จัดยา

Download Report

Transcript จัดยา

มาตรฐานความปลอดภัยด้ านยาในโรงพยาบาลลาปลายมาศ
การบริการจ่ ายยาผู้ป่วยนอก
เภสัชกรหญิงสุนิสา เส้ งสุย
งานจ่ ายยาผู้ป่วยนอก กลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค
ข้ อมูลทัว่ ไป
-โรงพยาบาลชุมชนขนาด 90 เตียง
- แพทย์ 9 คน
- ทันตแพทย์ 4 คน
- พยาบาลวิชาชีพ 85 คน
- เภสัชกร 9 คน
กลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค
1.งานบริหารเวชภัณฑ์
2.งานบริการจ่ ายยาผู้ป่วยใน
3.งานบริการจ่ ายยาผู้ป่วยนอก
4.งานผลิตยา
งานจ่ ายยาผู้ป่วยนอก กลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค
เปิ ดบริการ 8.30 – 24.00 น.
การจัดยาหมวดหมู่ยา
1. จัดตามกลุ่มเภสัชวิทยา
2. จัดตามรู ปแบบ เช่ น ยานา้ ยา
เม็ดแบ่ งบรรจุ เป็ นต้ น
3. ยาสาหรั บนับเม็ด
*โดยยึดหลัก FEFO และ 5ส
**ยาแบ่ งบรรจุและยาสาหรั บนับเม็ด
กาหนดอายุ 6 เดือน
***ป้ายชื่อยาปรั บตาม LASA
คลังยาย่ อย
งานจ่ ายยาผู้ป่วยนอก
1.จัดเรียงยาตามกลุ่ม
เภสัชวิทยา
2.ใช้ หลัก FEFO
และ 5ส
3.เบิกยาจากคลังใหญ่
ทุกสัปดาห์
*ยาเสพติด (HAD) ประกอบด้วย
Mophrine inj. และ Pethidine
inj. (แนวทางการเบิก-จัด-จ่ าย, ทะเบียนรั บจ่ าย, ยส.5, กุญแจ)
**ยา ARV (ทะเบียนรั บ-จ่ าย)
***ยาแช่ เย็น
การบันทึกอุณหภูมิและ
ความชืน้ สัมพัทธ์
*อุณหภูมิ บันทึกวันละ 2 ครัง้ 8.30 และ
16.30 น.
1. ตู้เย็น (2-8 ˚C)
2. อุณหภูมหิ ้ อง (25 ˚C) 3 จุด
(ใกล้ เครื่องปรับอากาศ, กลางห้ องและ
บริเวณคลังยาย่ อย)
ใช้ เครื่องปรับอากาศ 2 ชุด เปิ ดสลับกัน
24 ชม.
**ความชืน้ สัมพัทธ์ (<70%)
บันทึก 3 จุด
(ใกล้ เครื่ องปรั บอากาศ, กลางห้ องและ
บริเวณคลังยาย่ อย)
***แนวทางปฏิบัตเิ มื่อไฟดับ
****แนวทางปฏิบัตเิ มื่อเกิดปั ญหาเกี่ยวกับ
อุณหภูมแิ ละความชืน้ สัมพัทธ์
การให้ บริการ
ผู้ป่วยยื่นแบบบันทึกเวชระเบียน รบ.1 ต.02 หรื อ Input form
DRP, ADR , Prescribing error
consult แพทย์ /พยาบาล
พิมพ์ ใบสั่งยาและฉลากยา
Processing error (พิมพ์ ใบสั่งยา)
จัดยา
Processing error (จัดยา)
จ่ ายยา
Dispensing error, Administration error
ให้ คาปรึกษาการใช้ ยา
consult แพทย์
ผู้ป่วยยื่นแบบบันทึกเวชระเบียน รบ.1 ต.02 หรือ Input form
สมุดประจำตัว
สมุดประจาตัว
ผู้ป่วยนอกทั่วไป , NCD clinic, Asthma,
Warfarin, ARV, TB
ผู้ป่วยทันตกรรม
ขัน้ ตอนการพิมพ์ ใบสั่งยาและฉลากยา
1. ตรวจสอบประวัตกิ ารใช้ ยาเดิมของผู้ป่วยจาก
ระบบ Hos-XP , OPD-IPD scan,
สมุดประจาตัวผู้ป่วย
2. Prescribing error , มีประวัตแิ พ้ ยา,
D/I consult แพทย์ หรื อพยาบาลผู้ส่ ังใช้ ยา
3. พิมพ์ ใบสั่งยาและฉลากยา
ใบสั่งยา
ประกอบด้ วยข้ อมูล
1. ชื่อ-สกุล HN ผู้ป่วย
2. ข้ อมูลทั่วไป
3. V/S
4. Dignosis
5. รายการยา จานวนและราคา
6. ผู้จัด, ผู้จ่ายยา
ฉลากยา
ประกอบด้ วยข้ อมูล
1. ชื่อ-สกุล HN ผู้ป่วย
2. ชื่อยา จานวนยาและจานวนรายการยา
3. วิธีการใช้ ยา
4. คาแนะนาและคาเตือนที่สาคัญ
5. เบอร์ โทรศัพท์
ขัน้ ตอนการจัดยา
1. ตรวจสอบใบสั่งยากับ
input-form ก่ อนจัดยา
2. จัดยาตาม input-form
3. แนบฉลากช่ วยในซองยาที่ต้อง
ใช้ เทคนิคพิเศษ เช่ น MDI,
Nasal sray, eye/ear
drop
4. แนบฉลากคาเตือนที่สาคัญใน
รายการยาที่มีช่วงการรักษา
แคบ เช่ น Warfarin,
Digoxin,
Theophylline,
Phenytoin
5. ยาเสพติดจัดโดยเภสัชกรหรือ
จพง. เท่ านัน้
การจัดยา
การจ่ ายยา
1. เภสัชกรตรวจสอบ input-form, สมุด
ประจาตัวผู้ป่วยกับใบสั่งยา
2. ตรวจสอบความถูกต้ องของการจัดยา
3. เมื่อพบปั ญหาจาก Prescribing error
consult แพทย์ หรื อพยาบาล,
Processing error ดาเนินการแก้ ไข
4. เภสัชกรจ่ ายยาหรื อส่ งมอบยาให้ ผ้ ูป่วยทุกราย
5. การจ่ ายยาใช้ หลักของ Prime question
เน้ น ชื่อ-สกุล ประวัตกิ ารแพ้ ยา ผู้ป่วยโรคเรื อ้ รั ง
จะเน้ นให้ ผ้ ูป่วยทบทวนการใช้ ยา
6. เมื่อผู้ป่วยได้ รับยาที่ต้องได้ รับการให้ คาปรึกษา
ส่ งห้ องให้ คาปรึกษา
การบริหารจัดการยานอกเวลาทาการ
1. รถส่ งยา
2. เภสัชกรตรวจสอบการสั่งใช้ ยา
จาก input-form, จานวนยา
ที่ใช้ ไป
3. จพง. เติมเต็มยาทุกวัน
4. บันทึกความคลาดเคลื่อนทางยาที่
พบ
5. เจ้ าหน้ าที่สามารถโทรศัพท์ ตาม
เภสัชกรได้ ตลอดเวร
การติดตาม APR งานจ่ ายยาผู้ป่วยนอก
1. แพทย์ , พยาบาล สงสัยว่ าอาจเกิดการ
แพ้ ยา ส่ งพบเภสัชกร
2. เภสัชกรประเมินการแพ้ ยาโดยใช้
Naranjo’ s agorithm ลง
รายงาน
3. ออกบัตรแพ้ ยา บัตรเฝ้าระวังการใช้ ยา
4. ลงข้ อมูลในระบบ Hos-XP
5. รวบรวมข้ อมูลส่ ง อย.
*ในกรณีท่ ผี ้ ูป่วยได้ รับยา Steroids,
Antihistamine เภสัชกรต้ องซัก
ประวัตกิ ารใช้ ยาของผู้ป่วยทุกราย
การลงรายงานความคลาดเคลื่อนทางยา
1. Prescribing error
2. Processing error จากการพิมพ์
ใบสั่งยาและจัดยา
3. Dispensing error
4. Administration error
5. Medication error จากรถส่ งยา
นอกเวลา
*รวบรวมรายงานทุกเดือน
**นาเข้ าที่ประชุม
คณะอนุกรรมการความคลาด
เคลื่อนทางยา
การตรวจยาหน่ วยงาน
1. ตรวจสอบทุก 6 เดือน
2. เน้ นตรวจสอบยาใกล้ หมดอายุ
3. ยาหมดอายุ
4. การเก็บรั กษายาในหน่ วยงาน
CQI งานจ่ ายยาผู้ป่วยนอก
1.การพัฒนาระยะเวลารอรั บยา (Waiting time)
2.การศึกษาความคลาดเคลื่อนการบริหารยา
(administration error) ในผู้ป่วยโรคเรื้อรั ง
3.การจัดตั้ง Warfarin clinic
ผลการดาเนินการ CQI
Waiting time
ช่ วงเวลา
8.30-10.00,14.00-16.30
10.00-13.00
8.30-16.30
เฉลี่ย
กระบวนการ (min)
พิมพ์ ใบสั่งยา
จัดยา
จ่ ายยา
(min)
5
5
6
16
31
22
7
6
6
6
44
34
แนวทางการแก้ ไข
1. เพิ่มเภสัชกรและเจ้ าหน้ าที่ในช่ วงเวลาเร่ งด่ วน (10.00-13.00)
2. ติดประกาศแจ้ งให้ ผ้ ูป่วยทราบ “รอรั บยาเกิน 1 ชั่วโมง โปรดติดต่ อ
เจ้ าหน้ าที่”
ผลการดาเนินการ CQI
Administration error
สาเหตุการบริหารยาผิด
1. อ่ านหนังสือไม่ ออก
2. ไม่ อ่านฉลาก
3. ฉลากผิด
4. อื่นๆ เช่ น ลืม ความไม่ เข้ าใจว่ าทาไมต้ องใช้ ยา
แนวทางการแก้ ไข
1. Pitogram
2. การบันทึกในสมุดประจาตัวผู้ป่วย
3. ป้ายเตือน “อ่ านฉลากให้ เข้ าใจทุกครัง้ ก่ อนการจ่ ายยา”
ผลการดาเนินการ CQI
การจัดตั้ง Warfarin clinic
ั ว่ นของความรูด
สดส
้ า้ นการ
้ า warfarin
ใชย
68.75
80
%
60
41.88
40
20
*Adherence เพิ่มจาก
46.2% เป็ น 100%
**ไม่พบ serious ADE
0
ก่อน
หลัง
แนวทางการจัดตัง้ Warfarin clinic
1. ผู้ป่วยเจาะเลือดติดตาม INR ทุกครั ง้
2. แพทย์ ประเมินและสั่งใช้ ยาทุกราย
3. เภสัชกรประเมิน ติดตาม ตรวจสอบการใช้ ยาของผู้ป่วยทุกราย
สรุ ปความคลาดเคลื่อนทางยา
งานจ่ ายยาผู้ป่วยนอก 2552
18
16
14
12
Prescribing error
10
Processing error
8
Dispensing error
6
Administration error
4
2
*ระดับความรุ นแรง : c=63, D=3 และ E=3
รวม
ก.ย.
ส.ค.
ก.ค.
มิ.ย.
พ.ค.
เม.ย.
มี.ค.
ก.พ.
ม.ค.
ธ.ค.
พ.ย.
ต.ค.
0
แผนพัฒนางานจ่ ายยาผู้ป่วยนอก 2553
1.การให้ บริการ One Stop service ร่ วมกับ
ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่ น ARV clinic, TB
clinic
2.การจัดตัง้ คลินิกต่ างๆ เช่ น NCD clinic,
Asthma clinic