Powerpoint - สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ (สจรส.มอ.)

Download Report

Transcript Powerpoint - สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ (สจรส.มอ.)

โครงการศึกษาเพื่อ
พัฒนาชุดสิทธิประโยชน์
ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ า
วัต ถุ ป ระสงค์
- เพือ่ พัฒนากระบวนการได้มาซึ่งมาตรการด้านสุขภาพที่
เหมาะสมเพือ่ บรรจุอยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ฯ ให้มีความ
ครอบคลุม เป็ นระบบ โปร่งใส อยู่บนพื้ นฐานของ
หลักฐานเชิงวิชาการ และสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาค
ส่วนที่เกีย่ วข้อง
- ได้ผลการประเมินมาตรการด้านสุขภาพสาหรับนาเสนอ
ต่อคณะอนุ กรรมการฯ ในการพิจารณาตัดสินมาตรการ
ด้านสุขภาพเพือ่ บรรจุอยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ฯ ต่ อไป
ประชาชนได้รบั ประโยชน์
เข้าถึงบริการสุขภาพอย่างถ้วนหน้าและเป็ นธรรม
กรอบการดาเนินงาน
การเตรียมการ
กาหนดกลุ่ม
ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
สร้างประเด็นและเกณฑ์
สาหรับการคัดเลือก
สร้างประเด็นสาหรับ
การประเมิน
นาเสนอผลการประเมิน
ขั้นตอน
ผลลัพธ์
ข้อเสนอของมาตรการ
ด้านสุขภาพ
ลาดับความสาคัญของ
มาตรการด้านสุขภาพ
ผลการประเมิน
ชุดสิทธิประโยชน์
3
กลุ่มผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสี ย
เสนอหัวข้ อ
คัดเลือกหัวข้ อ
ผูก้ าหนดนโยบาย
นักวิชาการ
ผูเ้ ชี่ยวชาญทางการแพทย์
ผูเ้ ชี่ยวชาญทางการแพทย์
นักวิชาการ
กลุ่มประชาสังคม
กลุ่มผูป้ ่ วย
กลุ่มผูป้ ่ วย
กลุ่มประชาสังคม
กลุ่มอุตสาหกรรม
ประชาชนทัว่ ไป
กลุ่มผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสี ยและสิ ทธิเสนอ-คัดเลือกหัวข้ อฯ
กลุ่มผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
หน่ วยงาน/องค์กร
เสนอหัวข้อ
คัดเลือกหัวข้อ
1. ผู้กาหนดนโยบาย
กรมใน สธ. สปสช. สปส. กรมบัญชีกลาง
สภาพัฒนฯ
/
X
2. ผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์
ราชวิทยาลัยแพทย์ ทันตแพทย์
/
/
3. นักวิชาการ
คณะสาธารณสุขสาสตร์ เภสัชศาสตร์
พยาบาลศาสตร์ เศรษฐศาสตร์
/
/
4. ภาคประชาสังคม
องค์กรภาคเอกชนทีม่ ผี แู้ ทนเป็ นกรรมการ
ในคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
เครือข่ายผูป้ ว่ ย (จาก สปสช.) และ
เครือข่ายผูเ้ สียหายทางการแพทย์
/
/
/
/
6. ภาคอุตสาหกรรม
THAIMED, TPMA, PReMA,
/
X
7. ประชาชนทัวไป
่
เครือข่ายจังหวัดในสมัชชาสุขภาพ
แห่งชาติ
/
X
5. กลุ่มผู้ป่วย
วาระการปฏิบัตงิ านของผู้แทนกลุ่ม : 3 ปี (ให้ ผ้ ูแทน 2 คนในแต่ ละกลุ่มออกในปี ที่สองและเลื5อกผู้แทนใหม่ เข้ ามาทดแทน)
ผลการดาเนินงาน
รอบที่ 1 และ 2 / 2553
ข้อหัวข้อที่เสนอจากกลุ่มผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย รอบที่ 1/2553
1.การประเมินการรักษาภาวะหอบหืดชนิดรุนแรงในผูป้ ว่ ยอายุ 6 ปีขน้ึ ไป ยา Anti IgE
2.การตรวจคัดกรองและรักษาผูป้ ว่ ยไวรัสตับอักเสบบีเรือ้ รังในประชากรทีย่ งั ไม่ฉีดวัคซีน
3.มาตรการคัดกรอง รักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผูด้ ่มื สุรา
4.การผ่าตัดใส่รากฟนั เทียมในผูป้ ว่ ยทีไ่ ม่มฟี นั ทัง้ ปาก หรือทีม่ ฟี นั กรามเหลือไม่ถงึ 2 คู่
5.การดูแลสุขภาพประชาชนกลุม่ เสีย่ งมะเร็งเม็ดเลือดขาวในชุมชนรอบเขตอุตสาหกรรม
6.การรักษาผูป้ ว่ ยไตอักเสบจาก SLE เพือ่ ป้องกันภาวะไตวายเรือ้ รัง
7.มาตรการส่งเสริมการเลิกบุหรี่
8.การตรวจคัดกรองและรักษาผูป้ ว่ ยไวรัสตับอักเสบซีเรือ้ รัง
9.การรักษาภาวะมีบุตรยาก
10.การให้บริการทดแทนไตด้วยการฟอกเลือดในผูป้ ว่ ยไตวายระยะสุดท้ายรายใหม่
11.แผ่นรองซับปสั สาวะ อุจจาระสาเร็จรูปและผ้าอ้อม สาหรับผูพ้ กิ ารและผูส้ งู อายุ
12.การตรวจค้นหาและรักษาโรคมะเร็งตับ
ประเด็น ประเด็น ประเด็น ประเด็น ประเด็น ประเด็น
1
2
3
4
5
6
รวม
4
5
5
5
4
2
5
3
5
2
4
2
-
3
4
5
2
3
4
3
5
0
1
2
3
5
2
4
2
5
2
2
2
2
5
2
2
5
3
1
5
1
5
1
3
5
4
4
5
1
3
1
1
2
1
3
1
1
1
1
1
0
1
1
2
5
4
2
2
1
1
5
1
1
1
2
3
2
1
1
2
18
17
16
15
15
14
14
14
13
13
13
13
12
12
11
10
7
16.การตรวจค้นหาโรคมะเร็งท่อน้ าดี
5
5
1
2
17.การผ่าตัดใส่ลกู ตาเทียม ตกแต่งเสริมสร้างเบ้าตาและใบหน้า
1
13.การตรวจสุขภาพประจาปีของประชาชนตามชุดสิทธิประโยชน์ของข้าราชการ
14.การใช้ยาสมุนไพรเพชรสังฆาตในการรักษาริดสีดวงทวาร
15.การรักษาโรคสะเก็ดเงิน (psoriasis) ด้วยยา กลุม่ Biological agents
7
ผลการพิจารณาคณะอนุกรรมการฯ รอบที่ 1/2553
หัวข้อที่ผา่ นเข้าสู่การพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ ฯ
• มาตรการส่งเสริมการเลิกบุหรี่
– เสนอให้ศกึ ษาเพิม่ เติมด้านความเป็ นไปได้และข้อมูลด้านประสิทธิผลของยาจากโครงการนาร่อง
คลินิกเลิกบุหรีใ่ นประเทศไทย
• แผ่นรองซับปัสสาวะ/อุจจาระสาเร็จรูปและผ้าอ้อมสาหรับผูพ้ ิ การและผูส้ งู อายุ
– เสนอให้ศกึ ษาเพิม่ เติมด้านความเป็ นไปได้ในพืน้ ทีร่ ว่ มกับ สปสช. เพือ่ เก็บข้อมูลมาวิเคราะห์
เพิม่ เติมอย่างรอบด้าน และพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายทีช่ ดั เจน
• การดูแลประชาชนกลุ่มเสี่ยงมะเร็งเม็ดเลือดขาวในชุมชนเขตอุตสาหกรรม
– เสนอให้ สปสช.ทบทวนบทบาทด้านการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันในกลุ่มประชาชนทีอ่ าศัยใน
ชุมชนรอบเขตอุตสาหกรรม โดยเน้นการบริการสร้างเสริมสุขภาพระดับบุคคลและครอบครัว
ข้อหัวข้อที่เสนอจากกลุ่มผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย รอบที่ 2/2553
ประเด็น ประเด็น ประเด็น ประเด็น ประเด็น ประเด็น
1
2
3
4
5
6
รวม
4
1
5
5
5
1
21
4
5
5
2
2
3
21
3 การส่งเสริมการจัดการวิ ตามิ นเสริมโฟเลทและไอโอดีนในกลุ่มสตรีวยั เจริญพันธุ์
5
N/A
3.5
5
1
3
17.5+
4 การรักษาวัณโรคดือ้ ยารุนแรง (XDR)
1
2
5
1
5
4
18
5
4
5
2
1
1
18
5
1
1.5
5
3
3
18.5
5
1
3
5
1
3
18
4
1
2
5
5
1
18
1
5
5
1
1
3.5
1
1
5
3
2
1
15
14.5
10 การคัดกรอง ดูแลรักษาและการป้ องกันภาวะกระดูกพรุนในกลุ่มชายหญิ ง
5
1
1.5
3.5
2.5
1
14.5
12 การรักษาสายตาสัน้ ยาว เอียง โดยวิ ธีเลสิ กส์
4
1.5
2
1
4
1
13.5
13 การขยายขอบเขตการตรวจคัดกรองความเสี่ยงของโรค จากการเข้าถึงบริการ MRI
2
1
5
1
2
1
12
14 การให้วคั ซีนป้ องกันตับอักเสบบีทกุ กลุ่มอายุ
* ขยายขอบเขตการคุ้มครองผูป้ ่ วยโรคจิ ต
5
1
1
1
1
1
ได้รบั การพิ จารณาขยายสิ ทธิ ประโยชน์แล้ว
10
การปลูกถ่ายอวัยวะ: การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกาเนิ ดเม็ดเลือดเพื่อรักษา
โรคโลหิ ตจางธาลัสซีเมียชนิ ดรุนแรง
การลดอัตราการเสียชีวิตในผูป้ ่ วยติ ดเชื้อในกระแสโลหิ ต (sepsis)
1
โดยอุปกรณ์ FloTrac, PreSep หรือ PediaSat
1
5
6
7
8
9
10
การตรวจคัดกรองทารกในครรภ์ที่มีภาวะกลุ่มอาการดาวน์ในสตรีตงั ้ ครรภ์ไตรมาส
ที่สองโดยใช้ triple test
การรักษารากฟัน
ขยายขอบเขตการคุ้มครองการตรวจสุขภาพประจาปี ของประชาชนตามช่วงอายุ เพศ อาชีพ จาก
ความเสี่ยงของโรคที่อาจจะเกิ ดขึน้ ในแต่ละช่วงอายุ
การใช้ Biologic agent ในการรักษาโรคสะเก็ดเงิ นที่ไม่ตอบสนองต่อยาปกติ
และค่ารักษาพยาบาลที่เพิ่มขึน้
การใช้ยา Leuprorelin Acetate แทนการตัดอัณฑะในการรักษามะเร็งต่อมลูกหมาก
การตรวจคัดกรองเพื่อดูแลและรักษาภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศในผูช้ ายไทย
ประเด็นและเกณฑ์
การคัดเลือกหัวข้อฯ
ฉบับปรับปรุง (รอบที่ 1/2554)
ประเด็นและเกณฑ์การคัดเลือกหัวข้อฯ
โรคหรือปัญหาสุขภาพ
เทคโนโลยีด้านสุขภาพ
• จานวนผูท้ ี่ได้รบั ผลกระทบจากโรคหรือ
• ประสิทธิผลของเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
ปัญหาสุขภาพ
• ความแตกต่างในทางปฏิบตั ิ
• ความรุนแรงของโรคหรือปัญหาสุขภาพ
• ผลกระทบทางเศรษฐกิจของครัวเรือน
• ความเป็ นธรรมและประเด็นทางสังคมและจริยธรรม
การประเมินปัญหาหรือเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
11
สรุปประเด็นสาหรับการประเมินมาตรการด้านสุขภาพ
ความคุม้ ค่าทางการแพทย์
ผลกระทบด้านงบประมาณ
ดาเนินการศึกษาวิจยั
โดยฝ่ ายเลขานุการฯ
12
จานวนผูท้ ี่ได้รบั ผลกระทบจากโรคหรือปัญหาสุขภาพ
(Size of population affected by disease or health problem)
• จานวนประชากรที่มีข้อบ่ งชีใ้ นการใช้ เทคโนโลยนัน้ ๆ
เกณฑ์การให้คะแนน
• มากกว่า 500,000 คนขึน้ ไป
• 100,001 - 500,000 คน
• 50,001 - 100,000 คน
• 10,001 - 50,000 คน
• 0 - 10,000 คน
5
4
3
2
1
13
ความรุนแรงของโรคหรือปัญหาสุขภาพ
(Severity of disease or health problem)
• ระดับความรุนแรงของโรคหรือปัญหาสุขภาพหนึ่ งๆ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความสูญเสียหรือ
ผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคหรือมีปัญหาสุขภาพที่สนใจ
เกณฑ์การให้คะแนน
• น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0
• 0.01 – 0.20
• 0.21 – 0.40
• 0.41 – 0.60
• มากกว่า 0.60
5
4
3
2
1
14
ประสิทธิผลของเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
(Effectiveness of health technology)
• ผลลัพธ์ที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีด้านสุขภาพที่สนใจ พิจารณาจากผลลัพธ์สดุ ท้าย
ด้านสุขภาพจากสืบเนื่ องมาจากเทคโนโลยีนัน้ ๆ
1. การรักษาและ/หรือฟื้นฟูสภาพ
2. การคัดกรองและ/หรือวินิจฉัยโรค และ
3. การป้องกันโรค
15
ประสิทธิผลของเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
(Effectiveness of health technology)
กรณี ของการรักษาและ/หรือฟื้ นฟูสภาพ
เกณฑ์การให้คะแนน พิจารณาจากผลลัพธ์ ด้านสุขภาพจากการใช้เทคโนโลยีนนั ้ ๆ ทีม่ ผี ลทาให้
ผูป้ ว่ ยมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 50 เกิดผลลัพธ์ ดังนี้
•
•
•
•
•
สามารถรักษาให้หายขาดได้ (กลับสูภ่ าวะสุขภาพปกติ)
ยืดชีวติ ให้ยนื ยาวขึน้ และเพิม่ คุณภาพชีวติ อย่างชัดเจน
ยืดชีวติ ให้ยนื ยาวขึน้ และเพิม่ คุณภาพชีวติ เพียงเล็กน้อย
เพิม่ คุณภาพชีวติ อย่างชัดเจน
เพิม่ คุณภาพชีวติ เพียงเล็กน้อย หรือไม่เพิม่ คุณภาพชีวติ เลย
5
4
3
2
1
16
ประสิทธิผลของเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
(Effectiveness of health technology)
กรณี ของการคัดกรองโรคและ/หรือการวินิจฉัยโรค
เกณฑ์การให้คะแนน
ส่วนที่หนึ่ ง พิจารณาจากความแม่นยาในการคัดกรองและ/หรือวินิจฉัย
ส่วนที่สอง ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการคัดกรองและ/หรือการวินิจฉัยนัน้ ๆ
ส่วนที่สาม นาผลทีไ่ ด้จากการพิจารณากาหนดคะแนนในส่วนทีห่ นึ่งและสองมาให้คะแนน
17
ประสิทธิผลของเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
(Effectiveness of health technology)
กรณี ของการคัดกรองโรคและ/หรือการวินิจฉัยโรค
ส่วนที่หนึ่ ง พิจารณาจากความแม่นยาในการคัดกรองและ/หรือวินิจฉัย
ระดับความแม่นยา
A0
A1
A2
คาจากัดความ
ความแม่นยาน้อยกว่า 60%
ความแม่นยา 60 – 80%
ความแม่นยามากกว่า 80%
ส่วนที่สอง ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการคัดกรองและ/หรือการวินิจฉัยนัน้ ๆ
ผลกระทบ
คาจากัดความ
D0
โรคทีค่ ดั กรองเป็ นโรคทีไ่ ม่สามารถรักษาให้หายขาดได้
D1
โรคทีค่ ดั กรองเป็ นโรคทีส่ ามารถรักษาให้หายขาดได้
18
ประสิทธิผลของเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
(Effectiveness of health technology)
กรณี ของการคัดกรองโรคและ/หรือการวินิจฉัยโรค
ส่วนที่สาม นาผลทีไ่ ด้จากการพิจารณากาหนดคะแนนในส่วนทีห่ นึ่งและสองมาให้คะแนนดังนี้
ระดับความแม่นยา
A2
A1
A2
A1
A0
A0
ผลกระทบ
D1
D1
D0
D0
D1
D0
คะแนน
5
4
3
2
2
1
19
ประสิทธิผลของเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
(Effectiveness of health technology)
กรณี ของการป้ องกันโรค
เกณฑ์การให้คะแนน
•
•
•
•
•
มีประสิทธิผลในการป้องกันมากกว่า 90%
มีประสิทธิผลในการป้องกัน 81–90%
มีประสิทธิผลในการป้องกัน 71–80%
มีประสิทธิผลในการป้องกัน 61–70%
มีประสิทธิผลในการป้องกันน้อยกว่า 60%
5
4
3
2
1
20
ความแตกต่างในทางปฏิบตั ิ
(Variation in practice)
• ความแตกต่างในทางปฏิบตั ิ จากการใช้เทคโนโลยีด้านสุขภาพ โดยพิจารณาในสองประเด็นคือ
ความแตกต่ างระหว่ างชุดสิทธิประโยชน์ และความแตกต่ างที่เกิดจากการกระจายเทคโนโลยี
5
4
3
• มีหลักฐานวิชาการในประเทศไทย (ระดับประเทศ) ว่ามีความแตกต่างในทางปฏิบตั ิ
• มีหลักฐานวิชาการในประเทศไทย (บางพืน้ ที)่ ว่ามีความแตกต่างในทางปฏิบตั ิ
• มีหลักฐานวิชาการทีแ่ สดงให้เห็นถึงความแตกต่างในทางปฏิบตั ใิ นต่างประเทศ
และมีแนวโน้มว่ามีความแตกต่างในทางปฏิบตั ใิ นประเทศไทย
• ไม่มหี ลักฐานวิชาการยืนยัน แต่เป็ นทีท่ ราบโดยทัวไปว่
่ ามีความแตกต่างในทางปฏิบตั ิ
และ/หรือ ยังไม่ม ี Clinical Practice Guideline ทีช่ ดั เจนในประเทศไทย
• ไม่มหี ลักฐานวิชาการยืนยัน แต่เป็ นทีท่ ราบโดยทัวไปว่
่ าไม่มคี วามแตกต่างในทางปฏิบตั ิ
2
1
21
ผลกระทบทางเศรษฐกิจของครัวเรือน
(Economic impact on household expenditure)
• ผลกระทบจากการที่ครัวเรือนต้องแบกรับภาระรายจ่ายจากการรักษาโรคหรือปัญหาสุขภาพ
และ/หรือ จากการใช้เทคโนโลยีด้านสุขภาพ จนทาให้ต้องประสบกับภาวะล้มละลาย
•
•
•
•
•
มีรายจ่ายเนื่องจากโรคหรือปญั หาสุขภาพมากกว่า 62,500 บาท/ปี
มีรายจ่ายเนื่องจากโรคหรือปญั หาสุขภาพระหว่าง 35,601-62,500 บาท/ปี
มีรายจ่ายเนื่องจากโรคหรือปญั หาสุขภาพระหว่าง 20,801-35,600 บาท/ปี
มีรายจ่ายเนื่องจากโรคหรือปญั หาสุขภาพระหว่าง 12,001-20,800 บาท/ปี
มีรายจ่ายเนื่องจากโรคหรือปญั หาสุขภาพน้อยกว่า 12,000 บาท/ปี
5
4
3
2
1
22
ความเป็ นธรรมและประเด็นทางสังคมและจริยธรรม
(Equity/ ethical and social implication)
• ประเด็นที่มีผลกระทบทางสังคมและจริยธรรม ซึ่งส่งผลให้เกิดความแบ่งแยกหรือความไม่
เท่าเทียมกันในการเข้าถึงเทคโนโลยี/การบริการสุขภาพของคนแต่ละกลุ่มในสังคม
• การให้คะแนนพิจารณากาหนดคะแนนสามขัน้ ดังนี้
ส่วนที่หนึ่ ง พิจารณาโรคทีเ่ กิดกับผูท้ ม่ี รี ายได้น้อย
ส่วนที่สอง พิจารณาโรคทีม่ คี วามชุกต่า
ส่วนที่สาม นาผลการพิจารณาในส่วนทีห่ นึ่งและสองมาให้คะแนนในประเด็นนี้
23
ความเป็ นธรรมและประเด็นทางสังคมและจริยธรรม
(Equity/ ethical and social implication)
ส่วนที่หนึ่ ง พิจารณาจากผลกระทบของโรคหรือปญั หาสุขภาพทีส่ ว่ นใหญ่เกิดกับผูท้ ม่ี รี ายได้น้อย
ระดับรายได้ของผูไ้ ด้รบั
ผลกระทบ
คาจากัดความ
E0
โรคหรือปญั หาสุขภาพทีส่ ว่ นใหญ่ไม่ได้เกิดกับผูม้ รี ายได้น้อย
E1
โรคหรือปญั หาสุขภาพทีส่ ว่ นใหญ่เกิดกับผูม้ รี ายได้น้อย
ส่วนที่สอง พิจารณาจานวนผูป้ ว่ ยหรือผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากปญั หาสุขภาพ
ระดับความชุก
R0
R1
R2
คาจากัดความ
เป็ นโรคหรือปญั หาสุขภาพทีพ่ บมากกว่า 10,000 คน
เป็ นโรคหรือปญั หาสุขภาพทีพ่ บ 1,000 – 10,000 คน
เป็ นโรคหรือปญั หาสุขภาพทีพ่ บน้อยกว่า 1,000 คน
24
ความเป็ นธรรมและประเด็นทางสังคมและจริยธรรม
(Equity/ ethical and social implication)
ส่วนที่สาม นาผลจากการพิจารณาในขัน้ ทีห่ นึ่งและสองมาให้คะแนนดังนี้
ระดับรายได้ของ
ผูไ้ ด้รบั ผลกระทบ
ระดับความชุกของ
โรคหรือปญั หาสุขภาพ
คะแนน
E1
E1
E1
E0
E0
E0
R2
R1
R0
R2
R1
R0
5
4
3
2
2
1
25