Business 2 Template - กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

Download Report

Transcript Business 2 Template - กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

ภารกิจด้ านมาตรฐานแรงงานระหว่ างประเทศ
ของ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
โดย
เบญจมาศ จัตตานนท์
กรอบการบรรยาย
•งาน หน้าที่ และความรับผิดชอบ ด้านมาตรฐาน
แรงงานระหว่างประเทศ
•องค์การแรงงานระหว่างประเทศ
•รูปแบบของมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ
งาน หน้าที่ และความรับผิดชอบ
ด้านมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ
• ศึกษา วิเคราะห์ และเปรียบเทียบ มาตรฐานแรงงานขององค์การ
แรงงานระหว่างประเทศ
• พิจารณาการให้สตั ยาบัน อนุสญ
ั ญาขององค์การแรงงานระหว่าง
ประเทศ
• ติดตาม ประเมินผล และจัดทารายงานการปฏิบตั ติ ามอนุสญ
ั ญา
ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
• ศึกษา วิเคราะห์ และเปรียบเทียบมาตรฐานแรงงานของต่างประเทศ
• ดาเนินการเกีย่ วกับความร่วมมือระหว่างประเทศ
• ปฏิบตั งิ านอื่นที่ได้รบั มอบหมาย
องค์การแรงงานระหว่างประเทศ
(International Labour Organisation: ILO)
• ก่อตัง้ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๒ (ค.ศ. ๑๙๑๙)
• ประเทศไทยร่วมเป็ นสมาชิกก่อตัง้
• วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความ
ยุตธิ รรมและส่งเสริมให้สิทธิมนุษยชน
และสิทธิแรงงานได้รบั การยอมรับอย่าง
เป็ นสากล
• เป็ นองค์การชานัญพิเศษของ
สหประชาชาติ (United Nations:
UN) เมือ่ พ.ศ. ๒๔๘๙ (ค.ศ. ๑๙๔๖)
• ปั จจุบนั มีสมาชิก ๑๘๓ ประเทศ
โครงสร้างขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
องค์การแรงงานระหว่างประเทศ
คณะประศาสน์ การ
(Governing Body: GB)
สานักงานแรงงานระหว่ างประเทศ
( International labour Office)
ทีป่ ระชุ มใหญ่ แรงงานระหว่ างประเทศ
(International Labour conference: ILC)
คณะประศาสน์ การ
(Governing Body: GB)
คณะกรรมการบริหารขององค์ การแรงงานระหว่ างประเทศ
หน้ าที่
องค์ ประกอบ ไตรภาคี
กาหนดนโยบาย
กาหนดประเด็นมาตรฐานแ
วาระการดารงตาแหน่ ง
3 ปี
ออกเสี ยงคัดเลือกผู้อานวยการใหญ่
สานักงานแรงงานระหว่ างประเทศ (International Labour Office)
• เป็ นฝ่ ายอานวยการให้กบั องค์การแรงงานระหว่างประเทศ รวมทัง้ ประสาน
การดาเนินงานและกิจกรรมต่างๆให้เป็ นไปตามนโยบายของคระประศาสน์การ
และมติของที่ประชุมใหญ่องค์การแรงงานระหว่างประเทศ
• ผูบ้ ริหารสูงสุด คือ ผูอ้ านวยการใหญ่ ปั จจุบนั คือ Mr. Juan Somavia
ชาวชิลี
ผูอ้ านวยการใหญ่จะอยู่ในตาแหน่งคราวละ 5 ปี
• สานักงานใหญ่ ตัง้ อยู่ที่ นครเจนีวา สหพันธรัฐสวิตเซอร์แลนด์
• สานักงานประจาภูมภิ าคเอเชียและแปซิฟิค และสานักงานประจาอนุภมู ภิ าค
เอเชียตะวันออก ตัง้ อยู่ที่ กรุงเทพฯ
ที่ประช ุมใหญ่แรงงานระหว่างประเทศ
(International Labour Conference:ILC)
การประชุ มประจาปี ของประเทศสมาชิก โดยมี
ผู้แทนไตรภาคี (รัฐ,นายจ้ าง,ลูกจ้ าง)
เข้ า
ร่ วมประชุ ม
ประชุ มเพือ่ พิจารณา
• ออกเสี ยงรับรองมาตรฐานแรงงานระหว่ าง
ประเทศ
• รับรองงบประมาณดาเนินการ เลือกตั้งคณะ
ประศาสน์ การ
• ร่ วมอภิปรายและนาเสนอประเด็นปัญหา
หลักด้ านแรงงานและสั งคม
ประชุ ม 1 ครั้ง/ปี ณ ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์
เปรียบเทียบโครงสร้ างของ ILO
คณะประศาสน์การ
คณะรัฐมนตรี ที่มาจากการแต่งตั้งและ
เลือกตั้ง มีหน้าที่รับผิดชอบบริ หารและ
กาหนดนโยบายและทิศทางองค์กร
สานักงานแรงงาน
ระหว่างประเทศ
กระทรวง/กรมต่าง ๆ ที่มีขา้ ราชการ
ประจาปฏิบตั ิหน้าที่
ที่ประชุมใหญ่
แรงงานระหว่าง
ประเทศ
การประชุมของสภาผูแ้ ทน ราษฎร
(ผูแ้ ทนสามฝ่ ายจากรัฐสมาชิก) เพื่อพิจารณา
ให้ความเห็นชอบญัตติ ต่าง ๆ
บทบาทขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
•
•
•
•
•
ส่ งเสริ มความยุติธรรมในสังคม
รับรองสิ ทธิมนุษยชนและทาให้เกิดความเคารพต่อสิ ทธิ น้ นั
สนับสนุนให้เกิดความเป็ นธรรมในการใช้แรงงาน
ยกระดับมาตรฐานความเป็ นอยูท่ ี่ดีของคนทางาน
ให้ความช่วยเหลือประเทศที่เป็ นสมาชิกในการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม
หน้าที่หลักขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
กาหนดนโยบายและ
แผนงานระหว่างประเทศ
• เพื่อส่ งเสริ มสิ ทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน
• ปรับปรุ งสภาพการทางานและความเป็ นอยูข่ องคนงาน
• เสริ มสร้างโอกาสในการจ้างงาน
กาหนดมาตรฐานระหว่าง
ประเทศ
เพื่อเป็ นแนวทางให้สมาชิกไปปฏิบตั ิ
จัดทาแผนงานความร่ วมมือ
ทางวิชาการด้านแรงงาน
ระหว่างประเทศ
เพื่อช่วยเหลือประเทศสมาชิกในการจัดทานโยบายและ
แนวปฏิบตั ิดา้ นแรงงานภายในประเทศให้ได้มาตรฐาน
ให้การศึกษา จัดการฝึ กอบรม
ทาการวิจยั และเผยแพร่ สิ่งพิมพ์
ด้านแรงงาน
เพื่อให้ทุกฝ่ ายไม่วา่ จะเป็ นประเทศสมาชิกหรื อไม่กต็ าม
ได้รับรู้ถึงหลักการและแนวปฏิบตั ิดา้ นมาตรฐานแรงงาน
ระหว่างประเทศ
รู ปแบบของมาตรฐานแรงงานขององค์ การแรงงานระหว่ างประเทศ
•
•
•
•
•
อนุสญ
ั ญา (Convention)
ข้อแนะ(Recommendation)
พิธีสาร (Protocol)
ปฏิญญา (Declaration)
ประมวลข้อปฏิบตั ิ (Code of Practice)
อนุสัญญา (Convention)
• ตราสารที่มีสภาพบังคับซึ่งได้กาหนดมาตรฐานแรงงานในแต่ละประเด็นไว้
• บังคับใช้เมื่อประเทศสมาชิกได้ให้สตั ยาบันอนุสญ
ั ญานั้นแล้ว
• ประเทศสมาชิกสามารถเลือกให้สตั ยาบันอนุสญ
ั ญาฉบับใดก็ได้ที่เป็ น
ประโยชน์ต่อสถานการณ์แรงงาน สภาพเศรษฐกิจ และสังคม
• เมื่อให้สัตยาบันแล้ว ประเทศสมาชิก ต้ อง
ออกกฎหมาย ข้อบังคับ หรื อแนวปฏิบตั ิภายในประเทศให้สอดคล้องกับ
บทบัญญัติของอนุสญ
ั ญา
ขจัดอุปสรรคในการปฏิบตั ิตามอนุสญ
ั ญาไม่วา่ จะเป็ นการยกเลิกกฎหมายหรื อ
แนวปฏิบตั ิภายในประเทศที่ขดั ต่ออนุสญ
ั ญา
ข้ อแนะ (Recommendation)
• เป็ นตราสารที่ไม่มีสภาพบังคับและไม่เปิ ดให้สตั ยาบัน
• ระบุถึงวิธีการปฏิบตั ิดา้ นแรงงานเพื่อให้ประเทศสมาชิกได้พิจารณา
นาไปเป็ นแนวทางปรับใช้ภายในประเทศ 2 ประเภท
ข้ อแนะเสริมอนุสัญญา เป็ นข้อแนะที่มีเนื้อหาที่เป็ นการอธิ บาย หรื อเพิม่ เติม
รายละเอียดในทางปฏิบตั ิให้แอนุสญ
ั ญานั้นๆ เนื่องจากตัวบทของอนุสัญญา
จะบัญญัติไว้เฉพาะหลักการหรื อมาตรฐานเบื้องต้น
ข้ อแนะที่ไม่ ประกอบอนุสัญญาใดๆ ข้อแนะประเภทนี้เป็ นเพียงตราสาร
ที่ให้แนวทางและวิธีปฏิบตั ิดา้ นแรงงานในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง แต่เรื่ องดังกล่าว
ไม่ใช่ประเด็นด้านแรงงานที่มีความสาคัญสาหรับประเทศสมาชิกจนถึงขั้น
ต้องออกเป็ นอนุสญ
ั ญา หรื อประเด็นซึ่งที่ประชุมใหญ่แรงงานระหว่าง
ประเทศพิจารณาแล้วว่ายังไม่สมควรมีสถานะให้บงั คับใช้ได้ในรู ป
อนุสัญญา
พิธีสาร (Protocol)
• ตราสารที่มีขอ้ กาหนดเพิ่มเติมอนุสญ
ั ญาฉบับนั้นๆ เนื่องจากอนุสัญญา
บางฉบับมีเนื้อหาหรื อข้อกาหนดที่ถูกต้องเหมาะสมแล้ว ไม่จาเป็ นต้อง
ได้รับการแก้ไขออกเป็ นอนุสญ
ั ญาฉบับใหม่แต่ประการใด แต่เวลาที่
เปลี่ยนไปทาให้บทบัญญัติของอนุสญ
ั ญาไม่ครอบคลุม ทั้งนี้เอให้
อนุสญ
ั ญาฉบับนั้นมีความสมบูรณ์มากขึ้น
• ประเทศสมาชิกสามารถเลือกให้สตั ยาบันอนุสญ
ั ญาได้โดยไม่ให้
สัตยาบันพิธีสารได้
แต่ จะให้สตั ยาบันเฉพาะพิธีสารโดยไม่ให้สตั ยาบันอนุสญ
ั ญาไม่ได้
• เมื่อใดที่สตั ยาบันพิธีสารแล้ว พิธีสารนั้นจะมีฐานะเทียบเท่าอนุสญ
ั ญาที่
ให้สัตยาบันไปแล้วในทันที
ปฏิญญา (Declaration)
• ตราสารซึ่งระบุถึงหลักการด้านแรงงานที่คณะประศาสน์การ
หรื อที่ประชุมใหญ่แรงงานระหว่างประเทศพิจารณาแล้ว
เห็นชอบว่าเป็ นหลักการที่ทรงคุณค่า และประเทศสมาชิกทุก
ประเทศควรมีมาตรการสนับสนุนและกาหนดนโยบาย
ส่ งเสริ มหลักการดังกล่าวขึ้นภายในประเทศของตน
• ขณะนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีปฏิญญา 3 ฉบับ
ประมวลข้ อปฏิบัติ
(Code of Practice)
• เป็ นตราสารที่ไม่มีสภาพบังคับ
• เป็ นการชี้แจงข้อปฏิบตั ิเกี่ยวกับประเด็นแรงงานที่มีความพิเศษ
เฉพาะด้านเพื่อให้ประเทศสมาชิกนาไปใช้ หรื อนาไปเป็ นแนวทาง
ในการกาหนดมาตรการและวิธีปฏิบตั ิในเรื่ อง นั้นๆ ภายในประเทศ
เช่น ประมวลข้อปฏิบตั ิของ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ เรื่ อง
เอชไอวี/เอดส์
การปฏิบัตภิ ารกิจของรัฐบาลไทยในฐานะประเทศสมาชิก
•
•
•
•
การดาเนินการระหว่างประเทศไทยกับองค์การแรงงานระหว่าง
ประเทศ
เข้าร่ วมประชุมใหญ่องค์การแรงงานระหว่างประเทศ
การพิจารณาตรวจสอบ แก้ไขและให้ความเห็นต่อร่ างตราสาร
การจัดทารายงานการปฏิบตั ิตามตราสาร รายงานด้านกฎหมายและแนว
ปฏิบตั ิภายในประเทศที่สอดคล้องกับมาตรฐานแรงงานของ ILO
จัดทาคาชี้แจงเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบตั ิให้สอดคล้องกับ
มาตรฐานแรงงาน ILO
การปฏิบัตภิ ารกิจของรัฐบาลไทยในฐานะประเทศสมาชิก (ต่ อ)
การดาเนินการภายในประเทศ
• การส่ งเสริ มสิ ทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน
• การปรับปรุ งสภาพการทางานและความเป็ นอยูข่ องคนงาน
• การเสริ มสร้างโอกาสในการจ้างงาน
เพื่อ
ความสอดคล้องกับมาตรฐานแรงงานของ ILO
ภารกิจของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ด้ านมาตรฐานแรงงานระหว่ างประเทศ
• งานด้านวิชาการ โดย
- พิจารณาตรวจสอบ แก้ไข และให้ความเห็นต่อร่ างตราสารต่างๆ ของ ILO ตลอดจน จัดทา
รายงานการปฏิบตั ิตาม ตอบข้อสังเกต จัดทาคาชี้แจง และจัดทาข้อมูลต่างๆ เสนอต่อสานักงาน
แรงงานระหว่างประเทศตามที่ร้องขอ
- พิจารณาถึงความเป็ นไปได้ในการให้สัตยาบันอนุสัญญา หรื อการรับรองตราสารใดๆของ ILO
- ให้ความเห็น ตอบข้อสังเกต จัดทาคาชี้แจง ต่อองค์กรระหว่างประเทศ หรื อ หน่วยงาน
ภายในประเทศที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศ หรื อการปฏิบตั ิที่สอดคล้องกับ
มาตรฐานระหว่างประเทศ
• งานส่ งเสริ ม
- การเผยแพร่ ความรู ้เกี่ยวกับมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ
- การประสานงาน หรื อร่ วมดาเนินโครงการต่างๆของ ILO
• งานปฏิบตั ิการตามภารกิจของกรมทุกด้าน
สวัสดี
&
คาถาม