Palliative care in children

Download Report

Transcript Palliative care in children

ความท ้าทายของการดูแล
ผู ้ป่ วยเด็กระยะสุดท ้าย
ี ชวี ต
 สาเหตุการเสย
ิ มีความหลากหลาย
 Cancer
 Congenital anomalies
 Metabolic conditions
 Neuromuscular degenerative diseases
 พยากรณ์โรคคาดเดาลาบาก
 การประเมินอาการทาได ้สาบาก จากปั ญหา
ื่ สาร
การสอ
 ทารกแรกคลอดและวัยรุน
่ เป็ นปั ญหาทีท
่ ้าทาย
 ปั ญหาทางจริยธรรม
- ควรบอกเด็กอย่างไร ?
ิ ใจ ?
- เมือ
่ ใดเด็กควรมีสว่ นร่วมในการตัดสน
ิ ใจแทนเด็ก ?
- ใครเป็ นผู ้ตัดสน
ิ ใจบนผลประโยชน์ของใคร ?
- ตัดสน
- ควรตอบสนองต่อความต ้องการของใคร
ความแตกต่างระหว่างเด็กและผู ้ใหญ่
 • ผู ้ป่ วย
 • ครอบครัว
 • ผู ้ให ้บริการ
 • จิตวิญญาณ
 • การรักษาทางการแพทย์
ิ ธิในการตัดสน
ิ ใจ
ใครเป็ นผู ้มีสท
ตามกฎหมาย
เด็ก v.s. ผู ้ปกครอง
ิ ใจ
 ความสามารถในการตัดสน
ขึน
้ กับการเรียนรู ้และพัฒนาการของเด็ก
 การให ้ข ้อมูล
ให ้อย่างไร มากน ้อยเพียงใด
ความเข ้าใจเรือ
่ ง
การตาย
 พัฒนาการ
 วัฒนธรรม
ั ซอนของโรค
้
 ความเรือ
้ รังและซบ
 คุณภาพชวี ต
ิ ของเด็ก
 ความเป็ นเด็ก การเล่น การเรียน เพือ
่ น
การตาย
0 – 2 ปี
 ไม่สามารถรับรู ้
เกีย
่ วกับ
ความเจ็บป่ วยและ
ความตาย
 รับรู ้ถึงความเครียด
ของผู ้เลีย
้ งดู
 ทาให ้สุขสบายโดย
ั ผัส การดูดนม
การสม
ี งเพลง
เสย
ึ สุขสบายเมือ
 รู ้สก
่
อยู่
2 – 6 ปี
• เข ้าใจว่าความตายเป็ นสงิ่ ที่
ไม่
ถาวร ผู ้ทีต
่ ายแล ้วยังกลับมา
ใหม่ได ้
• เข ้าใจว่าความตายเป็ นการ
ลงโทษ
• อธิบายเรือ
่ งความตายอย่าง
ตรงไปตรงมา
• ไม่แยกเด็กจากผู ้เลีย
้ งดู
• ให ้อยูใ่ นสภาพแวดล ้อมที่
เด็กคุ ้นเคย
ความเข ้าใจเรือ
่ งการตาย
 > 12 ปี
 เข ้าใจอย่างถ่องแท ้เกีย
่ วกับความตาย
 ต ้องการพูดคุยเกีย
่ วกับแผน อนาคต สาเหตุ
 ความเจ็บป่ วย
 อาจแสดงความโกรธ ก ้าวร ้าว
 ให ้ความเป็ นสว่ นตัว
ิ ใจของเด็ก
 เคารพในการตัดสน
 ให ้มีโอกาสพบปะเพือ
่ นฝูง
 การจัดให ้มีกลุม
่ เพือ
่ นทีป
่ ระคับประคอง
ี
ความโศกเศร ้า การสูญเสย
ี ชวี ต
 เมือ
่ ลูกจะต ้องเสย
ิ พ่อ แม่ความทุกข์ สุดทีจ
่ ะบรรยาย
 บิดามารดามักต ้องการการรักษาทีย
่ ด
ื ชวี ต
ิ ผู ้ป่ วยให ้นาน
ทีส
่ ด
ุ ไม่สามารถยอมรับความ
ี
สูญเสย
 การให ้ Bereavement care เป็ น สงิ่ จาเป็ นและเป็ น
องค์ประกอบทีส
่ าคัญในการดูแลผู ้ป่ วยเด็กระยะสุดท ้าย
ึ โดดเดีย
 ปั ญหาพึน
่ ้องของเด็กป่ วย ความร ้สก
่ ว ความโกรธ
น ้อยใจ
ความแตกต่างระหว่างเด็กและ
ผู ้ใหญ่
ผู ้ให ้บริการ
 ขาดประสบการณ์การดูแลผู ้ป่ วยเด็กระยะสุดท ้าย
 ขาดความรู ้เรือ
่ งพัฒนาการและปฏิกริ ย
ิ าของเด็กทีต
่ ้อง
ิ กับความตาย
เผชญ
้ opioids ในเด็ก
 กลัวการใชยา
ความแตกต่างระหว่างเด็กและ
ผู ้ใหญ่
มิตจิ ต
ิ ของวิญญาณ
 เด็กไม่สมควรทีจ
่ ะตายก่อนพ่อแม่
 ความหมายของชวี ต
ิ และความตายในมุมมองของเด็ก
 การเก็บรักษาความทรงจา
ความแตกต่างระหว่างเด็กและ
ผู ้ใหญ่
การรักษาทางการแพทย์
 การพยากรณ์โรคประเมินยาก
 การลุกลาม-การทุเลาของโรคเปลีย
่ นแปลงเร็ว
 เด็กมักดูด ี เล่นได ้ แล ้วมีอาการเปลีย
่ นแปลง
ี ชวี ต
อย่างรวดเร็วไม่กวี่ น
ั ก่อนเสย
ิ
 การประเมินความปวดทาได ้ลาบาก บางครัง้ ต ้อง
ั การประเมินผ่านผู ้ปกครอง
อาศย
ี พ่อแม่
การสูญเสย
ี
เป็ นการสูญเสย
สว่ นหนึง่ ในอดีต
ี ลูกเป็ น
การสูญเสย
ี
การสูญเสย
ความหวังและ
ความใฝ่ ฝั นใน
อนาคต