Transcript Charpter 1

เนือ้ หา
Inorganic Solid
1. Classification of Bonds and Crystals
2. The effect of radius ratio and change in structure
3. Lattice energy
4. Defect structures
5. Structure of Silicates
6. Metallic bonding
7. Alloys
Symmetry and Group theory
1. Symmetry elements and operations
2. Point group
3. Properties and representations of groups
4. Examples and applications of symmetry
เนือ้ หา
Acid-base Chemistry
1. Acid-Base concepts
2. Measures of Acid-Base Strength
3. Hard and Soft Acid and Bases
Classification of Bonds and Crystals
Ionic bond
An atom of sodium (Na) donates one of its electrons to an atom of chlorine (Cl) in a
chemical reaction. The resulting positive ion (Na+) and negative ion (Cl−) form a stable
molecule (sodium chloride, or common table salt) based on this ionic bond.
Covalent bond
Metallic bond
Metallic bonds fall into two categories.
1.พวกสารที่เกิดจาก simple metal เป็ นสารที่เกิดที่ valence electron อยูท่ ี่
ชัน้ sp-shell จะพบว่าพันธะจะไม่แข็งแรง electron สามารถเคลื่อนที่อิสระ
ไปที่ crystal ได้ จึงเกิดเป็ นสารประเภท conduction electron ทาให้ เกิด
ความไม่สมดุลของประจุในโครงสร้ าง crystal นอกจากนี ้
2. the case in which the valence electrons are from the spshells of the metal ions; this bonding is quite weak.
the valence electrons are from partially filled d-shells, and this
bonding is quite strong. The d-bonds dominate when both types of
bonding are present.
Type of crystals (ชนิดของคริ สตัล)
• Solid
(ของแข็ ง ) ประกอบ ด้ ว ยอะตอม (atom) โมเลกุ ล
(molecule)และไอออน (ion) ที่เรี ยงตัวกันเป็ น rigid และมีรูปแบบจีโอ
เมทรี ของอนุภาคที่ซ ้ากัน เรี ยกว่า crystal lattice
• ชนิดของคริ สตัล สามารถจาแนกได้ จาก อันตรกิริยา (interaction) ที่
เกิ ด ขึ น้ ท่ า มกลางอะตอม โมเลกุ ล หรื อไอออนของสาร ซึ่ ง
ประกอบด้ วยพันธะไอโอนิก (ionic bond) พันธะโลหะ (metallic
bond) และพันธะโควาเลนส์ (covalent bond) และยังมีแรงกระทา
ระหว่างโมเลกุล อาทิเช่น พันธะไฮโดรเจน (hydrogen bond) แรงได
โพล-ไดโพล (dipole-dipole forces) และ แรงแวนเดอร์ วาวล์ (van
der Waals forces)
Ionic crystals (ไอออนิกคริ สตัล)
รูปแสดงการเกิดสารประกอบ NaCl
ที่เกิดจากไอออนของโซเดียมและคลอไรด์
Metallic crystals (โลหะคริสตัล)
• metallic crystal คือ จุดของแคทไอออน (lattice of cation) ที่ยดึ
ติดกันด้ วยอีเลคตรอนอิสระ
รูปแสดง electrical conductivity ในโมเลกุล metallic lattice โดยแคทไอออนจะ
ยึดจับกันได้ ด้วยทะเลอีเลคตรอน โดยอีเลคตรอนจะเคลื่อนที่จากทางซ้ ายและถูกปั๊ มไปทางซ้ าย
การไหลของอีเลคตรอนจะทาให้ เกิด electrical conductivity ซึ่ งเป็ นสมบัติเด่นของโลหะ
Covalent crystals (โควาเลนท์คริสตัล)
• โควาเลนท์คริ สตัล ประกอบด้ วยอะตอมหรื อกลุม่ ของอะตอมที่จดั เรี ยง
กันเป็ น crystal lattice ซึง่ จะยึดติดกันด้ วยพันธะโควาเลนท์
ตัวอย่างเช่นโครงสร้ างของ diamond
ซึ่ ง มี ก ารฟอร์ ม โควาเลนท์ ค ริ ส ตัล ที่ มี
ทิศทางที่แน่นอนของพันธะโควาเลนท์
ในรูปคือบางส่วนของ lattice ที่แสดงแต่
ละตัวของอะตอมคาร์ บอนที่ถกู ล้ อมรอบ
ด้ วยคาร์ บอนอื่ น ๆที่ มี รู ป ร่ า งเป็ นเต
ตระฮีดรัล
รูปแสดงคาร์ บอนแต่ละตัวที่เป็ น
sp3 hybridization โดยการทับกัน
ของออบิทลั นันจะยั
้ งคงรักษา
มุมระหว่างพันธะCCC เป็ น 109.5o
• พันธะโควาเลนต์ เกิดจากการใช้ อีเลคตรอนร่วมกันอยูท่ ี่ออบิทลั ที่ทบั กัน
ระหว่างสองหรื อมากกว่าสองอะตอม ซึง่ เป็ นอันตรกิริยาที่มีทิศทางที่แน่นอน
ซึง่ ต่างจากพันธะไอออนและพันธะโลหะซึง่ ไม่มีทิศทางที่แน่นอน นอกจาก
diamond แล้ วยังมี ซิลกิ อนไดออกไซด์ (SiO2) กราไฟด์ ธาตุซลิ กิ อน (Si) และ
โบรอนไนไทรด์ (BN) ซึง่ มีโครงสร้ างการฟอร์ มตัวเป็ นโควาเลนต์คริสตัล
Atomic-molecular crystals
• อะตอมหรื อโมเลกุลของคริ สตัลที่ ยึดติดกันด้ วยแรงระหว่างโมเลกุลที่ อ่อนไม่
แข็งแรง เช่น แรงกระจายตัวชนิดลอนดอน (London dispersion forces) แรงได
โพ-ไดโพ (dipole-dipole forces) หรื อ พันธะไฮโดรเจน ซึง่ ทาให้ เกิด อะตอมหรื อ
โมเลกุลของคริ สตัล (Atomic-molecular crystals) แรงระหว่างโมเลกุลมี 2
แบบ คื อ ที่ มี ทิ ศ ทาง (directional)
เช่ น น า้ แข็ ง และไม่ มี ทิ ศ ทาง
(nondirectional) เช่น คริ สตัลของอาร์ กอน และสารประกอบตัวอื่นที่ฟอร์ มเป็ น
Atomic-molecular crystals เช่น dry ice (CO2) และ มีเทน (CH4) ไฮโดรเจน
คลอไรด์ (HCl) และ ฟอสฟอรัส (P4) ที่เป็ นของแข็ง
รูปแสดงอาร์ กอนอะตอมที่ยดึ จับกัน
ด้ วยแรง London dispersion
intermolecular forces แบบ
ไม่มีทิศทาง
โ ม เ ล กุ ล น ้า ยึ ด จั บ กั น ด้ ว ย พั น ธ ะ
ไฮโดรเจนอย่ า งมี ทิ ศ ทาง เนื่ อ งจาก
โครงสร้ างของโมเลกุลนา้ มีมุมระหว่าง
พันธะ H-O---H เท่ากับ 109.5°
A-type crystal lattices
• Space lattice and unit cells
Space lattice คือ รู ปแบบของจุดที่อธิบายการจัดเรี ยงตัวของ
ไอออนหรื อโมเลกุลในคริสตัลแลททิส
Unit cell คือ ส่ วนที่เล็กที่สุดของ space lattice ที่เกิดจาก
(1) การเคลื่อนที่ด้วยระยะทางที่เท่ ากันในทิศทางต่ างๆ ทาให้
เกิด space lattice
(2) จะเกิดการสะท้ อนกลับของรู ปร่ างและสมมาตรของคริสตัล
ส่วนของ haxagonal space lattice ที่เป็ น 2 dimension ได้ แสดงความ
เป็ นไปได้ ของยูนิตเซลล์ ทังหมด
้
4 แบบ โดย a) เป็ นรูปสามเหลี่ยมที่ไม่ได้
สร้ าง Lattice ทังหมด
้
b) รูปรอมบิก (rhombic) c) rectangle ที่สร้ าง
lattice แต่ไม่มีการสะท้ อนสมมาตรทังหมดของคริ
้
สตัล d) เป็ น hexagon
ที่เป็ น unit cell
A-type lattices
• A-type lattices คือ อะตอม ไอออนหรื อ โมเลกุล ของคริ สตัล
ที่มีขนาดและชนิดเดียวกัน ซึง่ ชนิดนี ้จะเป็ นชนิดของแลททิสที่ง่าย
ที่สดุ เช่น simple cubic lattice
รูปแสดง A-type lattice ของ cubic lattice โดยเริม
่ จาก hard
sphere
รูปแสดง simple cubic lattice (a) unit cell ของ lattice คือ
ที่เป็ นเส้ นสีดาและมีทรงกลมที่แรเงาจะมีเลขโคดิเนชันเป็ น 6
(b)แสดงทรงกลมแรเงาที่คิดเป็ น 1/8 ในยูนิตเซล (c) space lattice ที่
แสดงว่าที่จดุ highlight เป็ น unit cell ที่ตา่ งกัน 8 อัน (ดูจากจานวนที่
อยูบ่ นด้ านบนสุด)
• จากรูป b เมื่อพิจารณาทรงกลมที่อยูต่ ิดกัน และให้ l คือขอบเซลล์ (cell
edge) และ d เป็ นเส้ นผ่านศูนย์กลาง (diameter of sphere) จะได้ วา่ l
= d จึงสามารถคานวณบางส่วนของยูนิตเซลล์ของทรงกลมได้
เนื่องจากยูนิตเซลล์จะสะท้ อนแลททิสทังหมด
้
จะสามารถบอกถึง
เปอร์ เซ็นต์ของแลททิสทังหมดจากทรงกลมและวั
้
ดประสิทธิภาพของการ
แพ็คกันของทรงกลม เนื่องจาก 1 ทรงกลมต่อยูนิตเซลล์ และปริมาตร
ของ cubic unit cell จะเท่ากับ l3 (จะได้ d3)
ตามสูตร
Fraction of space
[(4/3)(d/2)3] x 1
occupied by
= 0.52
=
d3
sphere
ตารางแสดง A-type lattice
Unit cell (a) simple (b) body-centered (c) face-centered
cubic lettices
• การคานวณความหนาแน่น (density) โดยให้ แต่ละทรงกลมแทน
อะตอม ไอออน หรื อ โมเลกุล ถ้ าสมมติวา่ ทรงกลมเป็ นเป็ น
อะตอมจะได้ ออกมาในรูปของ mass โดยทัว่ ไปแล้ วจะคานวณ
จาก น ้าหนักอะตอมหารด้ วยเลขอาโวกาโด (Avogadro’s
number) ตามสูตร
ความหนาแน่น (g/cm3) = 1 atom (AW/6.02 x 1023)(g/atom)
d3 cm3
ซึง่ ค่าต่างๆ ของ simple cubic lattice ได้ แสดงไว้ แล้ วในตาราง
ตัวอยาง
ถาต
่
้ องการหาความหนาแน
้
่ นของธาตุ เช่น คอปเปอ
มีการแพ็คตัวเป็ นแบบ ccp และมี รัศมีโลหะเป็ น 1.28 อามสต
จะได้
ความหนาแน่น = 4 atom(63.54 g/mol/6.02 x1023 atom/mol
[2(1.28 x 10-8)2]3
= 8.90 g/cm3
• Body-centered cubic (bcc)
ต่างจาก simple cubic lattice ที่ วางทรงกลมชั้นที่สองที่จุด
กึ่งกลางของ cubic cell ซึ่ งยูนิตเซลล์แสดงดังรู ป b) ซึ่ งทรงกลม 8
ทรงกลมที่อยูท่ ี่มุมของ cubic จะมีเพียง 1/8 ในหนึ่งยูนิตเซลล์
ศูนย์กลางของทรงกลมจะเข้าไปอยูใ่ นเซลล์ จึงทาให้มีเลขโคออดิเนชัน่
เท่ากับ 8 ดังนั้นจานวนทรงกลมต่อยูนิตเซลล์เท่ากับ 2[=1+8(1/8)]
เนื่องจากมุมของทรงกลมมีความยาวไม่มากพอที่จะสัมผัสแต่ละทรง
กลมดังนั้น l  d จึงต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง cell edge
และ sphere diameter จะได้ความสัมพันธ์ดงั รู ปที่
รู ปที่ x ความสัมพันธ์ระหว่าง sphere diameter และ cell edge
ใน body-centered unit (a) ทรงกลมสัมผัสผ่าน body diagonal
ไม่ได้ผา่ น face diagonal หรื อ cell edge (b) ถ้า cell edge
มีความยาว l แล้ว face diagonal เท่ากับ l2 ดังนั้น
Body diagonal = 2d = l3 ; ดังนั้น
from (a)
from (b)
l = 2d/3
(a)
รูปที7่ .10cubic and hexagonal
Close-packed structures
(a) Layer
A of
both
structures
(b) Layer A and B of both
structures showing two
types of depression
(c) ABCABC layer of cpp
structure
(d) ABABAB layer of hcc
structures
รูปที่ 7.11 แสดง cpp structure ทีม
่ ี fcc unit cell ABCABC layer
(b) ภาพแสดง fcc unit cell โดยแสดงในทิศทางของ ABCABC layer
(c) แสดง space lattice ของ fcc unit cell กับ ABCABC layer
cpp structure มี fcc unit cell
ดังนั้น cpp = ABCABC = fcc
รู ปที่ 7.12 fcc unit cell ที่แสดงทรงกลมของ
ABCABC layer และยังมีทรงกลม (center of
hexagon) จะได้เลขโคออดิเนชันเท่ากับ 12
ทรงกลมทั้งหมดต่อ fcc unit cell
= 8(1/8) + 6(1/2) = 4
มุม
หน้า
Face diagonal = l2 = 2d
ดังนั้น l = 2d = d2
2
(a) Hexagonal
closed packed unit cell
ที่แสดง ABABAB layer
(b) แสดงเลขโคออดิเนชันของ
ทรงกลม เท่ากับ 12
This point is
In both unit
Cell 1 and 4
รู ป 7.14c แสดงจานวนทรงกลมต่อหนึ่งยูนิตเซลล์
Total points per = 2(1/2) + 3 + 12(1/6) = 6
hcp unit cell in hexagonal
at corners of
faces
hexagons
Wholly within
cell
รู ป 7.15 แสดง 14 Bravais lattices
ที่ประกอบด้วย 7 unit cell ที่สาคัญ
เช่น cubic, tetragonal, orthorhombic,
rhobohedral, hexagonal, monoclinic
และ triclinicโดยมี P = primitive หรื อ
simple I = body-centered, F = facecentered และ C = base-centered
ABn-type crystal lattices
• ABn-type lattices คือ การที่ทรงกลมทีแ่ ทนอะตอม ไอออน หรือ
โมเลกุลที่มขี นาดต่างกัน ตัวอย่างที่เห็นเป็ นประจาคื อ คริสตัลของ
ไอออน (ionic crystral) ซึง่ แอนไอออนมีขนาดใหญ่กว่าแคทไอออน
โดยให้แอนไอออนฟอร์มเป็ น A-type lattice และแคทไออออนจะเข้า
ไปอยูใ่ นช่องว่าง (hole) ได้พอดี
• เพื่อจะให้ได้ว่าคริสตัลนัน้ จะเป็ นไอออนที่บริสุทธิ ์ การแพ็คตัวสมมติ
ว่าเป็ นแอนไอออนควรจะใหญ่พอที่จะคานวณหาขนาดที่สมั พันธ์กนั
ของสองสปี ชสี ์ ดังนัน้ ช่องว่างใน anionic lattices ควรจะมีขนาดเพียง
พอทีจ่ ะให้แคทไอออนเข้าไปอยู่ จึงได้มกี ารศึกษาถึงจานวนและชนิด
ของช่องว่าง (hole) ใน A-type lattices
Cubic, Octahedral and Tetrahedral
Holes
รู ปที่ 7.17
ช่องว่างทีอ่ ยูต่ รงกึง่ กลางของ simple cubic unit cell จะเรียกว่า
cubic hole ดังรูป 7.17 แสดง space-filling model ซึง่ ได้นาเอา
ทรงกลมออกหนึ่งอัน เพื่อจะได้เห็นแคทไอออนอยู่ทช่ี ่องว่ าง จึงได้ว่า
รัศมี (radius) ของช่องว่างประมาณ ¾ ของทรงกลม ดังนัน้ จึงได้ว่า
cubic hole ในหนึ่งยูนิตเซลล์จะมี หนึ่งช่องว่างในหนึ่งยูนิตเซลล์
รูปที่ 7.18 แสดง tetrahedral octahedral hole โดย a) tetrahedral ที่สงั เกตุจากด้ านนอก
(b) triangle ของทรงกลมโดยทรงกลมตาแหน่งที่สี่อยูข่ ้ างบน และ (c) ตาแหน่ง triangle ของ
ทรงกลมที่อยูเ่ หนือทรงกลมเดียว และ octahedral hole (d) จากสี่เหลี่ยมแบนราบ (square)
ของสี่ทรงกลมและมีทรงกลมที่ตาแหน่งที่ห้าและหก อยูด่ ้ านบนและด้ านล่างของช่องว่าง
(e) ทรงกลมสามอันมาประกบกันทังทางด้
้
านบนและด้ านล่างโดยที่ triangle ของสามทรงกลม
สามารถหมุนได้ 60 องศาเมื่อทียบกับอีกชันหนึ
้ ง่
รูปที่ 7.19 แสดง face-centered cubic unit cell ซึง่ จะมีตาแหน่งและจานวน Octahedral และ
tetrahedral holes ต่อยูนิตเซลล์ มี octahedral hole อยูท่ ี่จดุ กึ่งกลางและที่ตรงกลางของ 12
ขอบของยูนิตเซลล์ และมี tetrahedral hole จะเชื่อมต่อกับแต่ละมุมของยูนิตเซลล์และ
เนื่องจากมี 4 ทรงกลมต่อยูนิตเซลล์ จึงมีหนึง่ octahedral hole และมี tetrahedral hole
ต่อหนึง่ ทรงกลม (อ่านเพิ่มรายละอียดในหนังสือ)
• การคานวณหาจานวณช่ องว่ าง
center at cell edges
ช่องว่างออกตะฮีดรัล = [1+12(1/4)] octahedral holes/unit cell
4 spheres/unit cell
ต่อทรงกลม
= 1 octahedral hole/ sphere
ช่องว่างเตตระฮีดรัล = 8 tetrahedral holes/unit cell
4 spheres/unit cell
ต่อทรงกลม
= 2 tetrahedral holes/sphere
Radius ratios
รูปที่ 7.20 (a) three dimension (b) cross-section ของแคทไอออน
ที่อยูใ่ นช่องว่างออกตะฮีดรัลใน A-type lattice ของแอนไอออน
•ขนาดของช่องว่างเตตระฮีดรัลจะมีขนาดเล็กกว่าขนาดของช่องว่างออก
ตะฮีดรัลโดยช่องว่างเตตระฮีดรัลมีขนาดประมาณ ¼ ของรัศมีทรงกลม
ขณะที่ขนาดของช่องว่างออกตะฮีดรัลมีประมาณ 1/10 ของรัศมีทรงกลม
ดังนัน้ ขนาดสัมพันธ์ของช่องว่างเป็ นดังนี ้
Size of holes cubic > octahedral > tetrahedral
Coord. No.
8
6
4
จาก รูปที่ 7.20 สามารถคานวณรัศมีของช่องว่างได้ ดงั แสดงในตาราง
ชนิดของช่องว่าง
r +/r –
trigonal
0.155
tetrahedral
0.225
octahedral
0.414
cubic
0.732
ตารางที่ 7.3 แสดงความเกี่ยวโยงระหว่างสัดส่วนรัศมี เลขโคออดิเนชันสูงสุดและ
ชนิดของช่องว่าง
r +/r - 0.155 to 0.225 to 0.414 to 0.732 to higher values
C.N.
3
4
6
8
สูงสุด
ชนิดของ
ช่อว่าง
trigonal
tetrahedral octahedral
cubic
Ionic radii
รูปที่ 7.21 แสดงผลของ x-ray
diffection map ของ electron
density contour ใน NaCl ซึง่
ตัวเลขบ่งบอกถึงความหนาแน่น
อี เ ลคตรอน (electron/Å3 ในแต่
ละ contour Line โดยที่
boundary แต่ละไอออนจะเป็ น
ค่ า ที่ น้ อ ย ที่ สุ ด ข อ ง ค ว า ม
หนาแน่ น อี เ ลคตรอนระหว่ า ง
ไอออน
• ในการศึกษารัศมีของแคทไอออนและแอนไอออนของคริ สตัลต่างๆ จาก
พื ้นฐานของ Shannon-Prewitt ionic radii ได้ แสดงดังตารางที่ 7.4, 7.5
และ 7.6 ซึง่ ค่า ionic radius ที่ได้ นนจะเปลี
ั้
่ยนแปลงตามเลขโคออดิ
เนชัน และค่าความไม่แน่นอนของโซเดียมแคทไอออนดังแสดงในตาราง
C.N
4
6
8
Na+ radius, Å
1.13
1.16
1.32
a) NaCl ที่มี ABCABC layers ของคลอไรด์
แอนไอออน กับโซเดียมแคทไอออน ในช่องว่าง
ออกตะฮีดรัล (b) NaCl view as fcc Cl- with
Na+ in octahedral holes
(b) CsCl โดย Cs+ จะอยูใ่ น cubic holes ของ Cl-
(d) Zinc blend โดย Zn2+ อยูใ่ น tetrahedral holes ของ fcc S2เพียงครึ่งเดียว
Wurtzite unit cell
(e) Wurtzite โดย Zn2+ จะอยูใ่ น tetrahedral holes ของ hcp S2- เพียงครึ่งเดียว
• NaCl มีคริสตัลแบบ rock salt ที่เป็ น AB structure โดยที่ radius ratio
จะประกอบไปด้ วย sodium cation ที่อยูใ่ นช่องว่างออกตะฮีดรัลของ
cubic closed-packed lattice ของ chloride anion จากรูปที่ 7.22a
จะแสดง ABCABC layer structure ของคลอไรด์ ซึง่ เป็ น fcc unit cell
อ่านเพิ่มหน้ า 172 173 และ 174 ในการอธิบาย Figure 7.22
AB2 structures
• จาก AB compound จะมีเลขโคออดิเนชันของแต่ละไอออนอย่างชัดเจน
ซึง่ เป็ นไปตามสมการที่ 7.6
(C.N. of A) x (no. of A in formula) = (C.N. of B) x (no. of B in formula)
เนื่องจาก จานวนทรงกลม A เท่ากับจานวนทรงกลม B ในสารประกอบ AB
ดังนันจ
้ านวนเลขโคออดิเนชันของทังสองไอออนจึ
้
งมีคา่ เท่ากัน
Fluorite, CaF2, โดยที่ F- อยูใ่ นทุก
ช่องว่างเตตระฮีดรัลใน fcc Ca2+ หรื อ
Ca2+ จะอยู่ใน cubic hole ของ simple
cubic F- เพียงครึ่งเดียว
Rutile, TiO2
Rutile, TiO2 Ti4+ อยูท่ ี่ช่องว่างออกตะฮีดรัล ใน non-close-packed array
ของออกไซด์ไอออน
Structures involving polyatomic molecular and ions
(a)
(a) Dry ice, CO2 โดย โมเลกุล CO2
ใน fcc array
(b)
(b) Potassium hexachloroplatinate (IV)
K2PtCl6 ซึง่ มีโครงสร้ างเป็ น antifluorite
โดย K+ จะอยูใ่ นทุกช่อง tetrahedral holes
ของ fcc PtCl62-
C) Calcium carbide, CaC2 โดย C22จะอยูท่ ี่ช่องว่างออกตะฮีดรัล ในแนว D) Calcium carbonate, CaCO3 โดยที่
2+ จะอยูใ่ นช่องว่างออกตะฮีดรัลที่
Ca
2+
ตามยาวของ fcc Ca
บิดเบือนของ face-centered rhombohe
dral CO32-
โครงสร้ างที่ไม่ สมบูรณ์ (Defect structures)
•
1.
2.
3.
ความไม่สมบูรณ์ของโครงสร้ างคริ สตัลที่เกิดขึ ้นได้ มีดงั นี ้
Simple vacancies
Unexpected occupation of interstitial sites
incorporation of impurities, that is, atoms and ions
other than those of parent crystal
4. Various lattice imperfection
ชนิดของโครงสร้ างคริ สตัลที่ไม่สมบูรณ์ (Types of defect
structure)
• Schottky defect คือ โครงสร้ างที่มีอะตอมของโลหะหรื อโควา
เลนต์คริ สตัลที่ขาดหายไปหรื ออาจจะมีการหายไปของคูไ่ อออน
ในไอออนิกคริ สตัล
Frenkel defect คือ แคทไอออนถูกแทนที่ด้วยแคทไอออนจาก
ตาแหน่งปกติในไอออนิกแลททิส (ionic lattice) และทาให้ เกิด
ช่องว่าง หรื อ interstitial sites

• จาก defect ทังสองแบบพบว่
้
ายังคงมี stiochiometry ของคริ สตัลอยู่
โดยถ้ ามีการหายไปของแคทไอออนที่ตาแหน่งหนึ่ง ประจุของคริ สตัล
สามารถท าให้ สมดุล ได้ จ ากการสูญเสีย ของแคทไอออนหนึ่ง ตัว หรื อ
สูญเสียแอนไอออนหนึง่ ตัว ตัวอย่างเช่น iron(II)oxide, FeO
โดยถ้ าไอออน Fe2+ สูญเสียปะทาให้ Fe2+ ถูกออกซิไดซ์เป็ น Fe3+ เพื่อจะทาให้
คริสตัลเป็ นกลาง แต่พบว่าสัดส่วนของออกซิเจนต่อไอรอน (oxigen-iron ratio) จะ
มากกว่าหนึง่ เล็กน้ อย จากเหตุผลนี ้จึงได้ stoichiometry ประมาณ Fe0.95O
การที่ไอออน อะตอมหรื อโมเลกุลถูกแทนที่ด้วยสปี ชีส์ที่มีขนาดเท่ากันของธาตุหรื อ
สารที่ตา่ งกัน เช่นสารไม่บริสทุ ธิ์ (impurity) ซึง่ สามารถพบได้ ในพวก rubies หรื อ
Emeralds และยังมี lattice defect อีกแบบหนึง่ คือ edge dislocation ในคริสตัล
โลหะ ดังแสดงในรูป
Spinel structure: Connecting crystal field
effects with solid state structure
• Spinel structure มีสตู รทัว่ ไปเป็ น AIIB2IIIO4 โดยโมเลกุลที่เป็ น
ตัวอย่างแบบนี ้คือ MgAl2O4 โดยที่ออกไซด์แอนไอออนจะ
พบที่ cubic close-packed (face centered-cubic) เป็ นของ normal
spinel ซึง่ A(II) จะอยูท่ ี่ 1/8 ของช่องว่างเตตะฮีดรัล และ แคทไอออน
B(III) จะอยูท่ ี่ ½ ช่องว่างออกตะฮีดรัล ซึง่ ถ้ าได้ stoichiometry ที่
ถูกต้ อง คือ แคทไอออน A 1 ตัวจะมีออกไซด์ล้อมรอบ 4 ตัว และ แคท
ไอออน B 2 ตัวจะมีออกไซด์ 4 ตัว ซึง่ โดยธรรมชาติแล้ วจะพบแบบ
normal spinel ประมาณ 100 สาร และมีเพียงเล็กน้ อยที่เป็ น inverse
spinel คือการที่ จานวนครึ่งหนึง่ ของแคทไอออน B(III) จะแลกเปลีย่ นที่
กับแคทไอออน A(II) ทุกตัว
รูปที่ 7.26 a portion of the space lattice of the spinel structure (AIIB2IIIO4)
showing the A(II) cations (occupying 2 of possible 16 tetrahedral sites
(or one-eighth of the tetrahedral holes) and the B(III) cations occupying
Four of possible eighth octahedral sites (or one-half of the octahedral
holes)
รูปที่ 7.27 แสดงการคานวณ
Crystal field stabilization
Energy (CFSE) ของ สาร
ประกอบ NiFe2O4 (a) Ni2+
(d8) และ (b) Fe3+ (d5) ใน
Weak-field tetrahedral และ
octahedral holes
สรุ ป