14 โปสเตอร์ห้องยา 0.41 18 มิถุนายน 2557

Download Report

Transcript 14 โปสเตอร์ห้องยา 0.41 18 มิถุนายน 2557

อุปกรณ์ ช่วยคำนวณขนำดยำต้ ำนไวรัสเอดส์ เด็ก (KID CAN)
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
เภสัชกรหญิงกอบกาญจน์ ชูปาน, Email: [email protected]
อุปกรณ์ ช่วยคานวณขนาดยาต้ านไวรั สเอดส์ เด็ก (KID CAN) ใช้ ในการคานวณขนาดยาต้ านไวรั สเอดส์
ในเด็กจากพืน้ ที่ผิว ของร่ างกาย หรื อ น า้ หนั กตัว ของผ้ ู ป่วยเด็ก แต่ ล ะคน เนื่ อ งจากเด็กมี ค่ าพารามิ เตอร์
ดังกล่ าวที่เปลี่ยนแปลงในแต่ ละครั ง้ ที่มาพบแพทย์ ทาให้ เกิดความคลาดเคลื่อนทางยาที่ง่ ายและรุ นแรง
ซึ่งแพทย์ และเภสัชกรจาเป็ นต้ องปรั บขนาดยาให้ ถูกต้ องเพื่อให้ ผ้ ูป่วยมีประสิทธิภาพและความปลอดภัย
จากการใช้ ยา อีกทัง้ ยาต้ านไวรั สเอดส์ ปัจจุบันยังต้ องใช้ ตลอดชีวิต มีหลายสูตรและหลายตัวยา อาจยาก
ในการจา ในทางปฏิบัติจึงต้ องเปิ ดค่ ูมือยา ซึ่งไม่ สะดวกและเสียเวลา น่ าจะง่ ายกว่ าในการหมุนหาขนาดยา
ด้ วย KID CAN
ทาไมเด็กถึงเป็ นกลุ่มที่น่าจะเกิดปั ญหาจากการใช้ การศึกษาความคลาดเคลื่อนทางยาในเด็ก

การศึ
ก
ษาของกอบกาญจน์
ชู
ป
าน
ศึ
ก
ษาผลลั
พ
ธ์
ก
ารบริ
บ
าลทางเภสั
ช
กรรม
ยาได้ บ่อย
1. เด็กมีค่าพารามิเตอร์ ทางเภสัชจลนศาสตร์ ท่ ีเปลี่ยนแปลงตามอายุ
และพัฒนาการในแต่ ละวัย จึงต้ องมีการคานวณขนาดการใช้ ยาใน
เด็กเฉพาะราย ทาให้ เกิดความผิดพลาดจากขึน้ ตอนนีไ้ ด้ บ่อยจนเกิด
อันตรายตามมา
2. การที่รูปแบบยาที่เหมาะสมสาหรั บเด็กมีปริ มาณน้ อยทาให้ มีการนา
ยาของผู้ ใ หญ่ ม าใช้ แ ทน บ่ อ ยครั ้ง ที่ ต้ อ งมี ก ารเตรี ย มยาขึ น้ มาใช้
เฉพาะหน้ า
3. ยาบางชนิดที่มีความจาเป็ นต้ องใช้ ในเด็กยังขาดข้ อมูลทางคลินิกใน
เด็ก ทัง้ ยังไม่ ได้ รับการรั บรองให้ ใช้ ในเด็ก หรื อไม่ มีฉลากระบุขนาด
การใช้ ทาให้ มีความเสี่ ยงต่ อการเกิดอาการไม่ พึงประสงค์ จากยา
เพิ่มขึน้
4. การเกิ ด ความคลาดเคลื่ อนทางยา เด็ ก มี โ อกาสเกิ ด ความ
คลาดเคลื่ อ นทางยาได้ เ ท่ า ผู้ ใ หญ่ แต่ มี โ อกาสท าให้ เ กิ ด อั น ตราย
มากกว่ าผู้ใหญ่ ถึง 3 เท่ า ความคลาดเคลื่อนทางยาที่พบบ่ อ ยที่สุด
คือ ขนาดยา โดยพบได้ ถึงร้ อยละ 28
ในผู้ป่วยเด็ก ณ โรงพยาบาลวาริ นชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี ในผู้ป่ วยเด็ก
ทังหมด
้
430 ราย เภสัชกรค้ นหาปั ญหาจากการใช้ ยาได้ 132 ปั ญหา ในผู้ป่วย
108 ราย เป็ นความคลาดเคลื่อนทางยาร้ อยละ 28.79 การได้ รับขนาดยาที่ต่า
เกินไปร้ อยละ 18.94 และเกิดอาการไม่พงึ ประสงค์จากการใช้ ยาร้ อยละ 9.09
 การศึกษาในหอผู้ป่วยเด็กที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ผู้ป่วยเด็ก 119
ราย ทีมสหสาขาวิชาชีพค้ นหาปั ญหาจากการใช้ ยาได้ 173 ปั ญหา ในผู้ป่วย 67
ราย พบปั ญหาจากการใช้ ยาที่พบได้ บ่อย คือ ความคลาดเคลื่อนทางยาร้ อยละ
22.54 การได้ รับขนาดยาที่สูงเกินไปร้ อยละ 16.67 และการได้ รับขนาดยา
ที่ต่าเกินไปร้ อยละ 14.45
 การศึกษาของ Rowe และ Korenskoren ศึกษาการเกิดความคลาดเคลื่อน
ทางยาเนื่องจากความผิดพลาดในการคานวณขนาดยาของแพทย์ ที่กาลัง
เรี ยนสาขากุมารเวชศาสตร์ โดยพบแพทย์ 28 ราย จาก 64 ราย ที่คานวณขนาด
ยาผิด และในจานวนนี ้มี 7 รายที่คานวณเกินขนาดถึง 10 เท่า
 การศึกษาของ Koren และ Haslan ทดสอบเจ้ าหน้ าที่ในหอผู้ป่วยเด็กทัง้
แพทย์และพยาบาล พบว่าคานวณขนาดยาผิดถึงร้ อยละ 60 และมีร้อยละ 6 ที่
คานวณเกินขนาดถึง 10 เท่า
ความคลาดเคลื่อนทางยาในเด็ก
o มีสาเหตุความคลาดเคลื่อน ได้ แก่ ความผิดพลาดในการคานวณ ความสับสนในการเปลี่ยนหน่ วยการใช้ ของยา ความผิดพลาดในการสื่ อสาร
และความผิดพลาดในการตวงยา
o ขัน้ ตอนที่พบความคลาดเคลื่อนบ่ อยที่สุด คือ การสั่งใช้ ยาของแพทย์ พบร้ อยละ 74 ลาดับต่ อมา คือ การคัดลอกใบสั่งยา และการให้ ยา
ของพยาบาล
o ความคลาดเคลื่อนด้ านขนาดยาก่ อให้ เกิดอันตรายร้ ายแรง และพบความผิดพลาดนีไ้ ด้ บ่อยในเด็กเมื่อเทียบกับผู้ใหญ่ คือ การได้ รับยาเกิน
ขนาดถึง 10 เท่ า
o ปั ญหาความคลาดเคลื่อนด้ านขนาดยา เนื่องจากต้ องคานวณขนาดยาในเด็กทุกราย ซึ่งขัน้ ตอนการคานวณมีความซับซ้ อน ยุ่งยาก โดยต้ องมี
การคานวณขนาดยาจากนา้ หนักตัว การคานวณปริ มาตรยาตามรู ปแบบยาที่มี และบางครั ง้ อาจมีการเปลี่ยนหน่ วยการใช้ ยาทาให้ เป็ นขึน้ ตอนที่
เกิดความผิดพลาดได้ บ่อย