การศึกษาภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยก่อนเรียนในชุมชนบรมไตรโลกนารถ 21

Download Report

Transcript การศึกษาภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยก่อนเรียนในชุมชนบรมไตรโลกนารถ 21

การศึกษาภาวะทุพโภชนาการใน
เด็กวัยก่อนเรียนในชุมชนบรม
ไตรโลกนารถ 21 ( A study on
malnutrition status of pre –
school children in
Boromtrilokanart 21
community
คณะวิจยั
นิสิตแพทยช์ นะชยั จนั ทรคิด
นิสิตแพทยช์ ยช
ั นะ จนั ทรคิด
นิสิตแพทยเท
์ วราชสุมงเกษตร
ั
บทนา (Reason for the study)
• ปั ญหาภาวะทุพโภชนาการ (malnutrition)
ของเด็กในประเทศไทยเป็ นปั ญหาสาคัญ
ระด ับประเทศ
• ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
้ าหมายไว้ เด็กอายุไม่เกิน 5 ปี
ฉบับที่ 9 ตังเป้
ต้องมีภาวะทุพโภชนาการ(malnutrition)
น้อยกว่าร ้อยละ 7
• ในชุมชนบรมไตรโลกนาถ 21 อ. เมือง จ.
พิษณุโลกพบมีภาวะทุพโภชนาการ
วัตถุประสงค ์
่
1.เพือหาความชุ
กของการเกิดภาวะทุพ
โภชนาการในชุมชนบรมไตรโลกนารถ 21
่ กษาถึงความสัมพันธ ์ระหว่างปั จจัย
2.เพือศึ
ต่างๆกับภาวะทุพโภชนาการว่ามี
ความสัมพันธ ์กันหรือไม่
่ กษาถึงช่วงอายุทพบภาวะทุ
3.เพือศึ
ี่
พ
่ ด
โภชนาการมากทีสุ
่ กษาความชุกของภาวะทุพ
4.เพือศึ
โภชนาการในแต่ละช่วงอายุ
่
ผลทีคาดว่
าจะได้ร ับ
่
1.เพือให้
ได้ทราบถึงสภาวะทุพ
่ นปั ญหาทีจะ
่
โภชนาการในสังคมซึงเป็
ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมารดา
และบุตร
่
2.เพือใช้
เป็ นข้อมู ลในการส่งเสริมด้าน
ภาวะโภชนาการในชุมชน
่
3.เพือใช้
เป็ นข้อมู ลในการหาแนวทาง
ป้ องกันภาวะทุพโภชนาการในชุมชน
คาถามหลัก
• ศึกษาความสัมพันธ ์ของปั จจัยต่างๆเหล่านี ้
กับการเกิดภาวะทุพโภชนาการของเด็กวัย
ก่อนเรียนในชุมชนบรมไตรโลกนารถ 21 ว่า
มีความสัมพันธ ์กันหรือไม่
- socioeconomic status
–Occupation
–Education
–Income
- breast feeding
- supplementary nutrition
- hygiene
- eating behavior
คาถามรอง
• ความชุก ( prevalence ) ของภาวะทุพ
โภชนาการในชุมชนเป็ นเท่าไร
่ ดภาวะทุพโภชนาการมาก
• ช่วงอายุใดทีเกิ
่ ด และความชุกในแต่ละช่วงอายุเป็ น
ทีสุ
เท่าไร
• เหตุใดภาวะขาดสารอาหารในเด็กยังไม่ได้
้
่ มก
ร ับการแก้ไข ทังๆที
ได้
ี ารดาเนิ นการ
แก้ไข
กรอบความคิด (Conceptual
framework)
นิ ยามศ ัพท ์
่ ง
• Malnutrition
ภาวะทุพโภชนาการซึงแบ่
โดยใช ้เกณฑ ์ของ Gomes classification
่
• Growth curve เส ้นกราฟทีแสดงถึ
งการ
เจริญเติบโตโดยแสดงด ้วย growth chart
• Socioeconomic factor เป็ นปัจจัยทางเศรษฐ
่
้วย
ฐานะของครอบคร ัวเด็กซึงประกอบด
– Parent’s education การศึกษาของบิดา,มารดา
หรือผูป้ กครอง
– Parent’s occupation อาชีพของบิดา มารดาหรือ
่ ยงดู
้
ผูป้ กครองทีเลี
่ อหัวใน 1 เดือน ของคนใน
– Income รายได ้เฉลียต่
ครอบคร ัว แบ่งเป็ นสูง และต่า โดยใช ้เกณฑ ์มาก หรือ
่ อหัว ใน 1 เดือน ของคนทัง้
น้อยกว่าของรายได ้เฉลียต่
ประเทศไทย (3,833.7142 บาท) 1
่
• Hygiene สุขอนามัย ซึงประกอบด
้วย
– การมีส ้วมและใช ้อย่างถูกสุขลักษณะ
่ าอาหารเข ้าปากเด็ก
– การล ้างมือ คือการล ้างของมือทีน
– การได ้ร ับการตรวจ หรือการกินยาฆ่า หรือยาถ่าย
พยาธิ
้ กด ้วยนานมมารดา
้
• Breast-feeding การเลียงลู
• Supplementary nutrition หมายถึงการ
ได ้ร ับอาหารอย่างสมบูรณ์ ต ้องประกอบด ้วย การ
กินอาหารครบ 3 มือ้ การกินอาหารครบ 5 หมู่
• Anthropometry การวัดภาวะโภชนาการของ
่ 2 วิธท
เด็กซึงมี
ี ใช
ี่ ้ในงานวิจยั นี ้ และใช ้เกณฑ ์ของ
Gomes classification
– Weight for age
– Height for age
• Eating behavior พฤติกรรมการบริโภค
ประกอบด ้วย
่ น
– การร ับประทานอาหารสุกดิบ หมายถึงอาหารทีเป็
้ ตว ์สุกดิบ
ประเภทเนื อสั
่
่ กร ับประทานระหว่าง
– อาหารจุบจิบ คืออาหารอืนๆที
เด็
้
มือและมี
คณ
ุ ค่าทางโภชนาการต่า เช่น ลูกอม
้
้ ดลม ขนมถุงต่างๆ เป็ นต ้น
ไอศกรีม นาหวาน
นาอั
ทบทวนวรรณกรรม
Nawal El-Sayed et al (1998) ทาการศึกษา
่ ความเกียวข
่
ปัจจัยทีมี
้องกับภาวะทุพโภชนาการใน
เด็กก่อนวัยเรียนในเมือง Alexandria , ประเทศ
่ ้
อียป
ิ ต ์ โดยใช ้วิธ ี cross-sectional study ทีใช
วิธก
ี ารสุม
่ ตัวอย่าง two – stage cluster –
sampling technique พบว่า
่
- Socioeconomic factor มีความเกียวข
้องกับ
stunting และ under weight ( OR = 0.67 ,
CI = 0.55-0.81 และ 0.75, CI = 0.58-0.96
ตามลาดับ )
• Sheila C. Vir และ Aik. Nigam ได ้ศึกษา
่ นร ัฐที่
ภาวะโภชนาการใน Uttar Pradesh ซึงเป็
่ ดของอินเดีย (150ล ้านคน)
มีประชากรมากทีสุ
้ ่
การศึกษาได ้สารวจ 9206 ครอบคร ัวจาก 5 พืนที
ได ้แก่ Bundelkhand,Central,Eastern,Hill
และWestern
่
่
• กลุม
่ เป้ าหมายเป็ นเด็กทีอายุ
3-59 เดือนทีมี
มารดาอายุระหว่าง 15-45 ปี โดยใช ้แบบสอบถาม
่
เกียวกั
บ feeding,hygiene/sanitation
practices และ utilisation of health
services สาหร ับข ้อมูลด ้าน
education,housing facilities,etcก็ถก
ู
รวบรวมด ้วย การประเมินภาวะโภชนาการโดยใช ้
• จากการวิเคราะห ์ข ้อมูลภาวะโภชนาการของเด็ก
พบว่า รูปแบบของภาวะทุพโภชนาการของเด็กมี
ความสัมพันธ ์กับ risk factors โดยเฉพาะใน
ระดับ ปานกลางและระดับรุนแรง ดังนี ้
่ ระหว่าง 12-35 เดือน
- Child’s age ทีอายุ
- Hygiene ( No toilet )
- Disease ( diarrhoea, measles, ARI )
- Care
- Literacy ( children of illiterate mother )
- BMI(Children of mother with BMI < 18.5)
- Complementary feeding (Children who
were introduced to complementary
feeding at 4 to 6 months.)
ระเบียบวิธวี จ
ิ ัย ( Research
methodology)
1. รู ปแบบการวิจ ัย (Study design) :
Cross-sectional descriptive and case
control study
้ วิ
่ จ ัย (Area in the
2. การเลือกพืนที
study)
3. ประชากร และขนาดต ัวอย่าง
(subjects in the study) ขนาดตัวอย่าง
ประชากรใน Cross-sectional
้ ตร
descriptive หาได ้ดังนี สู
้ ้ 32 คน
n = Z2pq / d2 ในงานวิจยั นี ได
วิธด
ี าเนิ นการ
วิจ ัย
ศกึ ษาขอมูลด
้ านเพ
้ ศอายุน้ าหนัก
่ ง ของเด็กอายุ0-5ปี ในชุมชน
สวนสู
บรมไตรโลกนารถ21
้ thcurveประเมินภาวะทุพ
ใชgrow
้ omezclassification
โภชนาการ โดยใชG
แบ่งเป็นcaseและ control group
คานวนความชุก
(prevalence) ของ
ภาวะทุพโภชนาการ
ั นธ์ของ
ศกึ ษาหาความสมพั
้
ปัจจัยต่างๆ โดยใชcase
control study
่ ายุทีเกิ
ศกึ ษาชวงอ
่ด
ภาวะทุพโภชนาการ
มากทีสุ่ ด
ั นธ์ของปัจจัยโดยใชค่้าสถิติ
วิเคราะห์ความสมพั
Oddratio,95%CI ของ RRและ Chi-squaretest
้ ย้ ง
Knowledge, attitude, practice ของผูเลี
ดูเด็กทีมี่ ภาวะทุพโภชนาการ เกียวกั
่ บการแก ้
ั
ปัญหาทุพโภชนาการของ โดยการสมภาษ
ณ์
ผลการวิจ ัย
ระดับทุพโภชนาการ
ปกติ
Weight for age(คน) Height for age(คน)
15
21
MalnutritionI
10
1
MalnutritionII
1
MalnutritionIII
1
2
รวม
26
25
่ 1คน
้ วนสูง
 หมายเหตุไม่ไดวัดส
ความชุก (prevalence) = 11/26
= 0.42
Prevalence andpercentage ofmalnutrition
50
60
50
40
%
30
20
50
42.86
33.33
33.33
23.86
15.91
20.46
23.86
15.91
10
0
0-12
13-24
25-36
37-48
%malnutrition
49-60
prevalence(%)
age(month)
Factor
Oddratio Chi square
95%CI Oddratio
Unstableoccupation 3.05
1.17
2.4676–22.955
Lowincome
5
10.64
1.9005–13.1326
Education
Low
1.25
2.48
0.9457–1.6521
Middle
0.44
2.45
0.1577–1.2278
High
1.0
Insufficiency breast
0.8
0.077 0.000000002–3814697
feeding
Supplementary
0.29
0.844
0.02076–0.24689
nutrition
Eatingbehavior
กินจุบจิบ
2.33
1.576
0.6227– 8.718
กินสุกดิบ
1.5
0.63
0.555479–4.100129
Hygiene
การลางมือ
้
0.86
0.32
0.507274-1.45798
้ educationเป็นreferencegroup
หมายเหตุในกลุม่ Educationใชhigh
้ และการไม่ถ่ายพยาธิ
ไม่มีจานวนเด็กในการไม่มีสวม
่
่
ในเรืองของการแก้
ปัญหาของเด็กทีขาด
สารอาหารยังไม่สามารถแก้ไขให้ได้
้ สามารถอธิบายได้ด ังนี ้
ประสิทธิผลนัน
่ ยงดู
้
บิดามารดาหรือผู ป
้ กครองทีเลี
ขาด
ความรู ้ความเข้าใจในการแก้ปัญหาภาวะ
่ สาเหตุมาจาก
่ ซึงมี
ทุพโภชนาการทีดี
1)ขาดการแนะนารายละเอียดจาก
เจ้าหน้าที่
2)ไม่มค
ี วามสนใจในการศึกษาจาก
แหล่งข้อมู ลด้วยตนเอง เช่นเอกสาร
่
เกียวกับโภชนาการ
ส่วนใหญ่มา
้
จากการเลียงดู
ตอ
่ ๆกันมาจากการ
่
่ ยงดู
้
บิดา มารดา หรือผู ป
้ กครองทีเลี
มี
ความคิดว่าภาวะทุพโภชนาการของ
เด็กไม่มค
ี วามรุนแรงเนื่องจากเด็กยัง
่ นได้เป็ นอย่างดี จึง
แข็งแรง และวิงเล่
ไม่ให้ความสาคัญมากนัก
การได้ร ับอาหารไม่เพียงพอ สามารถ
สรุปสาเหตุได้ คือ
1)พฤติกรรมการกินของเด็กที่
ร ับประทานอาหารได้น้อย หรือเลือก
อาหาร หรือปฏิเสธการได้ร ับอาหาร
เสริม เช่น วิตามิน โดยการอาเจียน
้
ผู เ้ ลียงดู
จงึ ไม่ฝืนให้เด็กร ับประทาน
วิเคราะห ์
จากการศึกษาของ Sheilia C. Vir และAik.
Nigam.
่ น Non-Complementary
ในเด็กทีเป็
Feeding คือการได้ร ับ น้ านมมารดาน้อย
่
กว่า 4 เดือน เป็ น risk factor ทีมี
ความสัมพันธ ์กับภาวะทุพโภชนาการ
การศึกษาวิจ ัยนี ้
Insufficiency breast feeding มี
ความสัมพันธ ์เป็ นปั จจัย ป้ องกัน แต่ไม่ม ี
่ ดขึนได้
้
พิจารณาความแตกต่างทีเกิ
ด ังนี ้
้ อยกว่าที่
– ขนาดต ัวอย่างในงานวิจ ัยนี น้
คานวณ
่ เป็
่ น confounding factors
– มีปัจจัยอืนที
่ ดม
ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น เด็กทีไม่
ื่
นมมารดาทาให้มารดาต้องให้นม หรือ
อาหารเสริมมาก
– ภาวะทุพโภชนาการไม่ได้เกิดกับปั จจัย
เดียว
่ กษาทัง้ 2 ชุมชนมีความ
– ชุมชนทีศึ
แตกต่างกัน
วิจารณ์งานวิจ ัย
• ข้อเด่น
– เป็ น cross sectional descriptive
่ าลัง
study ทาให้ได้ขอ
้ มู ลในช่วงทีก
ศึกษาได้ขอ
้ มู ลใหม่
– ทราบว่าภาวะทุพโภชนาการยังเป็ น
ปั ญหาของชุมชนบรมไตรโลกนารถ 21
่ ผลต่อภาวะโภชนาการใน
และ ปั จจัยทีมี
้ งอาจคล้
่
ชุมชนนี ซึ
าย หรือแตกต่างจาก
่
ชุมชนอืน
่ าให้การแก้ปัญหา
– ทราบถึงปั ญหาทีท
• ข้อด้อย
่ เป็ นต ัวอย่างมีขนาด
– ขนาดประชากรทีใช้
่ อาจไม่ตรงตามความ
เล็ก ทาให้คา
่ ทีได้
เป็ นจริง
– การมีอคติ (bias) จากการวัด ถึงแม้วา
่ จะ
้
มีการควบคุมแต่กอ
็ าจเกิดขึนได้
หรือการ
มีขอ
้ มู ลย้อนหลังอาจพบ recall bias
่
– การวิจ ัยมีการจากัดเรืองระยะเวลามาก
ใช้ เวลา 15 วัน
– ในการกาหนดนิ ยามศ ัพท ์อาจใช้ได้
สรุปงานวิจ ัย
• ความไม่แน่ นอนของอาชีพผู ป
้ กครองที่
้
่ า
่ มี
เลียงดู
เด็ก และระด ับของรายได้ตอ
่ หัวทีต
่
ความสัมพันธ ์เชิงปั จจัยเสียงต่
อภาวะทุพ
โภชนาการของเด็กวัยก่อนเรียนอย่างมี
่
่ น
่
นัยสาค ัญทางสถิต ิ ทีระด
ับความเชือมั
95%
• การได้ร ับสารอาหารอย่างสมบู รณ์
่ อง
(supplementary nutrition) ซึงต้
้ การ
ประกอบด้วยการกินอาหารครบ 3 มือ,
กินอาหารครบ 5 หมู ่ และการได้ร ับอาหาร
เสริม มีความสัมพันธ ์เชิงป้ องกันต่อการเกิด
้
• ด ังนันในการด
าเนิ นการแก้ไขปั ญหาใน
ชุมชนควรจะมุ่งเน้นถึงความสาคัญใน 3
้ นหลัก ซึงจะต้
่
ปั จจัยนี เป็
องดาเนิ นการ
ช่วยเหลือด้านอาชีพ และรายได้ให้เพียงพอ
่
และในการทีจะแก้
ปัญหาด้านการได้ร ับ
สารอาหารอย่างสมบู รณ์ จาเป็ นต้องให้
ความรู ้ (knowledge) และพยายาม
ก่อให้เกิดทัศนคติทดี
ี่ และถูกต้อง
้
(attitude) ในการเลียงดู
เด็ก (practice)
้ ซึงจาก
่
จึงจะแก้ปัญหาในส่วนนี ได้
การศึกษาถึง knowledge – attitude –
่ ยงดู
้
่
practice ของผู ป
้ กครองทีเลี
เด็กทีมี
่ เช่น การศึกษา,
• ในด้านปั จจัยอืนๆ
่
พฤติกรรมการกิน ซึงประกอบด้
วย การกิน
จุบจิบ และการกินอาหารสุกดิบ พบว่ามี
่
ความสัมพันธ ์เชิงปั จจัยเสียงต่
อการเกิด
ภาวะทุพโภชนาการ แต่ไม่มน
ี ย
ั สาค ัญทาง
่ น
่ 95%
สถิตท
ิ ระด
ี่
ับความเชือมั
• ปั จจัยด้านการได้ร ับน้ านมมารดาน้อยกว่า
4 เดือน ( insufficiency breast feeding)
และการไม่ลา้ งมือ พบว่าไม่มน
ี ย
ั สาคญ
ั ทาง
สถิตต
ิ อ
่ ความสัมพันธ ์กับภาวะทุพ
่
โภชนาการของเด็กวัยก่อนเรียนทีระด
ับ
้ จ่ายของครัวเรือนสานักงานสถิติแห่ง
1. กองสถิติฝ่ายสถิติภาวะเศรษฐกิจงานสถิติรายไดราย
ชาติ.  serial online 2002 cited2003Jan11  :  6screens . Availablefrom:
http://www.nso.go.th/thai/stat/sociohs/sumsoc_45.htm.
2. ไพบูลย์ เอกแสงศรี. โภชนาการในเด็ก. ใน:สุจิตรา นิมมานนิตย์, ประมวญ สุนากร ,
บรรณาธิการ . ปัญหาโรคเด็กทีพ่ บบ่อย. พิมพ์ครังที
้ 1่ 1. กรุงเทพฯ : ดีไซร์; 2539: 36-47
3. Abdelgadir M.H. Identifyingat-riskchildrenunder fiveintheSudan.  serial online
1995 cited2003Jan10  ; 1(1) :  4screens  . Availablefrom: http://
www.emro.who.int /Publications/EMHJ/0101/os.htm
4. El-SayedN.,Mohamed A. G.,Nofal L. et al. MalnutritionamongPre-school childrenin
Alexandria,Egypt. JHealthPopul NURT serial online 2001 cited2003Jan11 ;
19( 4) :  6screens . Availablefrom: http://www.icddrb.org/journal/jhpn vol
194/1904-JHPN082.pdf
5. SmithL. C. andHaddadL. ExplainingChild Malnutritionindevelopingcountries.
Researchreports111  serial online 2000 cited2003Jan11  :  4screens  .
Availablefrom: http://www.ifpri.cgiar.org/pubs/abstract/abstr111.htm
6. AbdulhakimH. Malnutrition,ThePlight of poor communities. YemenTimes  serial
online 2000 cited2003Jan10  ; 16( 10) :  6screens  . Availablefrom: http://
www.yementimes.com/00/iss16/health.htm
7. SheilaC. Vir andNigamA. K. Nutritional statusof childreninUttar Pradesh. NFI
Publications  serial online 1999 cited2003Jan10 ; 1( 1) :  7screens  .
Availabllefrom: http:// www.Nutritional statusof childreninUtter Pradesh.htm.
8. สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ,บรรณาธิการ.การสาธารณสุขไทยพ.ศ. 2540-2541.กรุงเทพฯ: องค์
่ นิ คาแ
การรับสงส
้ ละพัสดุภัณฑ์;2542.
่ ริมสุขภาพกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.  serial online 2002 cited
9. สานักสงเส
เอกสารอ้างอิง
2003Jan10 ; 1( 1) :  2screens  . Availabllefrom:
http://www.anamai.moph.go.th/