Generalized Estimating Equations (GEE)

Download Report

Transcript Generalized Estimating Equations (GEE)

ขั้นตอนการเฝ้ าระวังด้ านสุ ขภาพและ
สิ่ งแวดล้ อม
รศ.ดร.นพ.พงศ์ เทพ วิวรรธนะเดช
LL.B., M.D., Ph.D.
ภาควิชาเวชศาสตร์ ชุมชน คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200
E-mail: [email protected]
ระบบเฝ้ าระวังสุขภาพ
กรณีปัญหามลพิษทางอากาศ
1. แหล่ งกาเนิดตามธรรมชาติ

ภูเขาไฟระเบิด ไฟป่ า ทะเลและมหาสมุทร (ละอองเกลือ)
2. แหล่ งกาเนิดจากการกระทาของมนุษย์
 แหล่งกาเนิ ดที่เคลื่อนที่ได้ เช่น รถยนต์ รถไฟ เครื่ องบิน
่ บั ที่ เช่น โรงงาน โรงไฟฟ้ า อุตสาหกรรมในครัวเรื อน
 แหล่งกาเนิ ดที่อยูก
การเผาในที่โล่งแจ้ง (การเผาขยะ เผาที่เกษตร เผาป่ า)
ภาพถ่ายถนนในกรุ งลอนดอนปี ค.ศ. 1923 ซึ่ งเป็ นที่มาของคาว่า “London Smog”
(Maynard R. 2003. Pollution. In: ABC of Occupational and Environmental Medicine 2nd Ed
(Snashall D). London:BMJ Publishing Group, pp 101-104.)
1. สารมลพิษทางอากาศปฐมภูมิ

สารมลพิษที่ระบายออกจากแหล่งกาเนิดโดยตรง เช่น ฝุ่ น SO2 CO
2. สารมลพิษทางอากาศทุตยิ ภูมิ

สารมลพิษที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีระหว่าง สารมลพิษทางอากาศปฐมภูมิ
ด้วยกันเอง เช่น โอโซน ออกไซด์ของไนโตรเจน สารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอน
 ฝุ่ นขนาดเล็ก
 ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์
 ออกไซด์ ของไนโตรเจน
 คาร์ บอนมอนอกไซด์ (CO)
 โอโซน (O3)
 ไฮโดรคาร์ บอน





อันตรายขึ้นกับขนาดและองค์ประกอบ
สามารถก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุ ขภาพได้หลายระบบ เช่น ระบบ
ทางเดินหายใจ (ไอ อาการของระบบทางเดินหายใจส่ วนล่าง) ระบบ
หัวใจและหลอดเลือด (กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจเต้นไม่สม่าเสมอ
หัวใจวาย) ระบบตา ระบบผิวหนัง
PM10 ยังเพิ่มความเสี่ ยงของอัตราตายจากภาวะเส้ นเลือดอุดตันในสมอง
และทาให้นา้ หนักของทารกในครรภ์ ลดลงอีกด้วย
บางชนิดทาอันตรายต่อปอด เช่น ฝุ่ นทรายทาให้เกิดซิลิโคซิส
กลุ่มที่เสี่ ยงได้แก่ ผูป้ ่ วยหอบหื ดและปอดอุดกั้นเรื้ อรัง
แสดงการเปรียบเทียบฝุ่ นขนาดต่ างๆ
(ที่มา: Brook et al. 2004. Circulation 109: 2655-2671.)
ภาพเอ็กซเรย์ ของผู้ป่วย
โรคถุงลมโป่ งพอง
 ไม่มีสี มีกลิ่นฉุ นแสบจมูก
 จะค่อยๆ ทาปฏิกิริยากับออกซิ เจน เป็ นซัลเฟอร์ ไตรออกไซด์
(SO3) ซึ่ งเมื่อรวมกับความชื้นเป็ นกรดซัลฟูริค
 ก่อให้เกิดการระคายเคืองของระบบทางเดินหายใจ ได้แก่
หลอดลมอักเสบเฉี ยบพลันและเรื้ อรัง และเมื่อรวมกับฝุ่ นละออง
จะกระตุน้ ให้หลอดลมหดตัว อาจนาไปสู่ระบบหายใจล้มเหลวได้
 เพิ่มความเสี่ ยงต่อการเกิดภาวะนา้ หนักแรกคลอดของทารกน้ อยลง
และภาวะการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ น้อยด้วย






ตัวสาคัญคือ ไนตริกออกไซด์ (NO) และไนโตรเจนไดออกไซด์
(NO2)
เกิดจากปฏิกริ ิยาเคมีระหว่ างไนโตรเจนและออกซิเจนในระหว่ างเผา
ไหม้ เชื้อเพลิงที่อุณหภูมสิ ู ง
ทาให้ เกิดการระคายเคืองที่ถุงลม ถุงลมโป่ งพอง และหอบหืด
เพิม่ ความเสี่ ยงของภาวะเส้ นเลือดอุดตันในสมอง (Acute ischemic
stroke)
ทาให้ นา้ หนักของทารกในครรภ์ ลดลงและภาวะการเจริญเติบโตของ
ทารกในครรภ์ น้อย
อาจเปลีย่ นเป็ น nitrosamines และทาให้ เกิดมะเร็งที่ปอด
 ไม่ มส
ี ี ไม่ กลิน่ ไม่ มรี ส
 เกิดจากกระบวนการเผาไหม้ เชื้อเพลิงทีไ่ ม่ สมบูรณ์
 เมือ
่ ถูกดูดซึมจะจับกับฮีโมโกลบินได้ ดกี ว่ าออกซิเจน 200
เท่ า
 ก่ อให้ เกิดภาวะเซลล์ ขาดออกซิเจน ทาให้ เป็ นโรคหัวใจ
 เพิม
่ ความเสี่ ยงต่ อการเกิดภาวะนา้ หนักแรกคลอดของ
ทารกน้ อยลง และภาวะการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
น้ อย
 เกิดจากปฏิกริ ิ ยาทางเคมีระหว่ างสารประกอบไฮโดรคาร์ บอน
และก๊ าซออกไซด์ ของไนโตรเจน โดยมีแสงแดดเป็ นตัวเร่ ง
ปฏิกริ ิยา
 เมื่อรวมตัวกับสารอืน
่ ๆ ทีเ่ กิดจากปฏิกริ ิยาเดียวกัน เช่ น อัลดีไฮด์
คีโตน ทาให้ เกิดหมอกสี ขาวๆ ปกคลุมทัว่ ไปในอากาศ
 ทาให้ ระคายเคืองต่ อตา ระบบทางเดินหายใจ ความสามารถใน
การทางานของปอดลดลง เหนื่อยง่ าย
 เพิม
่ ความเสี่ ยงต่ อภาวะเส้ นเลือดอุดตันในสมอง (Stroke)
 กลุ่มเสี่ ยงคือ เด็ก คนชรา และผู้ทเี่ ป็ นโรคปอด
 เกิดจากเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของสารอินทรี ยจ์ าก
ยานพาหนะและโรงไฟฟ้ า
 การจราจรและการเผาใบไม้ หญ้าแห้งเป็ นแหล่งกาเนิด
หลักของไฮโดรคาร์บอน
 กลุ่มไฮโดรคาร์ บอนที่สาคัญคือ Polycyclic aromatic
hydrocarbon (PAH) ทั้งนี้ International Agency for
Research on Cancer ได้จดั ให้สารเคมีในกลุ่ม PAH เป็ น
สารก่อมะเร็ งกลุ่มต่างๆ
ภาพก้อนมะเร็งปอด
สารอินทรีย์ระเหยง่ าย

สารอินทรีย์ระเหยง่ าย ทาให้เกิดโรคได้หลายระบบ เช่น ระบบทางเดิน
หายใจ ระบบประสาท ระบบไหลเวียนโลหิ ต ตับ ไต ระบบเลือด ระบบ
ผิวหนัง ระบบสื บพันธุ์ และมะเร็ งชนิดต่างๆ
ระบบเฝ้ าระวังกรณีโรงไฟฟ้า
และเหมืองแม่ เมาะ
เหมืองแม่ เมาะ
สิ่ งคุกคามต่ อสุ ขภาพจากโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่
เมาะและผลกระทบต่ อสุ ขภาพ
สิ่งคกุ คามด้ านกายภาพ
 การบาดเจ็บ จากหิ นกระเด็นใส่ ไฟไหม้ ระเบิด
 เสี ยง ในกระบวนการทาเหมืองมักก่อให้เกิดปั ญหาเรื่ องเสี ยงดัง
เสมอ ซึ่ งเกิดจากการขุดเจาะ การระเบิดหิ น การบด รวมทั้งเสี ยง
จากเครื่ องจักร จึงก่อให้เกิดผลกระทบต่อการได้ยนิ ของทั้ง
คนงานและประชาชนที่อาศัยอยูโ่ ดยรอบ
 ความร้ อน ในโรงไฟฟ้ าพลังงานความร้อนย่อมมีสิ่งคุกคามด้าน
ความร้อนที่อาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บแก่คนงานได้
สิ่ งคุกคามต่ อสุ ขภาพจากโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่
เมาะและผลกระทบต่ อสุ ขภาพ
สิ่งคกุ คามด้ านกายภาพ
 ความสั่ นสะเทือน การใช้เครื่ องจักรในการทาเหมือง การขนย้าย
หิ นหรื อวัสดุ และถนนที่ขรุ ขระขณะรถบรรทุกวิง่ ผ่าน มัก
ก่อให้เกิดการสัน่ สะเทือนแบบทั้งตัว ในผูท้ ี่อาศัยอยูใ่ กล้กบั
เหมืองซึ่ งอาจเป็ นอันตรายต่อกระดูกสันหลัง โดยเฉพาะผูท้ ี่มี
ปั ญหาของหลังอยูก่ ่อนแล้ว
 สนามแม่ เหล็กไฟฟ้ า พบในสายส่ งไฟฟ้ าแรงสู ง ซึ่ งในปริ มาณ
ความเข้มที่สูงอาจก่อให้เกิดมะเร็ งชนิดต่างๆ โดยเฉพาะมะเร็ ง
เม็ดเลือดขาวได้
สิ่ งคุกคามต่ อสุ ขภาพจากโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่
เมาะและผลกระทบต่ อสุ ขภาพ
สิ่งคกุ คามด้ านสารเคมี
 ฝุ่ นขนาดเล็ก (PM10) สามารถก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุ ขภาพได้หลายระบบ เช่น
ระบบทางเดินหายใจ (ไอ อาการของระบบทางเดินหายใจส่ วนล่าง) ระบบหัวใจ
และหลอดเลือด (กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจเต้นไม่สม่าเสมอ หัวใจวาย) ระบบ
ตา ระบบผิวหนัง PM10 ยังเพิ่มความเสี่ ยงของอัตราตายจากภาวะเส้ นเลือดอุดตันใน
สมอง และทาให้นา้ หนักของทารกในครรภ์ ลดลงอีกด้วย
 ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ ก่อให้เกิดการระคายเคืองของระบบทางเดินหายใจ ได้แก่
หลอดลมอักเสบเฉี ยบพลันและเรื้ อรัง และเมื่อรวมกับฝุ่ นละอองจะกระตุน้ ให้
หลอดลมหดตัว อาจนาไปสู่ ระบบหายใจล้มเหลวได้ และยังเพิม่ ความเสี่ ยงต่อการ
เกิดภาวะนา้ หนักแรกคลอดของทารกน้ อยลงและภาวะการเจริญเติบโตของทารกใน
ครรภ์ น้อยด้วย
สิ่ งคุกคามต่ อสุ ขภาพจากโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่
เมาะและผลกระทบต่ อสุ ขภาพ
สิ่งคกุ คามด้ านสารเคมี
 ออกไซด์ ของไนโตรเจน ตัวสาคัญคือ ไนตริ กออกไซด์ (NO) และไนโตรเจนได
ออกไซด์ (NO2) ทาให้เกิดการระคายเคืองทีถ่ ุงลม ทาให้เป็ นโรคถุงลมโป่ งพอง
และหอบหื ด และทาให้ผ้ ทู เี่ ป็ นโรคหัวใจมีอาการกาเริบ นอกจากนี้อาจเปลี่ยนเป็ น
nitrosamines และทาให้เกิดมะเร็งทีป่ อดได้ ไนโตรเจนไดออกไซด์ยงั เพิ่มความ
เสี่ ยงของภาวะเส้ นเลือดอุดตันในสมอง (Acute ischemic stroke) และทาให้
นา้ หนักของทารกในครรภ์ ลดลงและภาวะการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ น้อย
อีกด้วย
 คาร์ บอนมอนอกไซด์ ก่อให้เกิดภาวะเซลล์ขาดออกซิ เจน ดังนั้นผูท
้ ี่เป็ นโรคหัวใจ
อาจทาให้อาการกาเริ บหรื อหัวใจวายได้ คาร์ บอนมอนอกไซด์ยงั เพิ่มความเสี่ ยงต่อ
การเกิดภาวะนา้ หนักแรกคลอดของทารกน้ อยลง และภาวะการเจริญเติบโตของ
ทารกในครรภ์ น้อย
สิ่ งคุกคามต่ อสุ ขภาพจากโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่
เมาะและผลกระทบต่ อสุ ขภาพ
สิ่งคกุ คามด้ านสารเคมี
 โอโซน ทาให้ระคายเคืองต่ อตา ระบบทางเดินหายใจ
ความสามารถในการทางานของปอดลดลง เหนื่อยง่าย โอโซนยัง
เพิ่มความเสี่ ยงต่อภาวะเส้ นเลือดอุดตันในสมอง (Stroke) อีกด้วย
 ไฮโดรคาร์ บอน กลุ่มไฮโดรคาร์ บอนที่สาคัญคือ Polycyclic
aromatic hydrocarbon (PAH) ทั้งนี้ International Agency for
Research on Cancer ได้จดั ให้สารเคมีต่อไปนี้ในกลุ่ม PAH เป็ น
สารก่อมะเร็ งกลุ่มต่างๆ
สิ่ งคุกคามต่ อสุ ขภาพจากโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่
เมาะและผลกระทบต่ อสุ ขภาพ
สิ่งคกุ คามด้ านสารเคมี
 ซิลก
ิ า ทาให้เกิดโรคปอดจากฝุ่ นหิ นเรี ยกว่า Silicosis ซึ่งอาจก่อให้เกิด
ภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคอื่นๆ ตามมาได้ เช่น วัณโรคปอด (โดยเฉพาะผู ้
ที่มีภาวะภูมิคุม้ กันบกพร่ อง) ถุงลมโป่ งพอง รูห์มาติซึม ไตวายเรื้อรัง
และมะเร็งปอด
 ฝุ่ นจากนา้ มันดีเซล พบได้ในกรณี ที่มีการใช้เครื่ องจักรที่ใช้น้ ามันดีเซล
เป็ นเชื้อเพลิง เช่น เครื่ องขุดเจาะ และพาหนะที่ใช้ในการขนส่ง
International Agency for Research on Cancer จัดให้อยูใ่ นกลุ่ม 2A
หมายถึงเป็ นสารทีอ่ าจก่อให้ เกิดมะเร็งในมนุษย์ ได้ โดยเฉพาะมะเร็ งปอด
สิ่ งคุกคามต่ อสุ ขภาพจากโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่
เมาะและผลกระทบต่ อสุ ขภาพ
สิ่งคกุ คามด้ านสารเคมี
 สารหนู พบเป็ นสารปนเปื้ อนในการทาเหมืองแร่ โลหะ และเป็ น
สารก่ อมะเร็งได้ หลายระบบ เช่น มะเร็ งปอด
 ปรอท สารปรอทอาจเป็ นสายแร่ ที่ปนเปื้ อนจากการทาเหมือง
ถ่านหิ น พิษของปรอททาให้มคี วามผิดปกติของเหงือกและฟัน
เกิดการเปลีย่ นแปลงทั้งด้ านอารมณ์ และจิตใจ คือ อารมณ์
แปรปรวน หงุดหงิด ซึมเศร้า และระบบประสาท ได้แก่ ความ
ผิดปกติของการเคลื่อนไหวและการทรงตัว
สิ่ งคุกคามต่ อสุ ขภาพจากโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่
เมาะและผลกระทบต่ อสุ ขภาพ
สิ่งคกุ คามด้ านสารชีวภาพ
 ลีเจียนเนลล่ า (Legionella) มักพบในบริ เวณเหมืองที่ใช้ระบบ
ระบายความร้อนด้วยหอหล่อเย็น (Cooling tower) เชื้อนี้
ก่อให้เกิดโรค Legionellosis หรื อ Legionnaires’ disease
ขั้นตอน/กระบวนการในการเฝ้ าระวังผลกระทบ
ต่ อสุ ขภาพจากมลพิษทางอากาศ
การคัดเลือกพืน้ ทีท่ ี่จะเฝ้ าระวัง และการกาหนดประชากรทีจ่ ะเฝ้ าระวัง


พืน้ ทีท่ จี่ ะเฝ้ าระวัง โดยทัว่ ไปมักเป็ นพืน้ ทีท่ อี่ ยู่ใกล้ กบั แหล่ งกาเนิดสารมลพิษมาก
ทีส่ ุ ด รวมทั้งพืน้ ทีท่ มี่ อี บุ ัติการณ์ ของโรคทีอ่ าจเกีย่ วข้ องกับสิ่ งคุกคาม โดยเฉพาะ
เมื่อเปรี ยบเทียบกับค่าเฉลี่ยของประเทศ
ประชากรทีจ่ ะต้ องเฝ้ าระวัง ได้แก่


ประชากรทั่วไป
ประชากรกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ เด็ก หญิงมีครรภ์ ผูส้ ูงอายุ ผูท้ ี่มีโรคประจาตัวอยูแ่ ล้ว เช่น
โรคระบบการหายใจ โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด เป็ น
ขั้นตอน/กระบวนการในการเฝ้ าระวังผลกระทบ
ต่ อสุ ขภาพจากมลพิษทางอากาศ
รูปแบบการเฝ้ าระวัง
การเฝ้ าระวังเชิงรับ ได้ แก่ การเก็บข้ อมูลโรคต่ างๆ จากสถานบริการสาธารณสุ ข ข้ อดีของวิธีการนีค้ อื
เก็บได้ ง่าย เพราะคนไข้ จะมาหาทีส่ ถานบริการสาธารณสุ ข แต่ ข้อเสี ยคือ อาจได้ อุบตั ิการณ์ ทตี่ ่า
กว่ าความเป็ นจริง เพราะผู้ทจี่ ะมารักษาทีส่ ถานพยาบาลจะเป็ นผู้ทมี่ อี าการมากแล้ วเท่ านั้น ได้ แก่
โรคในระบบต่ อไปนี้
 ระบบทางเดินหายใจ
 ปัญหาของพัฒนาการ
 ระบบหัวใจและหลอดเลือด  โรคระบบภูมค
ิ ุ้มกันตนเอง (Autoimmune Disorders)
 ระบบประสาท
 โรคไต
 ระบบผิวหนัง
 โรคตับ
มะเร็ง
 โรคติดเชื้อ


โรคทางจิตเวช
ขั้นตอน/กระบวนการในการเฝ้ าระวังผลกระทบ
ต่ อสุ ขภาพจากมลพิษทางอากาศ
รูปแบบการเฝ้ าระวัง
การเฝ้ าระวังเชิงรุก ได้แก่ การออกสารวจหรื อเก็บข้อมูลอาการหรื ออาการแสดงที่เกี่ยวข้องกับมลพิษ
ทางอากาศจากประชากรกลุ่มเสี่ ยง โดยควรอาศัยความร่ วมมือจากอสม. ข้อดีของวิธีการนี้จะทา
ให้สามารถหาอุบตั ิการณ์ของอาการหรื ออาการแสดง ที่เกี่ยวข้องกับมลพิษทางอากาศได้ครบถ้วน
โดยมุ่งไปที่อาการใน 5 ระบบต่อไปนี้
 ระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ แสบคอ เสี ยงแหบ ไอแห้งๆ ไอมีเสมหะ หายใจลาบาก และหายใจมี
เสี ยงหวีด
 ระบบหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ เหนื่ อยง่าย เท้าบวม และชีพจร (หัวใจ) เต้นเร็ ว
 ระบบประสาท ได้แก่ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ
 ระบบผิวหนัง ได้แก่ คันตามร่ างกาย และมีผน
ื่ แดงตามร่ างกาย
 ระบบตา ได้แก่ แสบหรื อคันตา ตาแดง น้ าตาไหล และมองภาพไม่ค่อยชัด
บัตรรายงานผู้ปวย
โรคจากมลพิษทางอากาศ
1. โรคระบบการหายใจ
 1.1 โรคปอดจากฝุน
 1.1.1 โรคปอดจากฝุนหิน
(Silicosis)
 1.1.2 โรคปอดจากฝุนถ่านหิน
(Coal Workers’ Pneumoconiosis)
 1.2 หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
 1.3 หอบหืด
 1.4 หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
 1.5 โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
 1.6 ปอดอักเสบ
 1.7 วัณโรคปอด
2. โรค มะเร็ง
 2.1 มะเร็งปอด
 2.2 มะเร็งเม็ดเลือดขาว
 2.3 มะเร็งผิวหนัง
 2.4 มะเร็งตับ
 2.5 อื่นๆ (ระบุ .................................)
3. ปญหาของพัฒนาการ
 3.1 น้าหนักแรกคลอดของทารกน้อย
 3.2 ภาวะการเจริญเติบโตในครรภ์น้อย
4. โรคหัวใจและ หลอดเลือด
 4.1 ความดันโลหิตสูง
 4.2 โรคหัวใจวายเรื้อรัง
 4.3 โรคหัวใจวายเฉียบพลัน
 4.4 โรคหัวใจอื่นๆ (ระบุ
..............................................)
5. โรค ระบบประสาท
 5.1 โรคเส้นเลือดอุดตันในสมอง (ระบุ
....................................................)
 5.2 ความผิดปกติของการเคลื่อนไหว
(Movement disorders) (ระบุ
........................................)
6. โรคระบบภูมิคุ้มกันตนเอง ( Autoimmune
Disorders)
 6.1 ลูปส (Lupus)
 6.2 รูห์มาติซึม
7. โรค ไต
 7.1 ไตวายเรื้อรัง
8. โรคตับ
 8.1 ตับอักเสบ
 8.2 ตับแข็ง
9. โรคระบบโลหิตวิทยา
 9.1โลหิตจาง
 9.2 ภาวะไขกระดูกฝอ
10. โรคทางจิตเวช
 10.1 โรคซึมเศร้า
 10.2 โรคความผิดปกติด้านบุคลิกภาพ
(Personality disorders) (ระบุ
.........................................)
ชื่อผู้ปวย……………………………………............... HN.  เลขที่บัตรประชาชน     
เพศ 1. ชาย  2. หญิง
อายุ ................................. ป ................................. เดือน
อาชีพ ……………………………..…ลักษณะงาน………………………..สถานที่ทางาน/ประเภทโรงงาน…………......................…….………
ที่ตั้งที่ทางาน เลขที่ ………………..ถนน…………………………..หมู่ท…
ี่ …….ตาบล…………………….อาเภอ ……………………
จังหวัด…………………………
ที่อยู่ปจจุบันเลขที…
่ ………….ถนน ………….………….หมู่ท…
ี่ ……….ตาบล………………………อาเภอ……………………
จังหวัด…………….………………โทรศัพท์………………….
วันที่เข้ารับการรักษา………/………/……สถานที่รักษา…………………………………………….อาเภอ……………………………
จังหวัด……………………………
สภาพผู้ปวย  1. เสียชีวิต  2. รักษาแบบผู้ปวยนอก  3. รักษาแบบผู้ปวยใน  4. รักษาที่แผนกฉุกเฉิน
ชื่อผู้รายงาน……………………………………… สถานที่ทางาน……………………………… วันที่บันทึกรายงาน ............./................/............
บัตรรายงานผู้ปวย
โรคจากสิ่งแวดล้อมในอาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง
1. โรคระบบการหายใจ
 1.1 โรคปอดจากฝุน
 1.1.1 โรคปอดจากฝุนหิน
(Silicosis)
 1.1.2 โรคปอดจากฝุนถ่านหิน
(Coal Workers’ Pneumoconiosis)
 1.2 หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
 1.3 หอบหืด
 1.4 หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
 1.5 โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
 1.6 ปอดอักเสบ
 1.7 วัณโรคปอด
2. โรค มะเร็ง
 2.1 มะเร็งปอด
 2.2 มะเร็งเม็ดเลือดขาว
 2.3 มะเร็งผิวหนัง
 2.4 มะเร็งตับ
 2.5 อื่นๆ (ระบุ .................................)
3. ปญหาของพัฒนาการ
 3.1 น้าหนักแรกคลอดของทารกน้อย
 3.2 ภาวะการเจริญเติบโตในครรภ์น้อย
4. โรคหัวใจและเส้นเลือด
 4.1 ความดันโลหิตสูง
 4.2 โรคหัวใจวายเรื้อรัง
 4.3 โรคหัวใจวายเฉียบพลัน
 4.4 โรคหัวใจอื่นๆ (ระบุ
..............................................)
5. โรค ระบบประสาท
 5.1 โรคของกระดูกสันหลัง
 5.2 โรคประสาทหูเสื่อม
 5.3 โรคเส้นเลือดอุดตันในสมอง (ระบุ
....................................................)
 5.4 ความผิดปกติของการเคลื่อนไหว
(Movement disorders) (ระบุ
........................................)
6. โรคระบบภูมิคุ้มกันตนเอง ( Autoimmune
Disorders)
 6.1 ลูปส (Lupus)
 6.2 รูห์มาติซึม
7. โรค ไต
 7.1 ไตวายเรื้อรัง
8. โรค ทางจิตเวช
 8.1 โรคซึมเศร้า
 8.2 โรคความผิดปกติด้านบุคลิกภาพ
(Personality disorders) (ระบุ
.........................................)
9. โรค ติดเชื้อ
 9.1 โรคลีเจียนแนร์ (Legionnaires’
disease)
10. การบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุจากการทางาน
 10.1 การบาดจ็บหรืออุบัติเหตุจากการ
ทางาน (ระบุ
.................................................)
ชื่อผู้ปวย……………………………………............... HN.  เลขที่บัตรประชาชน     
เพศ 1. ชาย  2. หญิง
อายุ ................................. ป ................................. เดือน
อาชีพ ……………………………..…ลักษณะงาน………………………..สถานที่ทางาน/ประเภทโรงงาน…………......................…….………
ที่ตั้งที่ทางาน เลขที่ ………………..ถนน…………………………..หมู่ท…
ี่ …….ตาบล…………………….อาเภอ ……………………
จังหวัด…………………………
ที่อยู่ปจจุบันเลขที…
่ ………….ถนน ………….………….หมู่ท…
ี่ ……….ตาบล………………………อาเภอ……………………
จังหวัด…………….………………โทรศัพท์………………….
วันที่เข้ารับการรักษา………/………/……สถานที่รักษา…………………………………………….อาเภอ……………………………
จังหวัด……………………………
สภาพผู้ปวย  1. เสียชีวิต  2. รักษาแบบผู้ปวยนอก  3. รักษาแบบผู้ปวยใน  4. รักษาที่แผนกฉุกเฉิน
ชื่อผู้รายงาน……………………………………… สถานที่ทางาน……………………………… วันที่บันทึกรายงาน ............./................/............
ขั้นตอน/กระบวนการในการเฝ้ าระวังผลกระทบ
ต่ อสุ ขภาพจากโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่ เมาะ
รูปแบบการเฝ้ าระวัง
การเฝ้ าระวังเชิงรับ ได้ แก่ การเก็บข้ อมูลโรคต่ างๆ จากสถานบริการสาธารณสุ ข ข้ อดีของวิธีการนีค้ อื
เก็บได้ ง่าย เพราะคนไข้ จะมาหาทีส่ ถานบริการสาธารณสุ ข แต่ ข้อเสี ยคือ อาจได้ อุบตั ิการณ์ ทตี่ ่า
กว่ าความเป็ นจริง เพราะผู้ทจี่ ะมารักษาทีส่ ถานพยาบาลจะเป็ นผู้ทมี่ อี าการมากแล้ วเท่ านั้น ได้ แก่
โรคในระบบต่ อไปนี้
 ระบบทางเดินหายใจ
 ปัญหาของพัฒนาการ
 ระบบหัวใจและหลอดเลือด  โรคระบบภูมค
ิ ุ้มกันตนเอง (Autoimmune Disorders)
 ระบบประสาท
 โรคไต
 ระบบผิวหนัง
 โรคตับ
มะเร็ง
 โรคติดเชื้อ


โรคทางจิตเวช
ขั้นตอน/กระบวนการในการเฝ้ าระวังผลกระทบ
ต่ อสุ ขภาพจากโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่ เมาะ
รูปแบบการเฝ้ าระวัง
การเฝ้ าระวังเชิงรุก ได้แก่ การออกสารวจหรื อเก็บข้อมูลอาการหรื ออาการแสดงที่เกี่ยวข้องกับ
โรงไฟฟ้ าและเหมืองจากประชากรกลุ่มเสี่ ยง โดยควรอาศัยความร่ วมมือจากอสม. ข้อดีของ
วิธีการนี้จะทาให้สามารถหาอุบตั ิการณ์ของอาการหรื ออาการแสดง ที่เกี่ยวข้องกับโรงไฟฟ้ าและ
เหมืองได้ครบถ้วน โดยมุ่งไปที่อาการใน 5 ระบบต่อไปนี้
 ระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ แสบคอ เสี ยงแหบ ไอแห้งๆ ไอมีเสมหะ หายใจลาบาก และหายใจมี
เสี ยงหวีด
 ระบบหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ เหนื่ อยง่าย เท้าบวม และชีพจร (หัวใจ) เต้นเร็ ว
 ระบบประสาท ได้แก่ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ
 ระบบผิวหนัง ได้แก่ คันตามร่ างกาย และมีผน
ื่ แดงตามร่ างกาย
 ระบบตา ได้แก่ แสบหรื อคันตา ตาแดง น้ าตาไหล และมองภาพไม่ค่อยชัด
ขั้นตอน/กระบวนการในการเฝ้ าระวังผลกระทบ
ต่ อสุ ขภาพจากสิ่ งแวดล้อม
แหล่ งข้ อมูลทีส่ าคัญสาหรั บการเก็บรวบรวมข้ อมูล
เพศ
คุณภาพอากาศ
ข้ อมูลจากสถานบริการ
สาธารณสุ ข
ศูนย์ สุขภาพชุ มชน
อายุ
คุณภาพนา้
สถานีอนามัย
อาชีพ
ข้ อมูลทางอุตุนิยมวิทยา คลินิก/โรงพยาบาลเอกชน
ศาสนา
ปริมาณเกสรดอกไม้
ข้ อมูลปัจเจกบุคคล
ข้ อมูลด้ านสิ่ งแวดล้ อม
โรงพยาบาลชุ มชน
รายได้
โรงพยาบาลทัว่ ไป
ทีอ่ ยู่อาศัย
โรงพยาบาลศูนย์
พฤติกรรมส่ วนบุคคลต่ างๆ เช่ น การสู บ
บุหรี่ การดืม่ แอลกอฮอล์ การรับประทาน
อาหารมันหรือเค็มจัด ฯลฯ
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ขั้นตอน/กระบวนการในการเฝ้ าระวังผลกระทบ
ต่ อสุ ขภาพจากสิ่ งแวดล้อม
การวิเคราะห์ ข้อมูล การประมวลผล และแปลผล
ควรดาเนินการในระดับจังหวัด โดยผูม้ ีความรู้ดา้ นสถิติและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในระยะยาว
หน่วยงานในระดับพื้นที่ควรได้รับการเพิ่มศักยภาพให้สามารถวิเคราะห์ได้ดว้ ยตนเอง การวิเคราะห์
ข้อมูลควรแบ่งเป็ น 2 ขั้นตอนดังนี้คือ
 การวิเคราะห์ เชิ งพรรณนา ได้แก่ การคานวณความถี่ (จานวนนับ) หรืออัตรา (อุบต
ั ิการณ์ หรือ
ความชุ ก) ตามบุคคล เวลา และสถานที่ โดยนาเสนอในรู ปตารางหรื อกราฟ การคานวณเป็ นอัตรา
มีความเหมาะสมกว่า เพราะสามารถนามาเปรี ยบเทียบในพื้นที่หรื อช่วงเวลาที่ต่างกันได้ เนื่องจาก
มีการนาเอาจานวนประชากรกลุ่มเสี่ ยงเข้ามาคานวณร่ วมด้วย
 การวิเคราะห์ ความเชื่ อมโยงระหว่ างสิ่ งแวดล้ อมและสุ ขภาพ” (Linkage analysis of
environment and health) คือ การวิเคราะห์เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างระดับสิ่ งคุกคาม
ที่เกิดจากการทาเหมืองแร่ กบั โรคหรืออาการ ทั้งแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง ซึ่ งการวิเคราะห์
ดังกล่าวต้องใช้สถิติที่เหมาะสม ส่ วนใหญ่เป็ นสถิติในกลุ่ม Regression เช่น Multiple linear
regression, Binary logistic regression, Poisson regression เป็ นต้น
ขั้นตอน/กระบวนการในการเฝ้ าระวังผลกระทบ
ต่ อสุ ขภาพจากสิ่ งแวดล้อม
การสรุปผลการเฝ้ าระวังและการรายงานผลการเฝ้ าระวังแก่ผ้ ทู เี่ กีย่ วข้ อง
 ต้องเป็ นการรายงานข้อมูลหรื อการแปลผลทีง่ ่ ายต่ อการเข้ าใจ ทันต่ อเวลา
และสม่าเสมอ
 มีวต
ั ถุประสงค์ 2 ประการคือ ให้ ข้อมูลและกระตุ้นการทางาน การ
รายงานข้อมูลเกี่ยวกับโรคที่เกิดขึ้นตามเวลา สถานที่ และบุคคล จะทาให้
แพทย์ได้ทราบปัจจัยเสี่ ยงลักษณะต่างๆ กันที่อาจจะเกิดกับคนไข้ ซึ่งจะ
เป็ นผลดีในการวางแผนการป้ องกันหรื อควบคุมโรคต่อไป นอกจากนี้
รายงานการเฝ้ าระวังยังเป็ นแรงจูงใจกระตุน้ ให้เกิดการทางาน ในแง่ที่
แสดงให้เห็นว่าหน่วยงานที่รับและวิเคราะห์ขอ้ มูลได้ให้ความสนใจกับ
ข้อมูลและมีการนาไปใช้ประโยชน์อย่างจริ งจัง
ขั้นตอน/กระบวนการในการเฝ้ าระวังผลกระทบ
ต่ อสุ ขภาพจากสิ่ งแวดล้อม
การสรุปผลการเฝ้ าระวังและการรายงานผลการเฝ้ าระวังแก่ผ้ ทู เี่ กีย่ วข้ อง
 การเผยแพร่ หรื อรายงานผลการวิเคราะห์ขอ
้ มูลให้กบั ผูท้ ี่เกีย่ วข้องในที่น้ ี
หมายถึงภาคีหลัก 3 ฝ่ าย คือ ประชาชนทัว่ ไปที่ได้รับผลกระทบ ผูก้ ่อ
มลพิษ และหน่วยงานของรัฐ
ขั้นตอน/กระบวนการในการเฝ้ าระวังผลกระทบ
ต่ อสุ ขภาพจากสิ่ งแวดล้อม
การดาเนินการแก้ไขหรื อป้ องกันปัญหา
 การแก้ปัญหาจะต้องมี 3 ระดับ คือ
การกาหนดนโยบายที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ นโยบายถือเป็ นการวางกรอบ
การแก้ปัญหาในภาพกว้าง เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายที่ตอ้ งการ อาจเป็ นนโยบายสู งสุ ดตั้งแต่
ระดับชาติ ลงมาจนถึงนโยบายในระดับพื้นที่ เช่น นโยบายของจังหวัด นโยบายของอาเภอหรื อ
ตาบล เป็ นต้น การกาหนดนโยบายแต่ละระดับขึ้นกับระดับความยากง่ายของปั ญหา รวมทั้ง
อานาจหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหา
 การกาหนดโครงการหรื อกิจกรรมในการแก้ไข โครงการถือเป็ นมาตรการการแก้ไขเชิง
ปฏิบตั ิการ ที่จะตอบสนองต่อนโยบาย โครงการที่ดีจะต้องมีรายละเอียดในการแก้ไขปัญหา
อย่างเป็ นรู ปธรรมและสามารถปฏิบตั ิได้จริ ง และจะต้องมีความยืดหยุน่ สามารถปรับได้ตาม
สถานการณ์

ขั้นตอน/กระบวนการในการเฝ้ าระวังผลกระทบ
ต่ อสุ ขภาพจากสิ่ งแวดล้อม
การดาเนินการแก้ไขหรื อป้ องกันปัญหา
 การแก้ปัญหาจะต้องมี 3 ระดับ คือ


การแก้ไขด้วยวิธีอื่นๆ เป็ นมาตรการเสริ มในการแก้ไขปั ญหา โดยเฉพาะปั ญหาเชิงสังคมที่มี
ความซับซ้อนและต้องอาศัยความร่ วมมือจากหลายภาคส่ วน โดยทัว่ ไปควรใช้วธิ ีการระดม
สมองจากผูท้ ี่เกี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเป็ นลักษณะแบบมีส่วนร่ วม มีความรอบ
ด้าน ครบถ้วน และได้ความร่ วมมืออย่างแท้จริ ง
การจัดตั้งระบบเตือนภัย เป็ นมาตรการรับมือในกรณี ฉุกเฉิน ระบบเตือน
ภัยควรประกอบด้วย ตัวชี้วดั ด้ านสิ่ งแวดล้อม และตัวชี้วดั ด้ านสุ ขภาพ
รวมทั้งเกณฑ์ ในการดาเนินการมาตรการแก้ไขต่ างๆ ในกรณีฉุกเฉิน เมื่อ
ระดับของคุณภาพสิ่ งแวดล้อมตามตัวชี้วดั ด้านสิ่ งแวดล้อม หรื อการ
เจ็บป่ วยตามตัวชี้วดั ด้านสุ ขภาพเกินไปจากค่าที่กาหนดไว้