session 1 the baby-friendly hospital initiative a part of the global

Download Report

Transcript session 1 the baby-friendly hospital initiative a part of the global

SESSION 1
THE BABY-FRIENDLY HOSPITAL
INITIATIVE:
A PART OF THE GLOBAL STRATEGY
poor infant feeding practices
• เด็กตาย 5500 /วัน
•
•
•
•
impaired development
Malnutrition
เพิ่ม infectious
เพิม่ chronic illness
• Rising rates of obesity in
children ที่ไม่ได้รับนมแม่
The World Health Assembly and UNICEFลงนามร่วมกันเรื่อง the
Global Strategy on Infant and Young Child Feeding in 2002.
Global Strategy for Infant and
Young Child Feeding
เป้าหมายของthe Global Strategy is to
improve
• optimal feeding
• the nutritional status
• growth and development
• health
• the survival of infants and young
children.
UNICEF/WHO Breastfeeding Promotion and Support in a Baby-Friendly Hospital - 20 hour Course 2009
• สนับสนุน exclusive breastfeeding for 6
months, with timely, adequate, safe and
appropriate complementary feeding, while
continuing breastfeeding for two years
and beyond.
• สนับสนุนเรื่ องmaternal nutrition สังคม ชุมชน
• The Global Strategy จึงมีส่วนร่ วมในthe Babyfriendly Hospital Initiative.
. Baby-friendly Hospital Initiative
• The BFHI is a global initiative of the WHO and UNICEFต้ องการให้ ทารกทุก
คนได้ the best start in life โดยการสร้ างสภาพแวดล้ อมในโรงพยาบาลให้
ส่ งเสริมสนับสนุนการเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่ ให้ กลายเป็ นเรื่ องปกติ
• เป้าหมายของthe Baby-friendly Hospital Initiative คือ
-implement the Ten Steps to Successful Breastfeeding
-ไม่ รับบริจาคหรื อซือ้ อาหารทดแทนนมแม่ ในราคาถูกกว่ าปกติในสถาน
บริการสุขภาพ
• เริ่มต้ นตัง้ แต่ ปีค.ศ.1991 จนถึงปี ค.ศ. 2007 มีสถานบริการสุขภาพมากกว่ า 20,000 แห่ งทั่ว
โลกจาก 152 ประเทศ ผ่ านการรับรองเป็ น BFHI
. Baby-friendly Hospital Initiative
• มีเกณฑ์ การประเมินสถานบริการสุขภาพรวมทัง้ บุคลากร ที่ส่งเสริม
การเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่ รวมทัง้ พัฒนา การปฏิบัตเิ พื่อการส่ งเสริม
การเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่ ในโรงพยาบาลที่ยังไม่ ผ่านการรับรอง
• สร้ างกรอบการทางานที่ช่วยให้ แม่ มีทกั ษะเพื่อเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่
อย่ างเดียว ตัง้ แต่ แรกเกิด ถึง 6 เดือนหลังอายุ 6 เดือนให้ นมแม่
ร่ วมกับอาหารเสริมตามวัยได้ เหมาะสมจนกระทั่งอายุ 2 ปี
• ให้ การดูแลเรื่องอาหารทารกที่เหมาะสมในกลุ่มทารกที่ไม่ได้ กินนม
แม่
• แนะนาให้ สอนหลักสูตรbreastfeeding แก่ บุคลากรทางการแพทย์
และสาธารณสุข
BFHIในประเทศไทยภายใต้โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
• ในประเทศไทยมีโรงพยาบาลที่ผา่ นการรับรองเป็ น BFHI ตั้งแต่ปี 2535
จนถึง 2549 จานวน 836 โรงพยาบาลจากจานวนโรงพยาบาลทั้งหมด
1,078โรงพยาบาลทัว่ ประเทศ
• ในเขตสาธารณสุ ขที่ 4 มีโรงพยาบาลที่ผา่ นการรับรองเป็ นโรงพยาบาล
สายใยรักแห่งครอบครัว ตั้งแต่ปี 2551 จนถึง 2554 จานวน 55
โรงพยาบาลจากจานวนโรงพยาบาลทั้งหมด 69โรงพยาบาลในเขต
• ปี 2555 ในเขตสาธารณสุ ขที่ 4 และ5 ทุกโรงพยาบาลผ่านการรับรองเป็ น
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว 100%
BFHI มีความสาคัญในพื้นที่ที่มีhigh HIV prevalence
• บทบาทของโรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่-ลูก.ในพื้นที่ที่มี high
prevalence of HIV infection ในแม่จะเป็ นอย่างไร
โรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่-ลูกยิง่ มีความสาคัญ โรงพยาบาลต้อง
มีแนวทางในการดูแลแม่กลุ่มนี้
• The WHO/UNICEF/UNAIDS policy statement on HIV and infant
feeding กล่าวว่า แม่กลุ่มนี้ตอ้ งได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเพื่อการตัดสิ นใจ
เรื่ องการให้อาหารทารก [5-15% ของทารก(1 in 20 to 1 in 7) ที่เกิดจาก
แม่HIV-infected จะเป็ นHIV-positiveจาก breastfeeding]
• ในกลุ่มแม่ที่ HIV negative; breastfeeding ยังคงเป็ น
the best choice สาหรับแม่และลูก
เริ่มต้ นดาเนินการBaby-friendly Hospital Initiative
ให้รับรู้ความหมายของ the Ten Steps to Successful Breastfeeding
ชี้แจงให้บุคลากรผูป้ ฏิบตั ิเห็นความสาคัญ
ทาอย่างไรจึงจะนาไปสู่ การปฏิบตั ิจริ งได้
พูดถึงการปฏิบตั ิที่เกี่ยวกับหลักเกณฑ์วา่ ด้วยการตลาดอาหารสาหรับทารกและเด็ก
เล็กและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ในโรงพยาบาล
การประเมินกระบวนการ
ไม่ ใช่ การBANผลิตภัณฑ์
TEN STEPS TO SUCCESSFUL BREASTFEEDING
A Joint WHO/UNICEF Statement (1989)
1)
2)
3)
มีนโยบายการเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่ เป็ นลายลักษณ์ อักษรที่ส่ ือสารกับ
บุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุขทุกคนได้ เป็ นประจา
( Have a written breast feeding policy that is routinely communicated
to all health –care staff )
ฝึ กอบรมบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุขทุกคนให้ มีทักษะที่จะ
นานโยบายนีไ้ ปปฏิบัติ ( Train all health-care staff in skills necessary to
implement this policy )
ชีแ้ จงให้ หญิงตัง้ ครรภ์ ทุกคนทราบถึงประโยชน์ และวิธีการเลีย้ งลูกด้ วย
นมแม่ ( In form all pregnant women about benefits and
management of breast-feeding )
TEN STEPS TO SUCCESSFUL BREASTFEEDING
A Joint WHO/UNICEF Statement (1989)
4)
ช่ วยแม่ เริ่มให้ ลูกดูดนมภายในหนึ่งชั่วโมงแรกหลังคลอด
(Help mothers initiate breast-feeding within a half-hour of birth )
5) แสดงให้ แม่ ร้ ู วธิ ีเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่ และวิธีให้ นา้ นมยังคงมีปริมาณ
พอเพียงแม้ ว่าแม่ และลูกจะต้ องแยกจากกัน
( Show mothers how to breast-feed and how to maintain lactation,
even if they should be separated from their infants )
6) อย่ าให้ นมผสมนา้ หรื ออาหารอื่นแก่ เด็กแรกคลอดนอกจากนมแม่ เว้ น
แต่ จะมีข้อบ่ งชีท้ างการแพทย์ (Give newborn infants no food or drink
other than breast milk unless medically indicated )
TEN STEPS TO SUCCESSFUL BREASTFEEDING
A Joint WHO/UNICEF Statement (1989)
7) ให้ แม่ และลูกอยู่ในห้ องเดียวกันตลอด 24 ชั่วโมง ( Practice rooming-inallow mothers and infants to remain together -24 hours a day )
8) สนับสนุนให้ ลูกได้ ดูดนมแม่ ทุกครั ง้ ที่ลูกต้ องการ
( Encourage breast-feeding on demand )
9) อย่ าให้ ลูกดูดหัวนมยางและหัวนมหลอกหรื อหัวนมปลอม
( Give no artificial teats or pacifiers (also called dummies and
soothers) to breast-feeding infants )
10) ส่ งเสริมให้ มีการจัดตัง้ กลุ่มช่ วยเหลือและสนับสนุนการเลีย้ งลูกด้ วยนม
แม่ และส่ งแม่ ไปติดต่ อกลุ่ม ดังกล่ าวเมื่อออกจากโรงพยาบาลหรื อคลินิก
( Foster the establishment of breast-feeding support groups and refer
mothers to them on discharge from the hospital or clinic )
TEN STEPS TO SUCCESSFUL BREASTFEEDING
A Joint WHO/UNICEF Statement (1989)
1) มีนโยบายการเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่ เป็ นลายลักษณ์ อักษรที่ส่ ือสาร
กับบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุขทุกคนได้ เป็ นประจา
นโยบายช่ วยให้ :
● การมีนโยบาย จะทาให้ เกิดมาตรฐาน วิธีปฏิบัติ แนวทางในการ
ดูแลแม่ และลูกเพื่อการส่ งเสริมการเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่
●สามารถติดตามประเมินผลการปฏิบัติ เกิดการพัฒนาอย่ าง
ต่ อเนื่อง
● การมีนโยบาย ที่ได้ รับการยอมรั บในทุกระดับ เป็ นคามั่นสัญญา
และความรั บผิดชอบของโรงพยาบาล จะทาให้ เกิดการผลักดันให้ มี
การปฏิบัตติ ามมาตรฐาน
• นโยบาย เป็ นข้ อตกลงร่ วมกันว่ าจะปฏิบัตติ ามมาตรฐาน ถ้ าไม่
สามารถปฏิบัตไิ ด้ จะต้ องมีการบันทึก
• ในนโยบายของโรงพยาบาล อย่ างน้ อยจะต้ องประกอบด้ วยเรื่อง
- บันไดสิบขัน้ สู่ความสาเร็จของการเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่
- การไม่ รับการบริจาคนมผสมฟรี หรือซือ้ นมผสมในราคาถูก
ขวดนม และหัวนม และไม่ แจกจ่ าย ให้ แก่ แม่
- กรณีแม่ ท่ ตี ดิ เชือ้ เอชไอวี มีแนวทางในการช่ วยแม่ ในการ
ตัดสินใจเลือกใช้ วิธีการให้ นมลูกที่เหมาะสม
2) ฝึ กอบรมบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุขทุกคนให้ มี
ทักษะที่จะนานโยบายนีไ้ ปปฏิบัติ
จุดมุ่งหมายของการฝึ กอบรมคือให้ บุคลากรทางการแพทย์ มีความ
มั่นใจในการช่ วยเหลือให้ ลูกได้ ดูดนมแม่ โดยเร็วและดูดนมแม่ อย่ าง
เดียวซึ่งนาทางไปสู่การเป็ นโรงพยาบาลสายสัมพันธ์ แม่ -ลูก
เนือ้ หาและการปฏิบตั ทิ ่ ตี ้ องเรียนรู้
• การใช้ ทักษะการสื่อสารเพื่อพูดคุยกับpregnant women, mothers and
co-workers;
• การนาthe Ten Steps to Successful Breastfeedingไปปฏิบัตจิ ริงร่ วมกับ
หลักเกณฑ์ ว่าด้ วยการตลาดอาหารสาหรั บทารกและเด็กเล็กและผลิตภัณฑ์
ที่เกี่ยวข้ อง
• พูดถึงความสาคัญของbreastfeeding ให้ หญิงตัง้ ครรภ์ ได้ รับทราบและการ
ปฏิบัตหิ ลังคลอดเพื่อให้ ลูกได้ เริ่มต้ นดูดนมแม่ โดยเร็ว
ได้ แก่ การทาskin-to-skin contact และearly initiation of breastfeeding;
• ช่ วยเหลือแม่ ให้ เรี ยนรู้ ทักษะเกี่ยวกับpositioning and attaching her baby
รวมถึงทักษะการทาhand expression;
เนือ้ หาและการปฏิบตั ทิ ่ ตี ้ องเรียนรู้
• คุยกับแม่ เรื่ องสถานที่หรื อบุคคลที่สามารถไปติดต่ อ รั บการช่ วยเหลือเมื่อ
มีปัญหาการให้ นมแม่ หลังกลับจากโรงพยาบาล
• คุยกับแม่ ท่ ีไม่ สามารถให้ นมแม่ ได้ ถงึ สถานที่หรื อบุคคลที่สามารถไปติดต่ อ
รั บการช่ วยเหลือเรื่ องการให้ อาหารทารก
• สามารถระบุได้ ว่าการปฏิบัตใิ ดสนับสนุน breastfeeding การปฏิบัตใิ ด
ขัดขวางการให้ นมแม่
• ทางานร่ วมกันเพื่อค้ นหาอุปสรรคที่สาคัญของbreastfeedingและวางแนว
ทางแก้ ไข
เมื่อจบการฝึ กอบรมแล้ วจะได้ อะไร?
• increase the level of knowledge, skill, and confidence
• ได้ รับข้ อมูลและมีการปฏิบัตใิ นแนวทางเดียวกันทัง้ โรงพยาบาล
• ได้ แนวทางปฏิบัตพ
ิ ืน้ ฐานของโรงพยาบาลที่เป็ นมิตรกับทารก
The Global Strategy ได้ รับการสนับสนุนโดย
national policies, laws และโครงการที่สนับสนุน
ปกป้อง และส่ งเสริมการเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่ รวมถึงการปกป้องสิทธิ
การลาคลอดของหญิงให้ นมบุตร