การพัฒนาและการสร้ างจริยธรรมในองค์ การธุรกิจ การพัฒนาจริยธรรมในองค์ การธุรกิจ การพัฒนาองค์ การ (Organization Development : OD) เข้ามามี บทบาทในการที่จะสร้างสรรค์และเพิ่มประสิ ทธิภาพในการทางานทั้ง ของตนและเครื่ องจักร เพื่อให้องค์การบรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่ได้ กาหนดไว้อย่างเป็ นรู ปธรรม.

Download Report

Transcript การพัฒนาและการสร้ างจริยธรรมในองค์ การธุรกิจ การพัฒนาจริยธรรมในองค์ การธุรกิจ การพัฒนาองค์ การ (Organization Development : OD) เข้ามามี บทบาทในการที่จะสร้างสรรค์และเพิ่มประสิ ทธิภาพในการทางานทั้ง ของตนและเครื่ องจักร เพื่อให้องค์การบรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่ได้ กาหนดไว้อย่างเป็ นรู ปธรรม.

การพัฒนาและการสร้ างจริยธรรมในองค์ การธุรกิจ
การพัฒนาจริยธรรมในองค์ การธุรกิจ
การพัฒนาองค์ การ (Organization Development : OD) เข้ามามี
บทบาทในการที่จะสร้างสรรค์และเพิ่มประสิ ทธิภาพในการทางานทั้ง
ของตนและเครื่ องจักร เพื่อให้องค์การบรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่ได้
กาหนดไว้อย่างเป็ นรู ปธรรม
ความหมายของการพัฒนาองค์การ
สจ๊ วจ แบล็ค และนิวตัว มาร์ กลู สี ์ (Stewart Black and Newton Marguli) ได้ให้
แนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบของการพัฒนาองค์การ ดังนี้
1. จัดหาวิธีการเปลี่ยนแปลงองค์การอย่างเป็ นระบบ
2. จะต้องเปลี่ยนแปลงอย่างทัว่ ถึงทุกระบบขององค์การ
3. จะต้องมีการปรับปรุ งองค์การทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
4. ให้ความสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงกับระบบการจัดการมากกว่าเนื้อหา
สาระ
5. เป็ นการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับองค์การเป็ นสาคัญ
6. ให้ความสาคัญกับการพัฒนาความสัมพันธ์
ของสมาชิกและสังคม
วัตถุประสงค์ ของการพัฒนาองค์การ
การพัฒนาองค์การมีวตั ถุประสงค์มุ่งช่วยเหลือองค์การ และสมาชิก
ดังนี้ ( สุ นนั ทา เลาหนันท์,2541:57-58)
1. เพื่อพัฒนาการปรับปรุ งและเปลี่ยนแปลงองค์การให้ทนั สมัย
2. เพื่อเพิม่ การทางานให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด
3. เพื่อมุ่งช่วงองค์การให้สามารถตั้งเป้ าหมายในการปฏิบตั ิงานไว้
สูง และบรรลุเป้ าหมาย
4. เพื่อส่ งเสริ มให้มีทศั นคติแบบร่ วมมือร่ วมใจต่อการแก้ไขปั ญหา
ต่างๆ ขององค์การร่ วมกัน
วัตถุประสงค์ ของการพัฒนาองค์การ
5. เพื่อประสานเป้ าหมายส่ วนบุคคลและเป้ าหมายขององค์การเข้าด้วยกัน
6. เพื่อเพิม่ สัมพันธภาพให้ดียงิ่ ขึ้นระหว่างหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์การ
7. เพื่อขจัดอุปสรรคข้อขัดแย้งเกี่ยวกับการติดต่อสื่ อสารข้อความระหว่าง
บุคคลและกลุ่ม คนทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง
8. เพื่อมุ่งช่วยให้บุคคลในองค์การเผชิญหน้าและแก้ปัญหาความขัดแย้ง
ในทางสร้างสรรค์
9. เพื่อนาองค์การไปสู่ การจัดองค์การที่มีการตัดสิ นใจที่มีพ้นื ฐานมาจาก
ฐานข้อมูล (Data base) มากกว่าคานึงถึงอานาจตามบทบาทในตาแหน่ง
10. เพื่อมุ่งเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมที่ลา้ สมัย
หลักในการพัฒนาองค์ กร
การพัฒนาองค์การ ควรยึดหลักที่สาคัญ ดังนี้
1. สร้างความเข้าใจอย่างถูกต้องแก่สมาชิกทุกคนในองค์การ
2. หาแนวร่ วมทางพฤติกรรมและแนวความคิดเพื่อลดปั ญหาความขัดแย้ง
3. มุ่งเน้นการกระทาต่อทั้งระบบและทุกหน่วยงานในองค์การ
4. มุ่งเน้นการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และทันต่อสภาวการณ์อยูเ่ สมอ
5. มุ่งเน้นการบริ หารจัดการแบบสมาชิกในองค์การ
หลักในการพัฒนาองค์ การ
6. ยึดหลักการทางานเป็ นทีม
7. มีการจูงใจให้เกิดความร่ วมมือตามความเหมาะสมของสถานการณ์
8. ปลูกจิตสานึกในการเป็ นส่ วนหนึ่ งขององค์การให้แก่สมาชิกทุกคน
9. สร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ดีในการทางาน
ขั้นตอนในการพัฒนาองค์การ
การพัฒนาองค์การเป็ นเรื่ องของการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงความรู้สึก
และพฤติกรรมของผูป้ ฏิบตั ิงานในองค์การ ตลอดจนจัดให้มีกาประเมินผล
ซึ่ งอาจจัดเป็ นขั้นตอนได้ดงั นี้
ขั้นที่ 1 การสร้างความเข้าใจ
ขั้นที่ 2 การรวบรวมปัญหา
ขั้นที่ 3 การวางแผนเพื่อพัฒนาองค์การ
ขั้นที่ 4 การสร้างกลุ่มเพื่อพัฒนาองค์การ
ขั้นที่ 5 การสอดแทรกกิจกรรมเพื่อพัฒนาองค์การ
การสร้ างทีมงาน
จอห์นสัน และจอห์นสัน (Johnson and Johnson, 1991 : 436) กล่าว
ว่าทีม หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีความสัมพันธ์กนั มารวมตัวกันเพื่อปฏิบตั ิงาน
ให้บรรลุเป้ าหมายที่กาหนดไว้ร่วมกัน
เธอเมอฮอร์น ฮันท์ และออสบอน (Shermerhorn Hunt and Osborn,
1994 : 328) การสร้างทีมงาน หมายถึง การวางแผนงานล่วงหน้าที่จะเก็บ
รวบรวมและการวิเคราะห์ขอ้ มูลของการปฏิบตั ิงานของคณะบุคคล เพิ่ม
ประสิ ทธิภาพในการทางานของคณะบุคคล โดยเน้นในเรื่ องของการทางาน
ร่ วมกัน เพื่อหาวิธีการแก้ไขปั ญหา และเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการทางานให้ดี
ขึ้น
วัตถุประสงค์ ของการสร้ างทีมงาน
วัตถุประสงค์ แบ่ งออกได้ ดงั นี้
1. เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างสมาชิกในทีมงาน
2. เพื่อการรวบรวมประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถของสมาชิก
3. เพื่อระดมความคิดของสมาชิกในการแก้ไขปั ญหา และจุดบกพร่ อง
ของงานที่ได้รับมอบหมาย
4. เพื่อเพิ่มทักษะของการทางานร่ วมกันเป็ นหมู่คณะ
วัตถุประสงค์ ของการสร้ างทีมงาน
5.
6.
7.
8.
9.
เพื่อลดความขัดแย้งระหว่างสมาชิกในทีมงาน
ช่วยเสริ มสร้างและกระตุน้ ขวัญกาลังใจซึ่ งกันและกันภายในทีมงาน
ช่วยลดข้อผิดพลาดในการคิดและตัดสิ นใจให้นอ้ ยลง
ช่วยเพิ่มวิสัยทัศน์และแนวความคิดใหม่ๆ
ฝึ กทักษะของการเป็ นผูพ้ ดู และผูฟ้ ังที่ดี
ประสิ ทธิภาพของทีมงาน
ดักลาส แมคเกรเกอร์ (Douglas McGregor) อธิบายถึง
ลักษณะของทีมงานที่มีประสิ ทธิ ภาพ ดังนี้
1. บรรยากาศของการทางานเป็ นทีมไม่ตึงเครี ยด มีความสะดวกสบาย
2. สมาชิกมีความเข้าใจและยอมรับภารกิจของกลุ่ม
3.สมาชิกแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับงาน ยอมรับฟังความคิดเห็นของกันและกัน
4. สมาชิกได้มีโอกาสแสดงออกและใช้ความคิดสร้างสรรค์ของตน
5. ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจะเกี่ยวข้องเฉพาะเรื่ องงาน ไม่ได้เอาเรื่ องส่ วนตัวเข้ามา
ประสิ ทธิภาพของทีมงาน(ต่ อ)
6. ทีมงานมีความตระหนักอยูเ่ สมอเกี่ยวกับภารกิจของทีมงาน
7. การตัดสิ นใจของกลุ่ม เป็ นการตัดสิ นที่ได้ฉนั ทานุมตั ิจากทุกฝ่ าย
8. เมื่อมีการมอบหมายงานให้สมาชิก สมาชิกยอมรับปฏิบตั ิภารกิจ
เหล่านั้นด้วยความเต็มใจ
9. บรรดาสมาชิกในกลุ่มยอมรับฟังเหตุผลของกันและกัน
10. การวิจารณ์เป็ นไปอย่างตรงไปตรงมาและเปิ ดเผย
11. กลุ่มมีอิสรภาพในการทางาน มีการตรวจสอบผลงานเป็ นระยะๆ
ว่า จะ ทางานให้ดีข้ ึนได้อย่างไร
ประเภทของทีมงาน
1. คณะกรรมการ (Committee)
2. คณะทางาน (Task force)
3. คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจ (Ad hoc committee)
4. ทีมงานโครงการ (Project team)
5. กลุ่มหรื อชมรมเฉพาะด้าน (Special groups and clubs)
การรื้อปรับระบบ
การรื้อปรับระบบ (Reengineering) เป็ นความคิดตามทฤษฎีใหม่ที่จะ
ปรับองค์การธุรกิจเพื่อรองรับการแข่งขันอย่างเสรี ในยุคโลกไร้พรมแดน มี
การปรับลดต้นทุนที่ไม่จาเป็ นปรับลดขั้นตอนการทางาน ปรับลดการใช้
เอกสาร ปรับลดเวลาอื่นๆ ที่เป็ นสิ่ งฉุ ดรั้งความเจริ ญก้าวหน้าขององค์การ
ความหมายของการรื้อปรับระบบ
การรื้อปรับระบบ หมายถึง การคิดและการออกแบบกระบวนการ
ทางธุรกิจใหม่อย่างถอนรากถอนโคน เพื่อให้เกิดการปรับปรุ งวิธีการ
ประเมินผลการดาเนินงานในด้านต่างๆ เช่น ต้นทุน คุณภาพ เป็ นต้น ซึ่ง
ไม่ใช้การจัดองค์การใหม่ (Reorganization)
ผู้ทมี่ ีหน้ าทีร่ ื้อปรับระบบ
ผู้นำ
เจ้ ำของ
กระบวนกำร
ผู้
ประสำนงำน
ทีมรื อ้ ปรับ
ระบบ
คณะกรรมกำร
นโยบำย
ลักษณะขององค์ การธุรกิจ
ลักษณะขององค์การธุรกิจที่ควรจะมีร้ื อปรับระบบ แบ่งออกเป็ น3ประเภท ดังนี้
ประเภทแรก เป็ นบริ ษทั ที่อยูใ่ นอาการสาหัส มีตน้ ทุนการผลิตสูง อัตรา
ขายล้มเหลวต่า
ประเภทที่สอง เป็ นบริ ษทั ที่ไม่ได้มีปัญหาในปั จจุบนั แต่ผบู้ ริ หารสายตา
กว้างไกล มองเห็นปั ญหาที่จะเกิดในอนาคต
ประเภททีส่ าม เป็ นบริ ษทั ที่อยูร่ ะดับแนวหน้า แต่ผบู ้ ริ หารเป็ นประเภท
ทะเยอทะยานชอบรุ กรบเร็ ว
กระบวนการรื้อปรับระบบ
การรื้ อปรับระบบจะมุ่งไปสู่ ประเด็นหลักคือ กระบวนการ (Process)
การรื้ อปรับกระบวนการนั้นมีหลักอยู่ 3 ประการ คือ
1. ค้นหากระบวนการที่ก่อให้เกิดปั ญหาให้พบ
2. กระบวนการใดที่ก่อให้เกิดผลกระทบมากที่สุดต่อลูกค้าขององค์การ
3. พิจารณาถึงความเป็ นไปได้ของความสาเร็ จในการรื้ อระบบ
ความล้มเหลวของการรื้อปรับระบบ
ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นซ้ าแล้วซ้ าอีกในการรื้ อปรับระบบ มีดงั นี้
1. ค้นหากระบวนการที่ก่อให้เกิดปั ญหาให้พบ
2. กระบวนการใดที่ก่อให้เกิดผลกระทบมากที่สุดต่อลูกค้าขององค์การ
3. พิจารณาถึงความเป็ นไปได้ของความสาเร็ จในการรื้ อปรับระบบ
4. ไม่ลงมือทาทันทีและอย่างรวดเร็ ว
5. การจากัดขอบเขตของปั ญหาหรื อกาหนดปั ญหาที่จะให้แก้อย่าง
แคบๆ ไว้ล่วงหน้า
6. การรื้ อปรับระบบจากข้างล่าง
ความล้มเหลวของการรื้อปรับระบบ
7. การมอบหมายตาแหน่งผูน้ าในการรื้ อปรับระบบให้แก่คนที่
ไม่ เหมาะสม ทาให้เกิดความล้มเหลวในระบบ
8. โครงการรื้ อปรับระบบมากเกินไป
9. บริ ษทั ไม่ถือว่าการรื้ อปรับระบบเป็ นภารกิจสาคัญอันดับแรก
10. เน้นการออกแบบกระบวนการ แต่ไม่นาไปสู่ การปฏิบตั ิ
11. ไม่ยอมรับความเจ็บปวด
12. ถอยเมื่อเผชิญแรงต้าน
การสร้ างจริยธรรมในองค์ การธุรกิจ
จริยธรรม ทุกองค์การควรมีการส่ งเสริ มให้เกิดจริ ยธรรมขึ้นในองค์การ
ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ขององค์การที่ดีในการใช้ สิ นค้าและบริ การนั้นเป็ นการ
สร้าง โอกาสทางการตลาดที่สามารถแข่งขันในเชิงธุรกิจได้อย่างเข้มแข็ง ถ้า
องค์การใดยังคงมีแนวคิดว่าจริ ยธรรมเป็ นสิ่ งที่บนั่ ทอนกาไรขององค์การ นั้น
ย่อมหมายความว่าผูบ้ ริ หารยังขาดคุณธรรม จริ ยธรรม และขาดวิสัยทัศน์ใน
การองค์การไปสู่ ความสาเร็ จ และนาพาองค์การไปสู่ ความล่มสลาย
องค์ ประกอบในการสร้ างจริยธรรมในองค์การ
องค์ประกอบในการสร้างจริ ยธรรมเป็ นองค์การธุรกิจ สรุ ปประเด็นสาคัญได้ดงั นี้
1. องค์ประกอบภายในองค์การ
1.1 บุคลากร
1.2 สภาพแวดล้อมในองค์การ
1.3 นโยบายขององค์การ
1.4 จริ ยธรรมส่ วนบุคคลของพนักงาน
องค์ ประกอบในการสร้ างจริยธรรมในองค์การ
2. องค์ประกอบภายนอกองค์การ
องค์ประกอบภายนอกที่มีอิทธิ พลเสริ มสร้างจรรยาบรรณขององค์การธุรกิจ จาแนก
ได้ดงั นี้
อันดับ 1 คุณธรรมของประชาชนในชุมชนสู ง
อันดับ 2 กฎ ระเบียบ ของรัฐทัว่ ถึงและเป็ นธรรม
อันดับ 3 การให้การศึกษาที่ถกู ต้องของสถาบันการศึกษา
อันดับ 4 สื่ อสารมวลชนเผยแพร่ ตวั อย่างที่ดี
อันดับ 5 สังคมกระตุน้ ให้ธุรกิจสานึ กในความรับผิดชอบร่ วมกันในสังคม
สรุป
กำรปรับตัวของปั จจัยและควำมเจริญก้ ำวหน้ ำของสภำพแวดล้ อมรอบ
องค์กำร มีขนตอนในกำรพั
ั้
ฒนำองค์กำร ดังนี ้
1. กำรสร้ ำงควำมเข้ ำใจ
2. กำรรวบรวมปั ญหำ
3. กำรวางแผนเพื่อพัฒนำองค์กำร
4. กำรสร้ ำงกลุม่ เพื่อพัฒนำองค์กำร
5. กำรสอดแทรกกิจกรรมเพื่อพัฒนำองค์กำร