1.3 ขอบเขตของโครงงาน

Download Report

Transcript 1.3 ขอบเขตของโครงงาน

โครงงานเรื่ อง การบริ หารสิ นค้าคงคลัง
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ควำมเป็ นมำของโครงงำน
ในปัจจุบนั ประเทศไทยได้เปิ ดให้มีการแข่งขันเสรี ผูป้ ระกอบการจึง
จาเป็ นต้องพัฒนาขีดความสามารถให้สูงขึ้นไม่วา่ จะเป็ นการพัฒนาระบบ
คุณภาพของตนเอง ระบบกระบวนการผลิต หรื อ ระบบการบริ หารจัดการ
ในโซ่อุปทาน จึงเป็ นที่แน่นอนว่าการบริ หารสิ นค้าคงคลังเป็ น
องค์ประกอบหนึ่งที่ควรให้ความสาคัญ เนื่องจากเป้ าหมายของการบริ หาร
สิ นค้าคงคลังเป็ นการสร้างความสมดุลทั้งในส่ วนของบริ ษทั และในส่ วน
ของลูกค้า
การเรี ยนการสอนในรายวิชาการบริ หารสิ นค้าคงคลัง เป็ นการเรี ยน
ลักษณะของการเรี ยนในหนังสื อเพียงอย่างเดียว ซึ่งทาให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจได้
ยากเพระเป็ นเนื้อหาที่ซบั ซ้อน อีกทั้งยังมีเนื้อหาจานวนมาก เป็ นที่แน่นอน
ว่าในการเรี ยนที่มีแต่ทฤษฎี เป็ นเรื่ องที่น่าเบื่อ และทาให้ผเู้ รี ยนไม่มีความ
กระตือรื อร้น จึงจะส่ งผลให้การเรี ยนการสอนไม่มีประสิ ทธิ ภาพเท่าที่ควร
ดังนั้น ผูจ้ ดั ทาจึงได้จดั ทาสื่ อการเรี ยนการสอนเรื่ อง การบริ หาร
สิ นค้าคงคลัง สาหรับเป็ นตัวกลางในการเรี ยนการสอน ระหว่างอาจารย์
ผูส้ อนกับผูเ้ รี ยน ทาให้การเรี ยนการสอนมีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น จะทาให้
เกิดกระบวนการทางความคิด และเห็นภาพได้อย่างชัดเจน จึงได้นาสื่ อการ
เรี ยนการสอบแบบทางเดินเอกสารในรู ปแบบหนังสื อภาพ เพื่อจะลดความ
เบื่อหน่ายในการเรี ยน และช่วยดึงดูดความสนใจของผูเ้ รี ยนได้ดียงิ่ ขึ้น อีก
ทั้งยังใช้เป็ นสื่ อการเรี ยนรู ้ให้กบั นักศึกษาและบุคคลทัว่ ไปที่สนใจ
1.2 วัตถุประสงค์ ของโครงงำน
1.2.1 เพื่อใช้ เป็ นสื่อการเรี ยนการสอนให้ กบั อาจารย์ผ้ สู อนใน
รายวิชาการบริ หารสินค้ าคงคลัง
1.2.2 เพื่อใช้ เป็ นสื่อการเรี ยนรู้สาหรับนักศึกษา และบุคคลทัว่ ไปที่
สนใจในเรื่ องของการบริ หารสินค้ าคงคลัง
1.2.3 เพื่อใช้ เป็ นอีกช่องทางหนึง่ ในการค้ นคว้ าหาข้ อมูลเรื่ องการ
บริ หารสินค้ าคงคลัง
1.3 ขอบเขตของโครงงำน
1.3.1 การบริหารสินค้ าคงคลัง
1.3.1.1 ความหมายของการบริหารสินค้ าคงคลัง
1.3.1.2 ความสาคัญของการบริหารสินค้ าคงคลัง
1.3.1.3 หลักการทางานของการบริหารสินค้ าคงคลัง
1.3.1.4 ประเภทของการบริหารสินค้ าคงคลัง
1.3.1.5 การวิเคราะห์สนิ ค้ าคงคลังด้ วยระบบ ABC
1.3.1.6 การวิเคราะห์คา่ ใช้ จ่ายที่เกี่ยวข้ องกับการบริหารสินค้ าคงคลัง
1.3.1.7 เป้าหมายของการจัดการสินค้ าคงคลัง
1.3.1.8 ระบบการเติมเต็มสินค้ า
1.3.1.9 การหาปริมาณการสัง่ ซื ้อที่เหมาะสม
1.3.1.10 สูตร EOQ (Economic Order Quantity)
1.3.1.11 จุดสัง่ ซื ้อและการหาปริมาณสินค้ าสารอง
1.3.1.12 การวัดผลการดาเนินงานการบริหารสินค้ าคงคลัง
3.1.2 สื่อการเรี ยนการสอนแบบทางเดินเอกสาร ในรูปแบบของหนังสือภาพ
1.4 ประโยชน์ ที่ได้ รับจำกโครงงำน
1.4.1 อาจารย์ผ้ สู อนที่สอนในรายวิชา การบริหารสินค้ าคงคลังได้ มีสื่อใน
การเรี ยนการสอนเรื่ องการบริหารสินค้ าคงคลัง
1.4.2 นักศึกษา และบุคคลทัว่ ไปที่สนใจได้ ทราบและเข้ าใจในเรื่ องของการ
บริหารสินค้ าคงคลังมากยิ่งขัน้
1.4.3 สามารถค้ นคว้ าหาข้ อมูลเรื่ องการบริหารสินค้ าคงคลังได้ สะดวก และ
ง่ายขึ ้น
1.5 วิธีกำรดำเนินกำร
1. ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับโครงงาน มิถนุ ายน - กรกฎาคม
2. เสนอหัวข้ อโครงงาน กรกฎาคม
3. รวบรวมข้ อมูลบทที่ 1 ให้ อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจเพื่อแก้ ไขปรับปรุง สิงหาคม - กันยายน
4. สอบโครงงานครัง้ ที่ 1 นาเสนอโดย Power Point กันยายน
5. ปรับปรุงแก้ ไขตามข้ อเสนอแนะ ให้ อาจารย์ตรวจอีกครัง้ กันยายน
6. รายงานความก้ าวหน้ าหลังจากสอบโครงงานครัง้ ที่ 1 กันยายน
7. ร่างแบบสื่อการเรี ยนการสอน กันยายน - ตุลาคม
8. ส่งสื่อการเรี ยนการสอนให้ อาจารย์ตรวจ ตุลาคม - พฤศจิกายน
9. สอบโครงงานครัง้ ที่ 2 นาเสนอโดย Power Point บทที่ 1-3 ตุลาคม - พฤศจิกายน
10. ปรับปรุงแก้ ไขตามข้ อเสนอแนะ นาโครงงานที่แก้ ไขให้ อาจารย์ตรวจ พฤศจิกายน ธันวาคม
11. รวบรวมข้ อมูลบทที่ 4-5 ให้ อาจารย์ตรวจเพื่อทาการแก้ ไขปรับปรุง มกราคม
12. นาบทที่ 4-5 ที่แก้ ไขปรับปรุงให้ อาจารย์ตรวจอีกครัง้ มกราคม
13. สอบโครงงานครัง้ ที่ 3 นาเสนอโดย Power Point บทที่ 1-5
มกราคม – กุมภาพันธ์
14. ปรับปรุงแก้ ไขตามข้ อเสนอแนะ นาโครงงานที่แก้ ไขให้ อาจารย์ ตรวจอีกครัง้
กุมภาพันธ์
15. สรุปผลและจัดทารูปเล่มส่งอาจารย์ กุมภาพันธ์
1.6 นิยำมศัพท์
1.6.1 EOQ (Economic Order Quantity) หมายถึง ปริมาณการสัง่ ซื ้อที่ประหยัด
1.6.2 Inventory Management หมายถึง การบริหารสินค้ าคงคลัง
1.6.3 Make to Order หมายถึง การผลิตตามคาสัง่ ของลูกค้ า
1.6.4 Raw Materials หมายถึง วัตถุดิบ
1.6.5 Work in Process หมายถึง งานระหว่างผลิต
1.6.7 Finish Goods หมายถึง สินค้ าสาเร็จรูป
1.6.8 Maintenance Repair & Operating Supply (MRO) หมายถึง สินค้ าที่ใช้ ใน
การ บารุงรักษา ซ่อมบารุง วัสดุสิ ้นเปลือง