท ้จริงเปลีย
่ นแปลง
ิ ค ้าเปลีย
1. ราคาสน
่ นแปลงโดยรายได ้ทีเ่ ป็ นตัวเงินคงที่
1)
ิ ค ้า X เปลีย
ิ ค ้า Y และ I คงที่
เมือ
่ ราคาสน
่ นแปลงโดยราคาสน
(Px , Py และ I คงที)่
Y
เมือ
่ Px ลดลง
ื้ X เพิม
ในกรณีนี้ ซอ
่ ขึน
้ ตามกฎอุปสงค์
ื้ Y ลดลง แสดงว่า Y เป็ นสน
ิ ค ้าทีใ่ ช ้
ซอ
ทดแทนกันกับ X
A
Y
Y1
E
E1
IC0
0
X
X1 B
IC1
B1
X
35
ิ ค ้า X
การเปลีย
่ นแปลงการบริโภค Y จะเป็ นอย่างไร เมือ
่ ราคาสน
ั พันธ์ของ X และ Y ดังนี้
เปลีย
่ นแปลงไป ขึน
้ อยูก
่ บ
ั ความสม



ิ ค ้าทดแทนกัน : PX และ QY สม
ั พันธ์ทศ
สน
ิ ทางเดียวกัน

Px  (Q)  Qy

Px  (Q)  Qy
ิ ค ้าประกอบกัน : PX และ QY สม
ั พันธ์ในทิศทางตรงข ้าม
สน

Px  (Q)  Qy

Px  (Q)  Qy
ิ ค ้าทีไ่ ม่เกีย
ั พันธ์กน
สน
่ วข ้องกัน : PX และ QY ไม่สม
ั

Px  (Q)  Qy

Px  (Q)  Qy
36
2)
ิ ค ้า Y เปลีย
ิ ค ้า X และ I คงที่
เมือ
่ ราคาสน
่ นแปลงโดยราคาสน
(Py , Py และ I คงที)่
เมือ
่ Py ลดลง
ื้ Y เพิม
ในกรณีนี้ ซอ
่ ขึน
้ ตามกฎอุปสงค์
ื้ X ลดลง แสดงว่า Y เป็ นสน
ิ ค ้าทีใ่ ช ้
ซอ
ทดแทนกันกัน Y
Y
B1
Y1
B
Y
0
E
 1
IC1
E

IC0
X1 X
A
X
37
2. รายได ้ทีแ
่ ท ้จริงเปลีย
่ นแปลง โดยราคา X และราคา Y คงเดิม
(I , Px และ Py คงที)่
เมือ
่ I เพิม
่ ขึน
้
ื้ X และ Y เพิม
ในกรณีนี้ ซอ
่ ขึน
้
ิ ค ้าปกติ
แสดงว่า X และ Y เป็ นสน
Y
A1
A
Y1
Y
การเปลีย
่ นแปลงการบริโภค
ิ ค ้า 2 ชนิด จะเป็ นอย่างไร
สน
E1
E
เมือ
่ รายได ้ทีแ
่ ท ้จริง
เปลีย
่ นแปลงไป ขึน
้ อยูก
่ บ
ั ว่า
ิ ค ้า 2 ชนิด เป็ นสน
ิ ค ้า
สน
IC1
IC0
0
X
X1
B
B1
X
ประเภทใด
ิ ค ้าปกติ : รายได ้แท ้จริงกับ Q เปลีย
o สน
่ นทิศทางเดียวกัน
ิ ค ้าด ้อยคุณภาพ : รายได ้ทีแ
o สน
่ ท ้จริงกับ Q มีทศ
ิ ทางตรงข ้าม
o Ir Qx Qy
o Ir Qx Qy
38
้ ปสงค์ของผู ้บริโภคจากดุลยภาพ
4.3.5 การสร ้างเสนอุ
้
โดยทฤษฎีเสนความพอใจเท่
ากัน

้ ปสงค์ของผู ้บริโภคทีส
เสนอุ
่ ร ้างจากดุลยภาพมี 3 กรณี คือ

Price Demand : พิจารณาจากการเปลีย
่ นแปลงของดุลยภาพ
ิ ค ้าทีพ
เมือ
่ ราคาสน
่ จ
ิ ารณาเปลีย
่ นแปลงโดยกาหนดให ้สงิ่ อืน
่ ๆ คงที่

Income Demand : พิจารณาจากการเปลีย
่ นแปลงของดุลยภาพ
เมือ
่ รายได ้ทีแ
่ ท ้จริงเปลีย
่ นแปลง โดยกาหนดให ้สงิ่ อืน
่ ๆ คงที่

Cross Demand : พิจารณาจากการเปลีย
่ นแปลงดุลยภาพ เมือ
่
ิ ค ้าอืน
ราคาสน
่ เปลีย
่ นแปลง โดยกาหนดให ้สงิ่ อืน
่ ๆ คงที่
39
1.
Y
IC1 IC2
A
E1
0
P
X1
IC3
E2
E3
X2 B1 X3
PCC
B2
PX
P1
P2
P3
QX
X1
X2
X3
X
B3
PCC = Price Consumption Curve
้
เสนการบริ
โภคตามราคา
P1
P2
P3
0
อุปสงค์ตอ
่ ราคา
(Price Demand)
D
X1
X2
X3
X
40
Y
2. อุปสงค์ตอ
่ รายได ้
(Income Demand)
A3
A2
ICC
A1
E
E1
IC1
0
Y
X
IC3
Y
I1
QX
X
IC2
I2
X1
I3
X2
E2
B2
X1 X2 B1
DI
I3
X
B3
-
ICC = Income Consumption Curve
้
เสนการบริ
โภคตามรายได ้
I2
I1
0
X
X1 X2
X
41

้ ปสงค์ตอ
เสนอุ
่ รายได ้อาจมี slope เป็ นบวกหรือลบก็ได ้
ิ ค ้านั น
ิ ค ้าประเภทใด
ขึน
้ อยูก
่ บ
ั ว่าสน
้ เป็ นสน

ิ ค้าปกติ
slope เป็นบวก : => สน
Ir   Q  (ในทีน
่ ี้ Ir = Real Income)
Ir   Q 

ิ ค้าด้อยคุณภาพ
slope เป็นลบ : => สน
Ir   Q 
Ir   Q 
42
ิ ค ้า X และ Y เป็ นสน
ิ ค ้าปกติ
สน
Y
รายได้
รายได้
A1
Dx
ICC
Dy
A
E1
Y2
Y1
I2
I2
E
IC2
I1
I1
IC1
0
X1 X2
B
B1
X
0
X1 X2
X
0
Y1
Y2
Y
43
ิ ค ้า X เป็ นสน
ิ ค ้าปกติ สน
ิ ค ้า Y เป็ นสน
ิ ค ้าด ้อยคุณภาพ
สน
Y
รายได ้
รายได ้
A1
A
Y1
Y2
Dx
IC0
IC1
E
E1
ICC
I2
I2
I1
I1
Dy
0
X1
X2B B1
X
0
X1
X2
X
0
Y
Y2Y1
44
3. อุปสงค์ไขว ้ (Cross Demand)
ิ ค ้า Y เมือ
หาอุปสงค์ไขว ้ของสน
่ Px เปลีย
่ นไป โดย Py และ I คงเดิม
ิ ค ้า X และ Y ไม่เกีย
สน
่ วข ้องกัน
PX
PX QY
10 6
20 6
DC
20
10
0
6
QY
45
ิ ค ้า X และ Y เป็ นสน
ิ ค ้าประกอบกัน
สน
Y
PX
QY
5
8
7
5
PX
A
PCC
7
5
E
E1
8
IC0
5
DC
IC1
0
8 10 B1
B
X
0
5
7
QY
46
ิ ค ้า X และ Y เป็ นสน
ิ ค ้าทีท
สน
่ ดแทนกัน
PX QY
5
8
Y
6
7
PX
A
7
6
0
DC
E1
8
E
PCC
IC0
IC1
5
B1 9
5
B
X
0
6
7
QY
47
ความพอใจสว่ นเกินของผู ้บริโภค : (Consumer’s Surplus)

Consumer’s Surplus หมายถึงความแตกต่าง
ิ ค ้าทีผ
ระหว่างราคาสน
่ ู ้บริโภคเต็มใจจะจ่ายกับ
ิ ค ้าทีผ
ราคาสน
่ ู ้บริโภคจ่ายไปจริงเพือ
่ ให ้ได ้
ิ ค ้ามาบริโภค
สน
ิ ค ้า X อยูท
หากระดับราคาสน
่ ี่ PX = 4
ื้ X = 4 หน่วย
ผู ้บริโภคซอ
ิ ค ้า X ไป = 4  4 = 16 บาท
จ่ายค่าสน
สว่ นเกินของผู ้บริโภค = 28–16 = 12 บาท
PX
QX
10
1
8
6
4
2
3
4
2
0
5
6
48

สว่ นเกินของผู ้บริโภค = OAEQ – OPEQ = APE

ั พันธ์ของ P และสว่ นเกินของผู ้บริโภค จะมีทศ
ความสม
ิ ทางตรงข ้าม
P
A
P
consumer’s surplus
E
D
0
Q
B
Q
้ ปสงค์ทอ
ื้
สว่ นเกินของผู ้บริโภค เป็ นพืน
้ ทีใ่ ต ้เสนอุ
ี่ ยูเ่ หนือราคาทีซ
่ อ
49