ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ
Download
Report
Transcript ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ
ตัวแบบสิ นค้ าคงคลัง
(Inventory Model)
บทนา
ตัวสิ นค้ าแบบสิ นค้ าคงคลัง (Inventory model)
เป็ นเทคนิคเชิงปริมาณอีกอย่ างหนึ่งทีม่ ีการใช้ อย่ างแพร่ หลาย
โดยเติมทีไ่ ด้ พฒ
ั นามาจาก ตัวแบบปริมาณสั่ งซื้อที่ประหยัดสุ ด
(Economic Order Quantity Model : EOQ
Model)
การวิเคราะห์ โดยใช้ แบบสิ นค้ าคงคลัง เป็ นอีกหนึ่งเทคนิคที่ใช้
วิเคราะห์ ตัวแบบทีเ่ หมาะสมในการสั่ งซื้อสิ นค้ าในปริมาณทีเ่ หมาะสม
และระยะเวลาในการสั่ งซื้อให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ด (ค่ าใช้ จ่ายต่า และไม่
สู ญเสี ยโอกาส)
ความหมาย
สิ นค้ าคงคลังหรือสิ นค้ าคงเหลือ (Inventory) หมายถึง
สิ นค้าสาเร็ จรู ปหรื อวัตถุดิบ หรื อสิ นค้ากึ่งสาเร็ จรู ป ที่องค์กร
เก็บไว้เพื่อจาหน่ายหรื อนามาผลิตเป็ นสิ นค้าต่อไป
ข้ อดีของการมีสินค้ าคงคลัง
1. ลดต้ นทุนสิ นค้ า/วัตถุดิบต่ อหน่ วย เนื่องจากมีการสั่ งซื้อสิ นค้ า หรือวัตถุดิบ
เป็ นจานวนมาก เพือ่ เก็บไว้ ในคลังทาให้ ต้นทุนต่ อหน่ วยลดลง และเป็ น
การประหยัดค่ าขนส่ ง
2. ทาให้ มีสินค้ าไว้ ขาย เพือ่ ตอบสนองต่ อความต้ องการของลูกค้ าตลอดเวลา
ทาให้ เกิดกรณีสินค้ าไม่ พอขาย
3. ไม่ ขายวัตถุดิบในกระบวนการผลิต ทาให้ สามารถผลิตได้ อย่ างต่ อเนื่อง
4. สามารถวางแผนการจาหน่ าย/การผลิตได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
ข้ อเสี ยของการมีสินค้ าคงคลัง
1. จะทาให้ มีค่าใช้ จ่ายมาก ทั้งด้ านต้ นทุนสิ นค้ า/วัตถุดบิ ค่ าดูแลรักษา
ค่ าเช่ าสถานที่ ค่ าเบีย้ ประกัน เป็ นต้ น
2. กรณีทสี่ ิ นค้ ามีอายุการใช้ งาน หรือสิ นค้ าทีม่ ีการเปลีย่ นแปลง จะทาให้
ตัวสิ นค้ าราคาลดลงได้ เช่ น ของสด สิ นค้ าประเภทที่สามารถล้าสมัยได้
เป็ นต้ น
พืน้ ฐานในการตัดสิ นใจแก้ปัญหาสิ นค้ าคงคลัง
1. จะสั่ งซื้อสิ นค้ าจานวนเท่ าไหร่ (Order Quantity)
2. จุดสั่ งซื้อใหม่ (Reorder Point)
วัตถุประสงค์ ของการศึกษาระบบสิ นค้ าคงคลัง
1. จานวน/ปริมาณสิ นค้ าทีค่ วรสั่ งซื้อแต่ ละครั้ง
2. ระยะเวลาห่ างในการสั่ งซื้อสิ นค้ าในแต่ ละครั้ง (พิจารณาจากสิ นค้ า
คงคลังเหลือถึงระดับทีก่ าหนด หรือสั่ งในช่ วงเวลาทีก่ าหนด เช่ น
สั่ งทุกเดือน เป็ นต้ น
ค่ าใช้ จ่ายที่เกีย่ วข้ องปัญหาสิ นค้ าคงคลัง
ค่ าใช้ จ่าย หรือต้ นตุนในการสั่ งซื้อ (Order cost) ประกอบด้ วย
ค่ าใช้ จ่ายคงที่ (Fixed cost) โดยส่ วนใหญ่ จะขึน้ อยู่กบั จานวน
ครั้งทีม่ ีการสั่ งซื้อ
ค่ าใช้ จ่ายผันแปร (Variable cost) ขึน้ อยู่กบั ระยะทางในการขนส่ ง
ปริมาณสิ นค้ าทีส่ ั่ ง เป็ นต้ น
ค่ าใช้ จ่ายในการเก็บรักษาสิ นค้ าคงคลัง (Holding cost)
ค่ าใช้ จ่าย/ค่ าเสี ยหายทีเ่ กิดจากสิ นค้ าในคลังน้ อยกว่ าปริมาณ
การสั่ งซื้อ (Shortage cost
ค่ าใช้ จ่ายรวมของระบบสิ นค้ าคงคลัง = O+H+S
ค่ าใช้ จ่าย
ค่ าใช้ จ่ายรวมต่าสุ ด
ค่ าใช้ จ่ายรวม
ค่ าใช้ จ่ายในการเก็บรั กษา
(Holding Cost)
ค่ าใช้ จ่ายในการสั่งซือ้
(Ordering Cost)
ปริมาณการสั่ งซื้อ
Q*
ความสั มพันธ์ ระหว่ างค่ าใช้ จ่ายต่ างๆ กับระดับสิ นค้ าคงคลัง
ตัวแบบระบบสิ นค้ าคงคลัง
ตัวแบบสิ นค้าคงคลัง จาแนกตามความต้องการสิ นค้า (Demand)
ได้เป็ น 2 ประเภท คือ
1. ความต้ องการเป็ นแบบแน่ นอน (Deterministic Demand)
1.1 แบบสถิต (Static) ความต้องการคงที่
1.2 แบบพลวัต (Dynamic) ต้องการเปลี่ยนไปตามช่วงเวลา
2. ความต้ องการแบบความน่ าจะเป็ น (Probabilistic Demand)
2.1 แบบหยุดนิ่ง (Stationary) p.d.f. ของความต้องการไม่เปลี่ยน
ตามเวลา
2.2 แบบไม่หยุดนิ่ง (Nonstationary) p.d.f. ของความต้องการเปลี่ยน
ตัวแบบทีท่ ราบปริมาณความต้ องการซื้อ
(Deterministic Model)
เป็ นตัวแบบที่ทราบ หรือประมาณความต้ องการซื้อในอนาคตได้ โดยถือ
ว่ าความต้ องการคงที่ และนามาวางแผนในการสั่ งซื้อ โดยปัญหานีจ้ ะใช้ หลักการ
ของปริมาณการสั่ งซื้อทีป่ ระหยัด (Economic Order Quantity:
EOQ) สามารถแบ่ งออกเป็ นรู ปแบบย่ อยๆ ได้ หลายรู ปแบบ เช่ น
1. รู ปแบบการหาปริมาณการสั่ งซื้อทีป่ ระหยัด เมือ่ ได้ รับสิ นค้ าครบตามจานวน
ที่สั่งโดยไม่ มีเวลาในการรอคอย (Zero lead time)
2. รู ปแบบการหาปริมาณสั่ งซื้อทีป่ ระหยัด ต้ องรอสิ นค้ า (Non Zero lead
Time)
3. รู ปแบบการหาปริมาณสั่ งซื้อทีป่ ระหยัด เมือ่ มีส่วนลดซื้อสิ นค้ า (Quantity
discount)
การคานวณหาปริมาณการสั่ งซื้อทีป่ ระหยัด
(Economic Order Quantity : EOQ)
เป็ นการคานวณหาขนาดการสั่ งซื้อทีเ่ หมาะสมทีส่ ุ ด ในแต่ ละครั้ง
ทีจ่ ะทาให้ เสี ยค่ าใช้ จ่ายรวมในการสั่ งซื้อสิ นค้ าต่าทีส่ ุ ด
สั ญลักษณ์ ที่ใช้
Q = ปริมาณการสั่ งซื้อแต่ ละครั้ง
D = ปริมาณความต้ องการซื้อ/ปี
I = อัตราค่ าเก็บรักษาสิ นค้ าคงคลัง/ปี
C = ต้ นทุนสิ นค้ าต่ อหน่ วย
F = ค่ าใช้ จ่ายในการสั่ งซื้อต่ อการส่ งซื้อ 1 ครั้ง
H = ค่ าเก็บรักษาสิ นค้ าคลัง/ปี สิ นค้ าคงคลัง 1 หน่ วย (H=C*I)
เงื่อนไขของ EOQ Model
1. ทราบค่ า D แน่ นอน
2. ปริมาณความต้ องการซื้อคงที่ในแต่ ละช่ วงเวลา
3. ได้ รับสิ นค้ าครบตามจานวนที่ต้งั
4. ไม่ เกิดเหตุการณ์ ปริมาณความต้ องการซื้อมากกว่ าปริมาณสิ นค้ าคงคลัง
ที่มอี ยู่
5. สามารถประมาณค่ าใช้ จ่ายในการสั่ งซื้อ และค่ าใช้ จ่ายในการเก็บรักษา
สินค้ าคงคลัง
6. ค่ าใช้ จ่ายในการสั่ งซื้อแต่ ละครั้งคงที่ และไม่ ขนึ้ อยู่กบั ปริมาณการสั่ งซื้อ
7. ต้ นทุนสิ นค้ า/หน่ วยคงที่ ไม่ ขนึ้ อยู่กบั ปริมาณการสั่ งซื้อ
8. ค่ าเก็บรักษาสิ นค้ าคงคลังต่ อหน่ วย H คงที่
9. ปริมาณสิ นค้ าที่สั่งซื้อแต่ ละครั้ง Q มีค่าคงที่
10.ระยะเวลาที่สั่งซื้อจนได้ รับสิ นค้ าคงที่
สาหรับการหาปริมาณการสั่ งซื้อทีป่ ระหยัด จะแบ่ งตาม
ลักษณะปัญหา ดังนี้
1. การหาปริมาณการสั่ งซื้อที่ประหยัด และได้ รับสิ นค้ าครบตามจานวนที่
สั่ งซื้อ โดยไม่ ต้องรอ (Zero lead time)
2. การหาปริมาณการสั่ งซื้อที่ประหยัดและได้ รับสิ นค้ าครบตามจานวนทีส่ ั่ ง
โดยต้ องรอ (Non Zero lead time)
3. การหาปริมาณการสั่ งซื้อที่ประหยัด เมื่อมีส่วนลดตามปริมาณการสั่ งซื้อ
(Quantity discount)
4. การหาปริมาณสิ นค้ าสารอง (Safety Stock)
การคานวณหาปริมาณการสั่ งซื้อทีป่ ระหยัด เมือ่ ได้ รับสิ นค้ า
ครบจานวนทีส่ ั่ งโดยไม่ ต้องรอ
(EOQ Model : Zero Leading)
เงื่อนไข
1. ทราบความต้ องการซื้อต่ อปี และความต้ องการซื้อมีความสม่าเสมอ
2. เมื่อสั่ งซื้อสิ นค้ าจะได้ รับสิ นค้ าครบตามจานวนทีส่ ั่ งโดยไม่ ต้องรอ
(Lead time = 0)
ระดับสินค้ าคงคลัง
Q
ระดับสินค้ าคงคลังเฉลี่ย
𝑸
𝟐
0
เวลา
T
T = ระยะเวลาทีข่ ายสิ นค้ า Q หน่ วยจนหมด
ปริมาณสิ นค้ าเฉลีย่ ในคลังสิ นค้ า =
(𝑸+𝟎)
𝟐
=
𝑸
𝟐
ระดับสิ นค้ าคงคลังสาหรับ EOQ Model
ปริมาณสินค้ าคง
คลังเฉลี่ย
𝑸
𝟐
𝑸
𝑫
𝟐𝑸
𝑫
𝟑𝑸
𝑫
การคานวณหาปริมาณการสั่ งซื้อทีป่ ระหยัด คือ การคานวณหา
ปริมาณการสั่ งซื้อแต่ ละครั้ง (Q) ทีท่ าให้ ค่าใช้ จ่ายรวมตา่ ทีส่ ุ ด
ค่ าใช้ จ่ายในการเก็บรั กษาสินค้ าคงคลัง/ปี = ปริมาณสินค้ าคงคลังเฉลี่ย ×
ค่ าใช้ จ่ายในการเก็บรั กษา/ปี /หน่ วย
𝑸
= ( )H
𝟐
ค่ าใช้ จ่ายในการสั่งซือ้ ต่ อปี = ค่ าใช้ จ่ายในการสั่งซือ้ /ครั ง้ x จานวนครั ง้ ที่ส่ ัง/ปี
𝑫
= F( )
𝑸
ค่ าใช้ จ่ายรวม
𝑸
𝑫
TC = ( ) H + F ( )
𝑸
𝟐
ตัวอย่ างที่ 1 บริ ษทั ผลิตทีวี ต้องการใช้หลอดภาพในการ
ผลิตทีวีปีละ 10,000 หลอด ต้นทุนหลอดภาพ
ราคา 400 บาท/หลอด ค่าเก็บรักษาคิดเป็ น
5% ของต้นทุนหลอดภาพ ค่าใช้จ่ายใน
การสัง่ ซื้อแต่ละครั้ง เท่ากับ 360 บาท
จงหาปริ มาณการสัง่ ซื้อที่ประหยัด
กาหนดให้ D = 10,000 , หลอด C = 400 บาท , I = 0.05 และ F = 360 บาท
ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา H = CI = 400 (0.05) = 20 บาท
Q
(360)(10,000)
ค่าใช้ จ่ายรวม TC = (20) +
2
Q
3,600,000
= 10Q +
Q
3,600,000
ถ้าให้ Q = 400 จะได้ TC = 10 (400) +
= 13,000
Q
3,600,000
ถ้ าให้ Q = 500 จะได้ TC = 10 (500) +
= 12,200
Q
บาท
บาท
ส่ วนการคานวณหาค่า TC หรื อต้นทุนรวม เมื่อ Q = 600 หรื อ 700 หรื อ 800 ได้
แสดงในตารางดังต่อไปนี้
ตารางที่ 1 แสดงการคานวณค่ าใช้ จ่ายรวม
Q
400
500
600
700
500
ค่ าเก็บรั กษา (บาท)
4,000
5,000
6,000
7,000
8,000
ค่ าสั่งซือ้ (บาท)
9,000
7,200
6,000
5,412.85
4,500
ค่ าใช้ จ่ายรวม (บาท)
13,000
12,200
12,000
12,142.85
12,500
ตารางที่ 1 จะพบว่ าค่ าใช้ จ่ายรวมตา่ สุ ด คือ 12,000 บาท ซึ่งมีค่า Q* = 600 หน่ วย หรือ
ควรสั่ งซื้อหลอดภาพทีวีสีครั่งละ 600 หลอด จึงจะทาให้ ค่าใช้ จ่ายรวมตา่ สุ ด
ค่ าใช้ จ่าย (บาท)
ค่ าใช้ จ่ายรวมต่าสุ ด
ค่ าใช้ จ่ายรวม
ค่ าใช้ จ่ายในการเก็บรั กษา
12,000
(Holding Cost)
6,000
ค่ าใช้ จ่ายในการสั่งซือ้
(Ordering Cost)
600*
ปริมาณการสั่ งซื้อ
แสดงค่ าใช้ จ่ายแต่ ละส่ วนกับปริมาณทีส่ ั่ งซื้อต่ อครั้ง
ในการหาปริมาณการสั่ งซื้อทีป่ ระหยัด โดยการเปรียบเทียบ
ค่ าใช้ จ่ายเมื่อ Q เปลีย่ นไปทาให้ เสี ยเวลามากกว่ า จะได้คาตอบ
ดังนั้น เราสามารถคานวณหาปริมาณทีเ่ หมาะสมได้ ดงั สู ตรนี้
ค่ า Q ทีท่ าให้ ค่าใช้ จ่ายรวมตา่ สุ ด คือ Q = Q* ซึ่งเป็ นจุดทีท่ าให้
ค่ าเก็บรักษา = ค่ าสั่ งซื้อ
𝑸
( )
𝟐
H
Q* =
=
𝑫
F( )
𝑸
𝟐𝑭𝑫
𝑯
รอบเวลาของสิ นค้ าคงคลัง (𝒕𝟎 ) =
จานวนครั้งที่สั่งซื้อ/หน่ วยเวลา =
ค่ าใช้ จ่ายทั้งหมด =
𝑫
𝑸∗
𝑸∗
𝑫
ครั้ง
𝑸
𝑫
TC (Q*) = ( ) H + F ( )
𝑸
𝟐
การคานวณหาจุดทีส่ ั่ งซื้อ
(Reorder Point)
เนื่องจาก EOQ เป็ นตัวแบบที่ไม่ มกี ารรอสิ นค้ า
จึงไม่ จาเป็ นต้ อง สั่ งสิ นค้ าก่ อนหมด ดังนั้น จุดทีส่ ั่ งซื้อ
คือ จุดทีไ่ ม่ มสี ิ นค้ าเหลืออยู่เลย การหาจานวนครั้งทีส่ ั่ งซื้อต่ อปี
จานวนสั่ งซื้อใน 1 ปี เท่ ากับ D/Q* ครั้ง
ตัวอย่ างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 จงหาปริ มาณการสัง่ ซื้อที่ประหยัด
วิธีทา
ในที่น้ ีหาค่า Q = Q* ที่ทาให้ค่าค่าใช้จ่ายรวมต่าสุ ด โดยใช้สูตร
Q* =
=
𝟐𝑭𝑫
𝑯
𝟐(𝟑𝟔𝟎)(𝟏𝟎,𝟎𝟎𝟎𝟎)
𝟐𝟎
= 600 หลอด
ตัวอย่ างที่ 3 จากตัวอย่างที่ 1 จงหาจานวนครั้งที่ตอ้ งสัง่ ซื้อหลอดภาพต่อปี
ในที่น้ ี D = 10,000 Q* = 600
จานวนครั้งที่สงั่ /ปี
D
=
Q∗
10,000
=
= 16.67 ครั้ง หรื อ 17 ครั้ง
600
นั้นคือจะสัง่ ครั้งละ 600 หลอด โดยจะสัง่ ทุกๆ 3 สัปดาห์ (52 สัปดาห์/17ครั้ง)
ซึ่งจะทาให้ค่าใช้จ่ายรวมต่าสุ ด
แบบฝึ กทบทวน
ข้ อที่ 1 บริษัทพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ผู้ผลิตวิทยุกระเป๋ าหิ ้ว สัง่ ซื ้อส่วนประกอบ
ชนิดหนึง่ เพื่อใช้ ในการผลิตจากบริษัท ไทยรุ่งเรื อง จากัด โดยประมาณการใช้ สว่ นประกอบ
ปี ละ 1,200 หน่วย ในราคาหน่วยละ 10 บาท จากการวิเคราะห์คา่ ใช้ จ่ายประมาณว่าใน
การสัง่ ซื ้อสินค้ านี ้ แต่ละครัง้ เสียค่าใช้ จ่าย 20 บาท และต้ นทุนการเก็บรักษาสินค้ าคิดเป็ น
12% ของมูลค่าพัสดุคงคลังเฉลี่ย จงหาปริมาณการสัง่ ที่ประหยัด และค่าใช้ จ่ายทังหมด
้
ข้ อที่ 2 บริษัทการค้ าแห่งหนึง่ สัง่ ยาแก้ ปวดเมื่อยมาขาย 10,000 ขวดทุกปี ทุนแต่ละขวด
ราคา 2 บาท ค่าใช้ จ่ายสัง่ ซื ้อครัง้ ละ 100 บาท ค่าใช้ จ่ายในการเก็บรักษา 15% ของราคา
ขวด/ปี จงหาจานวนยาที่ควรสัง่ แต่ละครัง้ และค่าใช้ จ่ายทังหมด
้
การหาปริมาณสั่ งซื้อที่ประหยัด และต้ องรอสิ นค้ าหลังจากการสั่ ง
(EOQ Model : Nonzero lead time)
ในทางปฏิบัตทิ ั่วไป ย่ อมมีเวลาในรอคอยสิ นค้ า ดังนั้น สิ่ งที่
ที่สาคัญย่ อมได้ แก่ ควรมีสินค้ าคงเหลือในคลังเท่ าใด จึงสั่ งสิ นค้ า
แล้ ว จะสอดคล้ องกับระยะเวลาในการส่ งสิ นค้ า
การหาจุดสั่ งซื้อซ้าและจานวนครั้งทีส่ ั่ งซื้อต่ อปี
- กรณีทไี่ ม่ ต้องรอ สั่ งเมือ่ สิ นค้ าหมด
- กรณีทรี่ อ สั่ งก่ อนสิ นค้ าในคลังหมด
การหาจุดสั่ งซื้อซ้า (Reorder Point)
หลังจากที่ตดั สิ นใจเกี่ยวกับปริ มาณสิ นค้าที่สั่งแล้ว สิ่ ง
ต่อมาที่ตอ้ งตัดสิ นใจคือ จะทาการสัง่ ซื้อเมื่อไหร่ โดยทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั
lead time เวลาในการขนส่ งสิ นค้า โดยถ้าสัง่ แล้วได้เลย (L-0)
แต่ถา้ lead time ไม่เป็ น 0 จะต้องมีการคานวณเผื่อเวลาด้วย
ตัวอย่ าง 2 ถ้าบริ ษทั จากตัวอย่างที่ 1 ใช้หลอดภาพโดยเฉลี่ย วันละ 25 หลอด และ
ในการสัง่ ซื้อแต่ละครั้ง ใช้เวลา 4 วัน จึงจะได้รับสิ นค้า บริ ษทั ควรสัง่ สิ นค้าเมื่อใด
จุดสัง่ ซ้ า = ความต้องการใช้ในช่วงการรอสิ นค้า
เวลานา x อัตราใช้สินค้า
= 4x25 = 100 หน่วย
ตัวอย่ าง 3 ในแต่ละวันความต้องการสิ นค้าตัวอย่างหนึ่งประมาณ 100 หน่วย ทุก
ๆ ครั้งที่สงั่ ซื้อสิ นค้าจะเสี ยค่าใช้จ่ายคงที่ ครั้งละ 500 บาท ค่าเก็บรักษาสิ นค้าต่อ
หน่วยต่อวันเท่ากับ 0.40 บาท ถ้าช่วงเวลานาส่ งสิ นค้า (L) เท่ากบ 2 วันจงหา
ก) ขนาดของสิ นค้าที่สงั่ ซื้อ เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายที่สุด
ข) รอบเวลาการสัง่ ซื้อสิ นค้า (t0)
ค) จุดสัง่ ซื้อสิ นค้า
ตัวอย่ าง 4 จากตัวอย่าง 3 จงหาจุดสัง่ ซื้ อสิ นค้าเมื่อกาหนดให้
ก) ช่วงเวลานาส่ ง 7 วัน
ข) ช่วงเวลานาส่ ง 23 วัน
หมายเหตุ การพิจารณาจุดสัง่ ซื้อใหม่ จาแนกได้ 2 กรณี ดังนี้
Lt0 แสดงว่าต้องสัง่ สิ นค้าขณะที่ระดับสิ นค้าเท่ากับ
(L x ความต้องการสิ นค้าต่อวัน)
กรณี 2
L ≥ t0 พิจารณา ดังนี้
ถ้า L = nt0 + d, n เป็ นจานวนเต็มบวก
แสดงว่าจะต้องสัง่ ของล่วงหน้า n รอบ โดยสัง่ ขณะที่ของ
ในคลังสิ นค้าอยูท่ ี่ระดับ (d x ความต้องการสิ นค้าต่อวัน)
กรณี 1
แบบฝึ กทบทวน
ข้ อที่ 1. บริษัทพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด เป็ นผู้ผลิตตู้ไมโครเวฟ โดยสั่ งซื้อแผนหน้ าปัดตู้
ไมโครเวฟ จากบริษัทรุ่ งเรือง จากัด โดยบริษัทประมาณว่ าปี หนึ่งๆ จะมีความต้ องการแผง
หน้ าปัดนีจ้ านวน 10,000 อัน และมีค่าใช้ จ่ายในการสั่ งซื้อครั้งละ 25 บาท บริษัทมีนโยบายใน
การคิดต้ นทุนการเก็บรักษาพัสดุคงคลังประเภทหนีเ้ ป็ น 20% ของมูลค่ าพัสดุคงคลังเฉลีย่
โดยทีต่ ้ นทุนราคาแผงหน้ าปัดราคาอันละ 62.50 บาท (ดาเนินงานปี ละ 50 สั ปดาห์ ๆ 5 วัน)
ก) บริษัทควรสั่ งซื้อแผงหน้ าปัดนีค้ รั้งละกีอ่ นั จึงประหยัดทีส่ ุ ด
ข) บริษัทควรสั่ งซื้อชิ้นส่ วนนีป้ ี ละกีค่ รั้ง
ค) คานวณค่ าใช้ จ่ายรวมทั้งปี ของชิ้นส่ วนนี้
ง) บริษัทควรสั่ งซื้อแผงหน้ าปัดตู้ไมโครเวฟเมือ่ ไร ถ้ าต้ องใช้ เวลา 4 วันจึงจะได้ รับของ
จ) คานวณจุดสั่ งซ้า ถ้ าเวลานาเป็ น 8 วัน
การหาปริมาณการสั่ งซื้อทีป่ ระหยัดเมือ่ มีส่วนลด
ตามปริมาณการสั่ งซื้อ
(Quantity Discounts for the EOQ model)
ในทางปฏิบัตกิ ารสั่ งสิ นค้ าจานวนมากๆ ย่ อมได้ ส่วนลดสิ นค้ า แต่
จะส่ งผลให้ การเก็บรักษาสิ นค้ าเพิม่ ค่ าใช้ จ่ายขึน้ มาแทน อีกทั้งถ้ าสต๊ อก
สิ นค้ ามากเกินไป สิ นค้ าอาจหมดอายุ หรือล้าสมัยขายไม่ ได้ หรือคุณภาพ
สิ นค้ าแย่ ลงได้
ค่ าใช้ จ่ายรวม/ปี = ต้ นทุนสิ นค้ าปี + ค่ าเก็บรักษา/ปี + ค่ าสั่ งซื้อ/ปี
TC = D (ราคา/หน่ วย) + (Q/2) H+F(D/Q)
ตัวอย่ าง 5 บริ ษทั ผลิตรถยนต์มีความต้องการใช้แบตเตอรี่ 1,200
อัน/ปี ค่าใช้จ่ายในการสัง่ ซื้อเท่ากับ 200 บาท/ครั้ง ค่าเก็บรักษา
แบตเตอรี่ เป็ น 25% ของราคาแบตเตอรี่ โดยทางบริ ษทั จะสัง่ ซื้ อ
แบตเตอรี่ จากโรงงานไทยแบตเตอรี่ โดยคิดราคาแบตเตอรี่ 300
บาท/อัน โดยถ้ามีการสัง่ ปริ มาณมากๆ จะมีส่วนลดให้ ดังนี้
0-99 อัน
ส่ วนลด 0%
100-399 อัน
ส่ วนละ 10%
400 อันขึ้นไป
ส่ วนลด 12%
แบบฝึ กหัดทบทวน
บริ ษทั เจริ ญยนต์ จากัด เป็ นผูผ้ ลิต และจาหน่ายรถจักรยาน บริ ษทั
ประมาณ ว่าจะมีความต้องการใช้ชิ้นส่ วน ก เป็ นจานวนปี ละ 2,000 หน่วย โดย
บริ ษทั จะสัง่ ซื้อจากห้างหุน้ ส่ วนจากัด สยามการช่าง ในราคาหน่วยละ 40 บาท
ถ้าต้นทุนการสัง่ ซื้อคิดเป็ นครั้งละ 160 บาท และต้นทุนการเก็บรักษาเป็ น 40%
ของมูลค่าพัสดุคงคลังเฉลี่ย บริ ษทั ควรสัง่ ชิ้นส่ วนอย่างไร ถ้ามีส่วนลดให้ ดังนี้
0 - 499 หน่วย
40 บาท/หน่วย
500-999 หน่วย
37.50 บาท/หน่วย
1,000 หน่วยขึ้นไป
36 บาท/หน่วย
การคานวณหาปริมาณสิ นค้ าสารอง (Safety Stock)
ในบางกรณี ที่สินค้าเกิดขายดีข้ ึนมา อาจส่ งผลให้สินค้า
ไม่พอจาหน่าย หรื อขาดแคลนสิ นค้าขึ้นมาได้ ดังนั้น การจัดหาสิ นค้า
สารองจึงจะเป็ นการช่วยแก้ปัญหาสิ นค้าไม่พอใช้/ไม่พอขายในช่วง
ที่รอสิ นค้าใหม่ได้
เดิมที่สง่ั ซื้ อเมื่อต้องรอสิ นค้าเป็ นจุดที่มีสินค้าเหลือในสต๊อก
dxL
นัน่ คือ ควรสัง่ ซื้อเมื่อสิ นค้าเหลือเท่ากับ (ความต้องการซื้อ
เฉลี่ย/หน่วยเวลา) (ระยะเวลาที่รอ)
ดังนั้น การป้องกันในกรณีที่สินค้ าไม่ พอขาย คือการกาหนด
จานวนสิ นค้ าในสต๊ อกให้ มากขึน้ กว่ าเดิมทีจ่ ุดสั่ งซื้อ โดยที่
จุดสั่ งซื้อทีม่ สี ิ นค้ าเหลือ เท่ ากับ d x L + สิ นค้ าสารอง (Safety Stock)
โดยวัตถุประสงค์ เพือ่ การหาจานวนสิ นค้ าสารองทีเ่ หมาะสม
Projected Lead Time = 8 Days
Demand = 1 piece/day
On Order with Vendor = 0
วิธีการคานวณหาปริมาณสิ นค้ าสารอง
1. Known Stock out cost
2. Unknown Stock out cost
Known Stock out cost
ในการหาปริมาณสิ นค้ าสารองจาเป็ นจะต้ องทราบ
1. การแจกแจงความน่ าจะเป็ นของความต้ องการซื้อ
ในช่ วงเวลาทีร่ อสิ นค้ าใหม่
2. ค่ าเสี ยหายทีเ่ กิดจากปริมาณความต้ องการซื้อมากกว่ า
สิ นค้ าทีเ่ หลือในช่ วงเวลาทีร่ อสิ นค้ าใหม่
ตัวอย่ าง 6 บริษัทพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด คานวณปริมาณการสั่ง
ประหยัดในการซือ้ ส่ วนประกอบวิทยุชนิดหนึ่ง โดยสั่งซือ้ ปี ละ 6 ครัง้ ๆ
ละ 200 หน่ วย เมื่อสั่งสินค้ าไปแล้ วรอสินค้ า 5 วัน จึงได้ รับสินค้ า
ถ้ าอัตราความต้ องการใช้ ส่วนประกอบนีโ้ ดยเฉลี่ยแล้ ววันละ 4 หน่ วย
และจากการเก็บรวบรวมข้ อมูลในการสั่งซือ้ 20 ครัง้ พบว่ าความต้ องการ
ใช้ ส่วนประกอบชนิดนีไ้ ม่ คงที่ โดยข้ อมูล ดังนี ้
ถ้ าสินค้ าขาดมือ คิดค่ าใช้ จ่าย
หน่ วยละ 4 บาท
ต้ นทุนการจัดให้ มีสินค้ าสารอง
หน่ วยละ 1.20 บาท
บริษัทควรสั่งซือ้ สินค้ าใหม่ เมื่อใด
บริษัทผลิตทีวี พบว่ าการสั่ งซื้อหลอดภาพต้ องรอก่อนได้ รับหลอดภาพ 1
สั ปดาห์ (L=1 สั ปดาห์ ) และสั่ งซื้อครั้งละ 600 หลอด (Q=600) โดยจะสั่ ง
ปี ละ 17 ครั้ง ถ้ าทางผู้บริหารทางบริษัทต้ องการศึกษาว่ าควรมีการสารอง
หลอดภาพไว้ ในช่ วงทีม่ ีการรอสิ นค้ าในขณะที่สั่งสิ นค้ าหรือไม่ (ถ้ าอัตราความ
ต้ องการใช้ เฉลีย่ ใช้ เฉลีย่ สั ปดาห์ ละ 200 หลอด)
ถ้ าสินค้ าขาดมือ คิดค่ าใช้ จ่าย
หน่ วยละ 50 บาท
ต้ นทุนการจัดให้ มีสินค้ าสารอง
หน่ วยละ 40 บาท
กรณีทที่ ราบการแจกแจงความน่ าจะเป็ นของความต้ องการ
โดยเป็ นการแจกแจงแบบต่ อเนื่อง
ตัวอย่ าง 17 ความต้ องการสินค้ าอย่ างหนึ่งในแต่ ละวัน คือการแจกแจง
แบบปกติ (Normal Distribution) ค่ าเฉลี่ย 100 ส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ ากับ 10 ช่ วงเวลา นาส่ ง 4 วัน จงหาจุดสั่งซือ้ สินค้ า
(Reorder point) ที่จะทาให้ ความน่ าจะเป็ นที่ของขาดมือใน
ช่ วงเวลานาส่ ง ไม่ เกิน 0.05
แบบฝึ กหัดทบทวน
สมศักดิ์ เป็ นผู้บริหารของบริษัทแห่ งหนึ่ง ซึ่งมีภาระรั บผิดชอบมากมาย
และไม่ มีเวลาเพียงพอที่จะจัดทาการวิเคราะห์ รายการสินค้ าที่อยู่ 10 รายการ
ได้ อย่ างละเอียด สมศักดิ์จาเป็ นต้ องจัดลาดับความสาคัญให้ แก่ สนิ ค้ า โดยมี
รายละเอียด ราคา และความต้ องการสินค้ าแต่ ละชนิด ดังนี ้
จงวิเคราะห์ เอบีซี
จัดกลุ่มสินคค้ า
ดังกล่ าว