สาเหตุที่เลิกสูบบุหรี่

Download Report

Transcript สาเหตุที่เลิกสูบบุหรี่

ชีวิตสดใส ไร้ควันบุหรี่
องค์การอนามัยโลกประมาณการว่า
ปัจจุบนั มีผเ้ ู สียชีวิตจากบุหรี่ปีละ 4 ล้านคน
หรือวันละ10,000 คน หรือชัวโมงละ
่
450 คน
ผูอ้ านวยการใหญ่องค์การอนามัยโลก
กาหนดให้การควบคุมยาสูบเป็ นหนึ่ งในสอง
นโยบายหลัก
In 2000
• 4,300,000 smoking related deaths
• 12 % of total global deaths are related to
cigarette smoking
• 19 % of deaths in developed countries
• 9 % of deaths in developing countries
• 2,690,000 deaths in 30-69 age group
สูบบุหรี่ มีพษิ ภัย
ตายไวกว่าปกติ
หนุ่มสาวที่สบู ตัง้ แต่วยั รุน่ อย่างต่อเนื่ องนัน้
• ประมาณ 25% จะตายก่อนเวลาอันควร
ในช่วงวัยกลางคน
• และประมาณอีก 25% จะตายก่อนเวลาอัน
ควรใน วัยชรา
จานวนคนไทยที่เสียชีวิตด้วยโรคจากบุหรี่
 โรคหัวใจ
15,491 คน
 มะเร็งปอด
10,619 คน
 ถุงลมปอดโปง่ พอง
5,945 คน
 เส้นเลือดในสมองตีบแตก
2,501 คน
 เส้นเลือดบริเวณอื่นตีบแตก
1,722 คน
“เสียชีวติ จากโรคทีเ่ กิดจากบุหรีป่ ีละ 42,000 คน วันละ 115
คน ชัวโมงละ
่
6 คน”
อายุและสาเหตุที่เริ่มสูบบุหรี่
(สารวจปี 2542)
 พบว่าอายุระหว่าง15 - 19 ปี เป็ นอายุทเ่ี ริม่ สูบบุหรีม่ าก
ทีส่ ดุ (55.9%)
 อยากทดลองสูบ(37.5%)
 ตามอย่างเพือ่ นหรือเพือ่ นชวนสูบ(34.8%)
 สาเหตุอ่นื ๆ เพือ่ เข้าสังคม คลายเครียด ตามอย่างสมาชิก
ในครัวเรือน แพ้ทอ้ ง ทีบ่ า้ นปลูกยาสูบ
 แต่ละคนที่สบู ไม่คิดว่าตนเองจะติดบุหรี่
Truth about Smoking
วัยรุ่นที่สบู บุหรี่จะ —
• มีโอกาสดื่มเหล้าเพิ่ม
เป็ น 3 เท่า
• มีโอกาสติดกัญชาเพิ่ม
8 เท่า
• มีโอกาสใช้โคเคน
เพิ่ม 22 เท่า
— เมื่อเทียบกับผูท้ ี่ไม่สบู
สมอง
ผิวหนัง
สายตา
ปากและฟนั
เล็บ
กล่องเสียง
ผิวหนัง
หัวใจและหลอดเลือด
ปอด
ทางเดินอาหาร
ผลเสียบางส่วนของการสูบบุหรี่ต่ออวัยวะต่างๆ ในร่างกาย
โทษภัยต่อสุขภาพ ---- ความเสี่ยง 1
มะเร็ง
หัวใจและหลอดเลือด
การหายใจ
Bladder
Cervical
Kidney
Larynx
Lung
Mouth
Pancreatic
Throat
Aortic aneurysm
Cardiovascular
disease
Rheumatic heart
disease
Stroke
Sudden cardiac
death
Asthma
Bronchitis
Chronic
obstructive
pulmonary
disease
Decreased
pulmonary
function
Pneumothorax
โทษภัยต่อสุขภาพ ---- ความเสี่ยง 2
การสืบพันธุ์
เด็กแรกเกิด
ระบบต่อมไร้ท่อ
Preterm
delivery
Reduced
fertility
Reduced
oxygen to
placenta
Lower birth
weight
Sudden infant
death
syndrome
(SIDS)
Early
menopause
Irregular
menstrual
bleeding
Premature
wrinkling and
aging
โทษภัยต่อสุขภาพ ---- ความเสี่ยง 3
การติดเชื้อ
อื่นๆอีกมากมาย
Pneumonia
Influenza
Opportunistic
respiratory infections
Bruises
Blisters
Sprains
Broken bones
ควันบุหรี่ทาร้ายผู้ใกล้ชิด
กลไกการติดบุหรี่
 ทางพฤติกรรม
 ความเคยชิน
 ท่าทางการสูบบุหรี่
 ภาวะจิตใจ
 ความเครียด
 ความสุขทีไ่ ด้จากการสูบบุหรี่
 ทางร่างกาย (ติดนิโคติน)
Smoker
ทางร่ างกาย
การติดนิโคตินในบุหรี่
 นิโคตินมีอานุภาพในการเสพติดเทียบเท่า โคเคน
หรือ เฮโรอีน
 การติดนิโคตินมีความเกีย่ วข้องกับชีวเคมีในสมอง
 97% ของผูท้ เ่ี ลิกผูท้ เ่ี ลิกบุหรีโ่ ดยใช้กาลังใจอย่าง
เดียวมักกลับมาสูบใหม่ภายใน 1ปี
ผลของ nicotine ต่อสมอง
นิโคตินจากบุหรีจ่ ะไปถึงสมองภายในเวลา 10-19 วินาที
กลไกการเสพติดนิโคติน
สารโดปามีน
สารนอร์อีพิเนฟริน
ความรู้สึกเป็ นสุขที่ได้สบู บุหรี่
ความรู้สึกหงุดหงิด ฉุนเฉี ยวเมื่อไม่ได้สบู
ตัวเลขที่สารวจจากการหยุดบุหรี่
•
•
•
•
•
70% ของผูส้ บู บุหรีต่ อ้ งการหยุดสูบ
35% หยุดอย่างน้อยปีละ 1 วัน
น้อยกว่า 10% ทีส่ ามารถหยุดได้อย่างต่อเนื่องในแต่ละปี
50% ของคนทีเ่ คยสูบบุหรีเ่ คยลองหยุด
ส่วนมากของผูท้ ห่ี ยุดได้ตอ้ งใช้ความพยายามหลายครัง้
กว่าจะสาเร็จ
• โปรแกรมการอดบุหรีท่ ด่ี ี สามารถช่วยเพิม่ โอกาสหยุด
บุหรีส่ าเร็จถึง 20-40%
อานุภาพการเสพติดของบุหรี่
ผูส้ บู บุหรี่
~70%
ต้องการเลิกบุหรี่
~2–3%
เลิกบุหรี่ได้สาเร็จ
~30%
พยายามเลิกบุหรี่
1. Bridgwood et al, General Household Survey 1998. 2. West, Getting serious about stopping smoking 1997. 3. Arnsten, Prim
Psychiatry 1996.
สาเหตุที่เลิกสูบบุหรี่ (สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ 2542)
 คนในครอบครัวขอร้อง(15.3%)
 กลัวเป็ นโรค(11.7%)
 เป็ นโรคแล้วแพทย์แนะนาให้หยุดสูบบุหรี(่ 25.5%)
 พบว่าไม่ดจี งึ ตัดสินใจเลิกเอง(34.7%)
 ต้องการประหยัด(6%)
 เชือ่ ว่าสังคมไม่ยอมรับผูส้ บู บุหรี(่ 1.6%)
สาเหตุที่ทาให้เลิกบุหรี่ไม่ได้
 คิดว่าการสูบบุหรีท่ าให้คลายเครียด การเลิกทาให้มอี าการ
หงุดหงิด
 การสูบบุหรีท่ าให้ทางานได้, คิดออก, มีสมาธิ
 คิดว่าสายไปแล้วสูบมาตัง้ นานแล้ว
 เห็นผูส้ บู บุหรีบ่ างคนแก่แล้ว แต่ยงั คงแข็งแรงดี
 เพราะคิดว่าบุหรีท่ ม่ี ที าร์ และนิโคตินต่าไม่อนั ตราย
 คิดว่าใช้กน้ กรอง/อุปกรณ์กรองแล้วคงปลอดภัย
 คิดว่าสูบลดลงแล้วคงปลอดภัย
ความเชือ่ 1: สูบวันหนึ่งไม่กม่ี วน คงไม่
เป็ นอันตราย
ความจริง: ผิด! บุหรี่เพียงแค่ 1มวน
ต่อวัน ก็เป็ นอันตรายต่อสุขภาพแล้ว
ความเชือ่ 2: ถ้าสูบแล้วไม่มใี ครอยากเลิก
หรอก
ความจริง: ผิด! ผูส้ บู บุหรี่ 7 ใน 10 คน
อยากเลิก
ความเชือ่ 3: ผมคงเลิกบุหรีไ่ ม่ได้หรอก
ความจริง: คุณทาได้! เหมือนคน
กว่าล้านทัวโลกที
่
เ่ ลิกได้
ความเชื่อ 4: หมอ พยาบาลช่วยอะไร
ผมไม่ได้
ความจริง: ผิด!พวกเขาช่วยคุณได้
ความเชื่อ 5: การรักษาคงไม่ได้ผล
หรอก
ความจริง: เดีย๋ วนี้มวี ธิ กี ารรักษา
ใหม่ๆทีช่ ว่ ยให้คณ
ุ เลิกได้!
เลิกบุหรีไ่ ม่ใช่เรือ่ งง่าย แต่ไม่ยากเกินความตัง้ ใจ
 แรงจูงใจ
 ระดับการติดนิโคติน
 สภาวะแวดล้อม
 ครอบครัว
ขั้นตอนทีน่ ำไปสู่ กำรเลิกสู บบุหรี่
ผูท้ ก่ี าลังสูบบุหรี่ active smokers
มีความต้องการเลิกบุหรี่
ลงมือเลิกสูบบุหรี่
สามารถเลิกสูบบุหรีไ่ ด้ในระยะยาว
ไม่มคี วามต้องการเลิกบุหรี่
แรงจูงใจ
NCI’S 5 A’s
Step-by-Step Approach to
Counseling Patients Who Smoke
•
•
•
•
•
Ask
Advise/Educate
Assessment
Assist
Arrange Follow-up
การบาบัด/รักษา
 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 การคลายความเครียด
 การใช้ยา
- นิโคตินทดแทน เช่น แผ่นแปะ , หมากฝรัง่
- ยาเม็ดอดบุหรี่ ( ไม่มีนิโคติน )
อัตราความสาเร็จของการเลิกบุหรี่โดยการใช้วิธีการ
ต่างๆ
% ความสาเร็จในการเลิกบุหรี่ที่ 1 ปี
กาลังใจอย่างเดียว
3% *
ศึกษาคู่มือเลิกบุหรี่
4% *
ได้รบั คาแนะนาจากแพทย์ทวๆไป
ั่
5% **
ได้รบั คาแนะนาจากแพทย์ทวๆไป
ั่
+ NRT
6%
คลินิกอดบุหรี่
10% *
คลินิกอดบุหรี่ & NRT
20% *
* Parrot et al, Thorax 1998. ** Richmond, Int J Tuberc Lung Dis 1999.
ยาที่ช่วยในการเลิกบุหรี่
ยาที่มีนิโคตินเป็ นส่วนประกอบ


Nicotine patch
Nicotine gum
ยาทีไ่ ม่มนี ิโคติน
Bupropion SR (Quomem)
Other medication: clonidine, nortryptyline

เหตุผลที่ทาให้กลับมาสูบใหม่
 ความเครียด
 การใช้ยาไม่ครบคอร์ส และ ไม่มเี วลาไปพบแพทย์
 อยากทดลองว่าเลิกได้จริง
 มีงานเลีย้ งสังสรรค์ มีการดืม่ เหล้า
 กลุ่มเพือ่ น สังคมกระตุน้
 ต้องการการพึง่ พิง
บทบาทของสมาชิกครอบครัว
 เข้าใจกลไกการเสพย์ตดิ ยอมรับข้อจากัด
 หยุดพฤติกรรมส่งเสริมการสูบบุหรี่
 ให้ความช่วยเหลือที่ผูเ้ สพย์ตดิ ต้องการ
 ให้กาลังใจ
 ฝึ กทักษะการสือ่ สารอย่างมีเหตุผล
 อดทนกับกระบวนการเลิกบุหรี่
บุหรี่ทปี่ ลอดภัยมีชนิดเดีย คือ
บุหรี่ทยี่ งั ไม่ ได้ จุด