พฤติกรรมผูบ ้ ริโภค ความหมายของการบริโภค  การบริโภคในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึงการ ใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการเพือ ่ สนอง ความต้องการของมนุษย์ รวมถึงการนาสินค้า และบริการมาใช้ประโยชน์เพือ ่ การผลิตเป็ น สินค้าและบริการอืน ่ ๆ ประเภทของการบริโภค   การบริโภคสินค้าไม่คงทน (nondurable goods consumption) คือการบริโภคสิง่ ของชนิดใดชนิดหนึ่ง แล้วสิง่ ของชนิดนัน ้ จะสิน ้ เปลืองหรือใช้หมดไป การ บริโภคลักษณะนี้เรียกว่า destruction เช่น.

Download Report

Transcript พฤติกรรมผูบ ้ ริโภค ความหมายของการบริโภค  การบริโภคในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึงการ ใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการเพือ ่ สนอง ความต้องการของมนุษย์ รวมถึงการนาสินค้า และบริการมาใช้ประโยชน์เพือ ่ การผลิตเป็ น สินค้าและบริการอืน ่ ๆ ประเภทของการบริโภค   การบริโภคสินค้าไม่คงทน (nondurable goods consumption) คือการบริโภคสิง่ ของชนิดใดชนิดหนึ่ง แล้วสิง่ ของชนิดนัน ้ จะสิน ้ เปลืองหรือใช้หมดไป การ บริโภคลักษณะนี้เรียกว่า destruction เช่น.

พฤติกรรมผูบ
้ ริโภค
ความหมายของการบริโภค

การบริโภคในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึงการ
ใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการเพือ
่ สนอง
ความต้องการของมนุษย์ รวมถึงการนาสินค้า
และบริการมาใช้ประโยชน์เพือ
่ การผลิตเป็ น
สินค้าและบริการอืน
่ ๆ
ประเภทของการบริโภค


การบริโภคสินค้าไม่คงทน (nondurable goods
consumption) คือการบริโภคสิง่ ของชนิดใดชนิดหนึ่ง
แล้วสิง่ ของชนิดนัน
้ จะสิน
้ เปลืองหรือใช้หมดไป การ
บริโภคลักษณะนี้เรียกว่า destruction เช่น การบริโภค
น้า อาหาร ยารักษาโรค น้ามันเชื้อเพลิง ฯลฯ
การบริโภคสินค้าคงทน (durable goods
consumption) คือการบริโภคสิง่ ของอย่างใด อย่างหนึ่ง
โดยสิง่ ของนัน
้ ยังคงใช้ได้อก
ี การบริโภคลักษณะนี้ เรียกว่า
diminution เช่น การอาศัยบ้านเรือน การใช้รถยนต์ พัด
ลม โทรทัศน์ ฯลฯ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้วา่ สินค้าคงทน
เหล่านี้จะใช้แล้วไม่หมดไปในทีเดียว แต่ก็จะค่อยๆสึกหรอ
ไป จนในทีส่ ด
ุ จะไม่สามารถนามาใช้ได้อก
ี
ปัจจัยทีใ่ ช้กาหนดการบริโภค






รายได้ของผูบ
้ ริโภค
ราคาของสินค้าและบริการ
ปริมาณเงินหมุนเวียนทีอ่ ยูใ่ นมือ
ปริมาณของสินค้าในตลาด
การคาดคะเนราคาของสินค้าหรือบริการในอนาคต
ระบบการค้าและการชาระเงิน
การศึกษาพฤติกรรมผูบ
้ ริโภคเป็ นการศึกษา
พฤติกรรมในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า
และบริการต่างๆ เพือ
่ ให้ได้รบั ความพอใจ
สูงสุดจากงบประมาณทีม
่ อ
ี ยูอ
่ ย่างจากัด
ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Theory of Utility)
อรรถประโยชน์ (Utility)
: ความพอใจทีผ
่ บ
ู้ ริโภคได้รบั จากการบริโภค
สินค้าและบริการในขณะหนึ่ง
: สามารถวัดค่าได้
: หน่ วย “ยูทลิ ” (Util)
ข้าวซอย
(ชาม)
ความพอใจ
ส่วนเพิม
่
(ยูทลิ )
0
-
1
10
2
8
3
4
4
0
5
-2
้ เมือ
ความพอใจทีเ่ พิม
่ ขึน
่
้
ได้รบั ข้าวซอยเพิม
่ ขึน
จาก 0 เป็ น 1 ชาม
้ เมือ
ความพอใจทีเ่ พิม
่ ขึน
่
้
ได้รบั ข้าวซอยเพิม
่ ขึน
จาก 2 เป็ น 3 ชาม
้ เมือ
้ 1 ชาม
ความพอใจทีเ่ พิม
่ ขึน
่ ได้ขา้ วซอยเพิม
่ ขึน
Marginal Utility
อรรถประโยชน์สว่ นเพิม
่ หรือ อรรถประโยชน์หน่ วย
สุดท้าย (Marginal Utility : MU)
้
• ความพอใจทีผ
่ บ
ู้ ริโภคได้รบั เพิม
่ ขึน
้ 1 หน่ วย
จากการบริโภคสินค้าเพิม
่ ขึน
ข้าวซอย TU
MU
(ชาม) (ยูทลิ ) (ยูทลิ )
0
0
-
1
10
10
2
18
8
3
22
4
4
22
0
5
20
-2
ข้าวซอยทัง้ หมด 2 ชาม
ให้ความพอใจรวมเท่าใด
10 + 8 = 18 ยูทล
ิ
TU : Total Utility
(ความพอใจรวม)
ความพอใจรวม (Total Utility : TU)
: ผลรวมของอรรถประโยชน์สว่ นเพิม
่ (MU) ทีไ่ ด้
จากการบริโภคสินค้าตัง้ แต่หน่ วยแรกถึงหน่ วยที่
กาลังพิจารณาอยู่
TUn = MU1 + MU2 + MU3 + . . . + MUn
n
TUn =  MUi
i=1
ข้าวซอย TU
MU
(ชาม) (ยูทลิ ) (ยูทลิ )
0
0
-
1
10
10
10
-
0 = 10 ยูทล
ิ
2
18
8
18
-
10 = 8 ยูทล
ิ
3
22
4
4
22
0
5
20
-2
20
-
22 = - 2 ยูทล
ิ
Marginal Utility : MU
MUn =
MUn =
TUn
-
TU
Q
TUn – 1
ข้าวซอย TU
MU
(ชาม) (ยูทลิ ) (ยูทลิ )
0
0
-
1
10
10
2
18
8
3
22
4
4
22
0
5
20
-2
MU มีคา่ ลดลงเมือ
่ ได้
้
บริโภคสินค้าเพิม
่ ขึน
กฎการลดน้อยถอยลงของ
อรรถประโยชน์สว่ นเพิม
่
กฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์สว่ นเพิม
่
(Law of Diminishing Marginal Utility)
้
: เมือ
่ ผูบ
้ ริโภคได้บริโภคสินค้าและบริการเพิม
่ ขึน
ทีละหน่ วยแล้ว อรรถประโยชน์สว่ นเพิม
่ (MU)
ของสินค้านัน
้ จะลดลงตามลาดับ
TU
25
TU
20
15
10
5
0
MU
10
1
2
3
4
Q
5
5
0
-5
1
2
3
4
5
Q
MU
ความสัมพันธ์ของ TU และ MU
1. สินค้าทีบ
่ ริโภคหน่ วยแรกๆ จะให้ความพอใจ
ส่วนเพิม
่ ( MU ) สูงกว่าหน่ วยหลัง
2. TU มีคา่ สูงสุด เมือ
่ MU เท่ากับ “ศูนย์”
และ TU จะลดลง เมือ
่ MU มีคา่ ติดลบ
ดุลยภาพของผูบ
้ ริโภค
เมือ
่ ผูบ
้ ริโภคได้รบั ความพอใจหรืออรรถประโยชน์
รวมสูงสุดแล้ว ผูบ
้ ริโภคย่อมไม่คด
ิ เปลีย่ นแปลง
หรือปรับเปลีย่ นการบริโภคไปจากเดิม
ผูบ
้ ริโภคอยูใ่ นภาวะดุลยภาพ
ดุลยภาพของผูบ
้ ริโภค
1. กรณี ผบ
ู้ ริโภคมีรายได้ไม่จากัด
2. กรณี ผบ
ู้ ริโภคมีรายได้จากัด
2.1 กรณี มีการซื้อสินค้าชนิดเดียว
2.2 กรณี มีการซื้อสินค้าหลายชนิด
และราคาสินค้าไม่เท่ากัน
TU สูงสุด เมือ
่ MU = 0
กรณี ผบ
ู้ ริโภคมีรายได้ไม่จากัด
จานวน
ซื้อ
MU (Util)
สินค้า A TU
1
6
2
4
3
3
4
2
5
0
6
10
13
15
15
สินค้า B TU
4
2
1
0
-2
4
6
7
7
5
บริโภค A = 5 ชิน
้ , B = 4 ชิน
้ , C = 3 ชิน
้
TUt = 15 + 7 + 8
= 30 ยูทล
ิ
สินค้า C TU
5
3
0
-1
-4
5
8
8
7
3
กรณี ผบ
ู้ ริโภคมีรายได้ไม่จากัด
TUt มีคา่ สูงสุดเมือ
่
MUA =
MUB = . . . = 0
กรณี ผบ
ู้ ริโภคมีรายได้จากัด
: กรณี มีการซื้อสินค้าชนิดเดียว
เปรียบเทียบค่าอรรถประโยชน์ทเี่ ขาได้รบั จาก
สินค้าหน่ วยนัน
้ ๆ กับอรรถประโยชน์ทจี่ ะต้อง
สูญเสียไปจากการจ่ายเงินค่าซื้อสินค้าหน่ วยนัน
้
TU สูงสุดเมือ
่
MU ของสินค้านัน
้ = MU ของเงินทีใ่ ช้ซื้อสินค้า
MU ของเงินทีใ่ ช้ซื้อสินค้า
เงินทีใ่ ช้ซื้อสินค้า
เงินทีจ่ า่ ยซื้อสินค้าแต่ละหน่ วย
ราคาสินค้า
ถ้า
MUm คือ
PA
MU ของเงิน 1 หน่ วย
คือ ราคาของสินค้า A
MU ของเงินทีใ่ ช้ซื้อสินค้า A
MUm x PA
TU สูงสุดเมือ
่
MU ของสินค้านัน
้ = MU ของเงินทีใ่ ช้ซื้อสินค้า
MUA
=
MUm x PA
MUA
=
PA
TU สูงสุดเมือ
่
MUA
(MUm =
=
PA
1)
กรณี ซื้อสินค้าชนิดเดียว
TU สูงสุดเมือ
่ MUA = PA
MU , P
20
15
P = 15
10
P = 10
5
0
MUA
10
20
30
40
QA
กรณี ผบ
ู้ ริโภคมีรายได้จากัด
: กรณี มก
ี ารซื้อสินค้าหลายชนิดและราคาสินค้า
ไม่เท่ากัน
เลือกสินค้าทีใ่ ห้คา่ MU สูงสุดก่อน แล้วจึงเลือก
สินค้าทีใ่ ห้คา่ MU ต่าลงมาจนกว่างบประมาณ
จะหมด
้
MU ตา่ ลง TU สูงขึน
สินค้า A ราคา PA
สินค้า B ราคา PB
(PA  PB)
ราคา 1 บาท
สินค้า A ราคา PA บาท ให้อรรถประโยชน์ = MUA
สินค้า A ราคา 1 บาท ให้อรรถประโยชน์ =
MUA
PA
้ เมือ
ดุลยภาพของผูบ
้ ริโภค (TU สูงสุด) เกิดขึน
่
MUA
PA
=
MUB
PB
= ... =
MUn
Pn
สมมติปากการาคาด้ามละ 2 บาทและดินสอราคาแท่งละ
1 บาท และผูบ
้ ริโภคมีเงิน 8 บาท
ปากกา (ด้าม)
ดินสอ (แท่ง)
จานวน
ซื้อ
TU
MU / P
TU
MU / P
1
6
3
10
10
2
10
10
2
18
8
3
13
1.5
22
4
4
15
1
24
2
5
16
0.5
25
1
MUA
PA
=
MUB
PB
=
2
ซื้อปากกา 2 ด้าม และดินสอ 4 แท่ง
( ด้วยเงิน 8 บาท )
TUt =
10 + 24
= 34 Util
จุดอ่อนของทฤษฎีอรรถประโยชน์
1. อรรถประโยชน์ ทม
ี่ ีหน่ วยวัดเป็ นยูทลิ นัน
้
เป็ นเรือ
่ งของความรูส้ ก
ึ นึกคิด ไม่มีตวั ตน
ไม่สามารถวัดค่าได้แน่ นอน เป็ นเพียงการ
ประมาณตัวเลข ซึง่ อาจผิดพลาดได้
2. ผูบ
้ ริโภคมักไม่ได้คานึงถึงการเปรียบเทียบ
อรรถประโยชน์เพิม
่ อย่างแท้จริง เพียงแต่อาศัย
ความเคยชินในการซื้อสินค้าเท่านัน
้
จุดอ่อนของทฤษฎีอรรถประโยชน์
3. ผูบ
้ ริโภคไม่สามารถวางแผนทีจ่ ะซื้อสินค้าอะไร
จานวนเท่าใด จึงจะได้รบั อรรถประโยชน์สงู สุด
เนื่องจากภาวะตลาดเปลีย่ นแปลงอยูต
่ ลอดเวลา
ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference
curve Theory)
เส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve :
IC) หมายถึง เส้นทีแ
่ สดงการบริโภคสินค้า 2
ชนิดในสัดส่วนทีแ
่ ตกต่างกันแต่ได้รบั ความ
พอใจทีเ่ ท่ากันตลอดทัง้ เส้น ไม่วา่ จะเลือก
บริโภคทีจ่ ุดใดของเส้น มีแผนการบริโภค
สินค้าอย่างไร ผูบ
้ ริโภคก็จะได้รบั ความพอใจที่
เท่ากันทัง้ เส้น
เส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference curve
Theory)
Quantity
of Pepsi
C
B
A
0
Indifference
curve, I1
Quantity
of Pizza
เส้น IC ของผูบ
้ ริโภคคนหนึ่งๆ มีได้หลายเส้น
เนื่องจากความพอใจของผูบ
้ ริโภคมีได้หลาย
ระดับ แต่ละเส้นแทนความพอใจหนึ่งระดับ เส้น
IC ทีแ
่ สดงความพอใจในระดับทีส่ งู กว่าจะอยูด
่ า้ น
ขวามือของเส้นทีแ
่ สดงความพอใจในระดับทีต
่ ่า
กว่า
เส้นความพอใจเท่ากันหลายระดับ
Quantity
of Pepsi
C
B
D
I2
A
0
Indifference
curve, I1
Quantity
of Pizza
คุณสมบัตข
ิ องเส้นความพอใจเท่ากัน
1. เป็ นเส้นโค้งหรือเส้นตรงทีท
่ อดลงจาก
ซ้ายมาขวา ค่าความชันเป็ นลบซึง่ แสดงถึง
เมือ่ ผูบ
้ ริโภคได้บริโภคสินค้าอย่างหนึ่ง
้ จะต้องลดการบริโภคสินค้าอีก
เพิม
่ ขึน
อย่างหนึ่งชดเชยเพือ
่ ให้ได้รบั ความพอใจ
ในระดับเท่าเดิม
Indifference curves are downward
sloping.
Quantity
of Pepsi
Indifference
curve, I1
0
Quantity
of Pizza
คุณสมบัตข
ิ องเส้นความพอใจเท่ากัน
2. เส้นความพอใจเท่ากันส่วนใหญ่จะ
เว้าเข้าหาจุดกาเนิด แสดงถึง อัตรา
การทดแทนกันของสินค้า 2 ชนิดทีใ่ ช้
ทดแทนกันได้แต่ไม่สมบูรณ์
Indifference curves are bowed
inward.
Quantity
of Pepsi
14
MRS = 6
8
A
1
4
3
0
B
Indifference
curve
2
3
6
7
Quantity
of Pizza
คุณสมบัตข
ิ องเส้นความพอใจเท่ากัน
3.เส้นความพอใจเท่ากันแต่ละเส้นจะ
ไม่ตดั กัน
Indifference curves do not cross.
Quantity
of Pepsi
C
A
B
0
Quantity
of Pizza
คุณสมบัตข
ิ องเส้นความพอใจเท่ากัน
4.เส้นความพอใจเท่ากันมีลกั ษณะ
เป็ นเส้นติดต่อกันโดยไม่ขาดช่วง
อัตราส่วนเพิม
่ ของการทดแทนกันของสินค้า 2
ชนิด (Marginal Rate of Substitution :
MRS)
อัตราส่วนเพิม
่ ของการทดแทนกันของสินค้า 2
ชนิด (Marginal Rate of Substitution :
MRS) หมายถึง การบริโภคสินค้าชนิดหนึ่ง
้ 1
ลดลงเมือ
่ บริโภคสินค้าอีกชนิดหนึ่งเพิม
่ ขึน
หน่ วย เพือ
่ รักษาระดับความพอใจของ
ผูบ
้ ริโภคให้คงเดิมหรือ ดังนัน
้ MRSYX คือ
slope ของเส้น IC นั่นเอง
The Marginal Rate of Substitution
Quantity
of Pepsi
MRS
1
Indifference
curve, I1
0
Quantity
of Pizza
เส้นงบประมาณหรือเส้นราคา (Budget
Line or Price Line)
เส้นงบประมาณหรือเส้นราคา (Budget Line
or Price Line) หมายถึง เส้นทีแ
่ สดงถึง
จานวนต่างๆ ของสินค้า 2 ชนิด ทีส่ ามารถซื้อ
ได้ดว้ ยเงินจานวนหนึ่งทีเ่ ท่ากันตลอดทัง้ เส้น
พิจารณา ณ ราคาตลาดในขณะนัน
้ เส้น
งบประมาณจะมีลกั ษณะเป็ นเส้นตรง ความชัน
เป็ นลบเสมอ
The Budget Constraint Line
Quantity
of Pepsi
500
250
B
C
Consumer’s
budget constraint
0
50
A
100
Quantity
of Pizza
ดุลยภาพของผูบ
้ ริโภค (Consumers’
Equilibrium)
้ ณ จุดทีเ่ ส้น
ดุลยภาพของผูบ
้ ริโภคจะเกิดขึน
ความพอใจเท่ากันสัมผัสกับเส้นงบประมาณ
ซึง่ จะแสดงถึง จุดทีผ
่ บ
ู้ ริโภคทาการบริโภค
สินค้า 2 ชนิด และได้รบั ความพอใจสูงสุดจาก
งบประมาณทีม
่ อ
ี ยูจ่ ากัด
The Consumer’s Optimal Choice
Quantity
of Pepsi
Optimum
I3
I2
I1
Budget constraint
0
Quantity
of Pizza